ไฟล์เอกสารแนบ

Download Report

Transcript ไฟล์เอกสารแนบ

Dengue (ไข้ เลือดออก)
ประเด็นการเรียนรู้
• ความรู ้เรื่ องโรค พยาธิการเปลี่ยนแปลงของผูป้ ่ วย และการรักษาพยาบาล
• การประเมินภาวะสุ ขภาพ( Health Assessment) ได้แก่ การซักประวัติ วิทยาการ
ระบาด การตรวจร่ างกาย สถิติ และการตรวจทางห้องปฎิบตั ิการ
• ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่สาคัญ ข้อมูลสนับสนุน พร้อมข้อมูลสนับสนุน
• กิจกรรมทางการพยาบาล เช่น การประเมิน สัญญาณชีพ การใช้ยา การทดแทน
สารน้ า เป็ นต้น
• CPG หรื องานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
Dengue (ไข้ เลือดออก)
โรคไข้เลือดออก เป็ นโรคติดเชื้ อที่มกั มีการระบาดในเด็ก เกิดจากเชื้ อไวรัส
แดงกี ซึ่ งมียุงลายเป็ นพาหะ มีอาการทางคลินิกที่สาคัญ คือ มีไข้สูงลอย 3-7 วัน
หลังจากนั้นไข้จะลดลงสู่ ปกติ หรื อต่ากว่าปกติอย่างรวดเร็ วพร้อมกับมีอาการช็อก
และหรื อมีเลือดออก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระบบทางเดินอาหาร ซึ่งอาจทาให้ผปู ้ ่ วย
ถึงแก่ชีวิตได้
Dengue (ไข้ เลือดออก)
เชื้อทีเ่ ป็ นสาเหตุมี 2 ชนิดทีพ่ บในประเทศไทย
• Dengue virus เป็ นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอ (RNA virus) ขนาด 20 - 40 มิลลิเมตร เป็ นอาร์
โบไวรัสกลุ่มบี (Arbovirus group ไวรัสนี้แบ่งตาม Serotype ได้ 4ชนิด คือ Serotype
1,2,3 และ 4
• Chikungunya virus เป็ นอาร์ โบไวรัสกลุ่มเอ (Arbovirus group A) ในประเทศไทยพบว่า
มีจานวนผูป้ ่ วยไข้เลือดออกกว่าร้อยละ 95
การแบ่ งชนิด (Classification)
อาการและอาการแสดงการเกิด
(Signs and symptoms)
1. มีไข้สูงลอยตลอดเวลา
2. เมื่อทา tourniquet test จะ positive โดยพบเป็ นจุดเลือดออก ตามตัว แขนขา และ
ใบหน้า
3. มีการเพิ่มขึ้นของ permeability ของผนังหลอดเลือด เกิดการรั่วของพลาสม่า ทาให้
ปริ มาตรเลือดลดลงเกิด hypovolaemia ซึ่ งจะทาให้อาการช็อค และอาจเสี ยชีวิตได้
4. มีตบั โต(hepatomegaly) จะคล่าได้ในวันที่ 3-4 ของโรค แต่ไม่พบ jaudice
5. มี เกล็ดเลือดต่า(thrombocytopenia) เกิ ดความผิดปกติ ของการแข็งตัวของเลื อด
(coagulopathy) ทาให้เกิ ดการแข็งตัวในหลอดเลื อด(Dessiminated Intravascular
Coaglulation,DIC)
อาการและอาการแสดงการเกิด
(Signs and symptoms)
ในการติดเชื้อไวรัสแดงกีครั้งแรก ผูป้ ่ วยส่ วนใหญ่ (80-90%) จะไม่แสดง
อาการ ผูม้ ีอาการจะมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก และมีผนื่ ที่
ผิวหนังได้ แต่ถา้ ติดเชื้อครั้งที่สอง โดยเชื้อที่ต่างสายพันธุ์กบั ครั้งแรก อาจเป็ น
ไข้เลือดออก ซึ้งมีอาการสาคัญแบ่งแบ่งออกได้ 3 ระยะ คือ
1. ระยะไข้
2. ระยะช็อค
3.ระยะพักฟื้ น
อาการและอาการแสดงการเกิด
(Signs and symptoms)
1. ระยะไข้ ผูป้ ่ วยจะมีไข้สูงเกือบตลอดเวลา เด็กบางคนอาจชัก เนื่องจากไข้
สู ง เบื่ ออาหาร คลื่ นไส้ อาเจี ยน ปวดท้อง มัก มี หน้าแดง และอาจมี ผื่ นหรื อจุ ด
เลือดออกตามลาตัว แขน ขา ระยะนี้จะเป็ นอยูร่ าว 2-7 วัน
อาการและอาการแสดงการเกิด
(Signs and symptoms)
2. ระยะช็อค ระยะนี้ไข้จะเริ่ มลดลง ผูป้ ่ วยจะซึ ม เหงื่อออก มือเท้าเย็น ชีพจร
เต้นเบาแต่เร็ ว ปวดท้อง โดยเฉพาะบริ เวณใต้ชายโครงขวา ปั สสาวะออกน้อย อาจ
มีเลือดออกง่าย เช่ น มีเลือดกาเดาไหล อาเจี ยนเป็ นเลือด อุจจาระมีสีดา ในรายที่
รุ น แรง จะมี ค วามดันโลหิ ต ต่ า ช็ อ ค และอาจถึ ง ตายได้ ระยะนี้ กิ น เวลา 24-48
ชัว่ โมง
อาการและอาการแสดงการเกิด
(Signs and symptoms)
3.ระยะพักฟื้ น อาการต่างๆจะเริ่ มดี ข้ ึน ผูป้ ่ วยรู ้ สึกอยากรับประทานอาหาร
ความดันโลหิ ตสู งขึ้น ชี พจรเต้นแรงขึ้นและช้าลง ปั สสาวะมากขึ้น บางรายมีผื่น
แดงและมีจุดเลือดออกเล็กๆ ตามลาตัว
พยาธิสภาพ (Pathology)
การดูแลรักษา (Treatment)
ให้การรักษาแบบประคับประคองตามอาการ ให้สารน้ าทดแทนส่ วนที่รั่วออกจาก
เลือด ไม่มียารักษาจาเพาะ ความพยายามในการรักษาที่ผา่ นมา คือ
• ให้ human convalescent serum ที่มีแอนติบอดีจาเพาะต่อเชื้อ
• ให้ α-interferon
• ให้ยาต้านไวรัส ribavirin
พบว่าได้ผลบ้างในการป้ องกันหลังสัมผัสแต่ไม่ผลในการรักษาเมื่อมีอาการ
เนื่องจากการศึกษาส่ วนใหญ่ไม่ได้ออกแบบเป็ น randomized clinical control จึง
สรุ ปผลได้ไม่ชดั เจน
การป้ องกัน (Protection)
1. กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยงุ ลาย โดยเฉพาะบริ เวณรอบๆบ้านอย่าให้มีน้ าขังในภาชนะ
และแหล่งนี้ต่างๆ
2. ป้ องกันไม่ให้ยงุ ลายกัดในเวลากลางวัน
3. กาจัดยุงลาย โดยการแจ้งไปยังกรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุ ข เพื่อให้
ใช้สารเคมีฉีดฆ่ายุง โดยใช้เครื่ องพ่นชนิ ดฝอยละเอียดพ่นยาพวกมาลาไธออน
หรื อซูมิไธออนเป็ นหมอก 2 ครั้ง ในระยะเวลาห่างกัน 10 วัน
4. ปั จจุบนั ไม่มีวคั ซี นป้ องกัน ขณะนี้กาลังพัฒนาวัคซี นที่สามารถป้ องกันโรค
ไข้เลือดออกที่มีสาเหตุจากไวรัสเดงกีได้ทุกชนิ ดแล้ว
การประเมินภาวะสุ ขภาพ
การซักประวัติ
• ประวัติของการมีผปู้ ่ วยเป็ นโรคไข้เลือดออกในชุมชน จากอาการ และอาการแสดงของ
ผูป้ ่ วย เช่น มีไข้สูง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง พบจุดเลือดออก บิดามารดาแสดงสี หน้า
ท่าทางบอกถึงความกลัวและวิตกกังวลสู ง กลัวลูกเป็ นอันตรายถึงชีวิต
การประเมินภาวะสุ ขภาพ (ต่ อ)
การตรวจร่ างกายตามระบบ
• เช่น ผิวหนังร้อน เลือดออกตามผิวหนัง หรื อเหงื่อออก เป็ นต้น ไม่พบเยื่อจมูกบวมแดง
คอไม่แดง ทอนซิ ลไม่โต ชี พจรเบาเร็ ว วัดความดันโลหิ ตได้ต่ากว่าปกติ หรื อวัดไม่ได้
พบตับโตกดเจ็บ เป็ นต้น
การประเมินภาวะสุ ขภาพ (ต่ อ)
การตรวจทางห้ องปฎิบัติการ
ทา Tourniquet test
ส่ งตรวจ Clinical blood count (CBC)
platelet count และ Hematocrit (Hct)
การตรวจหาเชื้อไวรัสเดงกี จากการตรวจหาแอนติบอดี หรื อการแยกเชื้อไวรัสด้วย
วิธีการต่างๆ เป็ นต้น
• การถ่ายภาพรังสี ทรวงอก กรณี สงสัยว่ามีน้ าในช่องยือ่ หุ ม้ ปอด เป็ นต้น
•
•
•
•
วิธีทา Tourniquet test
หมายถึง การวัดความดันโลหิ ตด้วยเครื่ องวัดที่มีขนาด cuff พอเหมาะกับขนาดต้นแขน
ส่ วนบนของผูป้ ่ วยครอบคลุมประมาณ 2 ใน 3 ของต้นแขน บีบความดันไว้ที่ก่ ึงกลาง
ระหว่าง systolic และ diastolic pressure รัดค้างไว้ประมาณ 5 นาที หลังจากนั้นจึ ง
คลายความดัน รอ 1 นาที หลังคลายความดันจึ ง อ่ านผลการทดสอบ ถ้าตรวจพบจุ ด
เลื อ ดออกเท่ ากับ หรื อ มากกว่า10 จุ ดต่ อ ตารางนิ้ ว ถื อ ว่าให้ผลบวก ให้บ ันทึ กผลเป็ น
จานวนจุดต่อตารางนิ้ว ทั้งรายที่ให้ผลบวกและรายที่มีนอ้ ยกว่า 10 จุด
• ในการทา Tourniquet test ถ้าให้ผลบวกมีโอกาสติดเชื้อเดงกี 63%
• ติดตามอาการ ทา Tourniquet test ซ้ าถ้ายังได้ผลลบ และส่ งตรวจ CBC ซ้ า เพื่อดู WBC
การทา Clinical blood count (CBC)
• การทา CBC จาเป็ นในการวินิจฉัยโรคไข้ เลือดออกและไข้ เดงกี และทีส่ าคัญทีส่ ุ ดคือผล
ของการตรวจจะช่ วยบอกระยะวิกฤตของโรค ซึ่งต้ องใช้ เป็ นแนวทางในการดูแลรักษา
ผู้ป่วย
• ถ้าตรวจพบว่าผูป้ ่ วยมีอาการอ่อนเพลีย รับประทานอาหารไม่ได้ตามปกติ มีอาเจียน หรื อ
ปวดท้องควรพิจารณารับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อสังเกตอาการ หรื อให้การรักษาโดยการ
เปลี่ยนแปลงที่พบตามลาดับระเมื่อใกล้ระยะ หรื อเข้าสู่ ระยะะวิกฤตของโรค คือ WBC
≤ 5,000 เซล/ลบ.มม. ร่ วมกับมี Lymphocyte และ atypical lymphocyte, เกล็ดเลือด ≤
100,000 เซล/ ลบ.มม.
• Hematocrit (Hct) เพิ่มขึ้นจากเดิม 10-20%
อุบัตกิ ารณ์ และการระบาดของโรค
• โรคไข้เลือดออกเป็ นปั ญหาสาธารณะสุ ขที่สาคัญของประเทศ มาเป็ นเวลาเกือบ 45 ปี มี
รายงานการระบาดครั้งแรกในประเทศไทย พ.ศ.2501 มีผปู้ ่ วย 2,158 คน
• อัตราป่ วย 8.87 ต่อประชากรแสนคน เสี ยชีวิต 300 คน ซึ่ งอัตราตายคิดเป็ นร้อยละ 13.9
ปี
• ปี พ.ศ. 2544 มีผปู้ ่ วย 139,225 คน เป็ นอัตราป่ วย 222. 5 ต่อประชากรแสนคน อัตราตาย
236 คน คิดเป็ นร้อยละ 0.17 ( ศิริเพ็ญ กัลป์ ยาณรุ จ์ ิ , 2,545)
• ปี พ.ศ. 2549 มีผปู้ ่ วย12,471 คน คิดเป็ นอัตราป่ วย 19.98ต่อประชากรแสนคน เสี ยชีวิต
15 คน โดยพบว่าภาคกลางมีผปุ ้ ่ วยมากที่สุด จานวน 5,619 คน เสี ยชีวิต5 คน
อุบัตกิ ารณ์ และการระบาดของโรค(ต่ อ)
• รายงานผูป้ ่ วยเด็กสงสัยว่าเป็ นโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ ที่ 1 มกราคม ถึง 30 มิถุนายน
2550 รวม 21,251 คน อัตราป่ วย 33.82 ต่ อประชากรแสนคน มากกว่ าสั ปดาห์ เดียวกัน
ของปี 2549 จานวน 5,640 คน คิดเป็ นร้ อยละ 36.13 และมีการระบาดทัว่ ทุกภาค
โดยเฉพาะภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
( สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค , 2550 )
ข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้ อมูลสนับสนุน
ข้ อวินิจฉัยการพยาบาล : ผูป้ ่ วยมีไข้สูงมาก เนื่องจากการติดเชื้อไวรัสแดงกี
เป้ าหมายการพยาบาล : ผูป้ ่ วยไข้ลดลง หรื ออุณหภูมิกายปกติ
เกณฑ์ ประเมินผล : อุณหภูมิกายลดลง หรื อไม่เกิน 37.5 องศาเซลเซี ยส
ข้ อมูลสนับสนุน
•
•
•
ผูป้ ่ วยติดเชื้อไวรัสแดงกี
ผูป้ ่ วยมีอุณภูมิกายสูงกว่า 38.5 องศาเซลเซียส
ผูป้ ่ วยมีภาวะไข้สูงลอยอยูม่ ากกว่า 2 วัน
กิจกรรมการพยาบาล
1. เช็ดตัวลดไข้ โดยใช้น้ าธรรมดา หรื อน้ าอุ่น
2. ดูแลให้ผปู้ ่ วยรับประทานยาลดไข้ตามแผนการรักษา ซึ่ งมักเป็ นพาราเซตามอล ทุก 46 ชัว่ โมง
3. พยายามกระตุน้ ให้ผปู ้ ่ วยดื่มน้ ามากๆ โดยดื่มครั้งละน้อยๆตามที่ผปู ้ ่ วยชอบ เช่น น้ า
ผลไม้เย็นๆ น้ าผสมผงเกลือแร่ (ORS) การดื่มน้ าผลไม้เย็นๆ จะช่วยลดอาการคลื่นไส้
อาเจียน
ข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้ อมูลสนับสนุน
ข้ อวินิจฉัยการพยาบาล : ผูป้ ่ วยเสี่ ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออก เนื่องจากหลอดเลือด
เปราะแตกง่าย และมีเกล็ดเลือดต่า
เป้ าหมายการพยาบาล : ผูป้ ่ วยไม่เกิด/ปลอดภัยจากการเกิดภาวะเลือดออกในร่ างกาย
ข้ อสนับสนุน : 1. ผูป้ ่ วยมีภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก
เกณฑ์ ประเมินผล
1. ไม่มีอาการและอาการแสดงของการมีเลือดออกในระบบต่างๆของร่ างกาย เช่น
อาเจียนเป็ นเลือด ถ่ายอุจจาระสี ดา เลือดกาเดาไหล ระดับความรู ้สึกตัวลดลง ซึ ม หรื อชัก
พบจุดเลือดออกตามผิวหนัง เป็ นต้น
2. สัญญาณชีพปกติตามวัย
3. ค่าเกล็ดเลือดอยูใ่ นเกณฑ์ปกติตามวัย
4. ค่าฮีมาโตคริ ทอยูใ่ นเกณฑ์ปกติตามวัย :
กิจกรรมการพยาบาล
1. ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล ป้ องกันการเกิดกระทบกระแทกร่ างกาย ซึ่ งจะ
ทาให้เกิดภาวะเลือดออกได้
2. ดูแลทาความสะอาดภายในช่องปากด้วยแปรงสี ฟันที่มีขนอ่อนนุ่ม เพื่อไม่ให้มี
เลือดออกในช่องปาก
3. ตัดเล็บให้ส้ นั เพื่อป้ องกันการเกาจนเกิดแผลและเลือดออก
4. หลีกเลี่ยงการทาหัตถการที่ทาให้เลือดออก เช่น เจาะเลือด หรื อ การแทงหลอด
เลือดดาบ่อยๆ โดยไม่จาเป็ น ดังนั้นควรดูแลผูป้ ่ วยขณะแทงหลอดเลือดดาอย่าง
เข้มงวด เพื่อป้ องกันการเลื่อนหลุดของเข็ม รวมทั้งแนะนาบิดามารดาให้มีส่วนร่ วม
ในการดูแลบุตรขณะให้สารน้ าทางหลอดเลือดดา เช่น ควรขยับหรื อเลื่อนแขนขา
บริ เวณที่แทงเข็มด้วยความระมัดระวัง เป็ นต้น
กิจกรรมการพยาบาล (ต่ อ)
5. ป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการตกเตียง โดยยกที่ก้ นั เตียงขึ้นทุกครั้ง เมื่อเสร็ จกิจกรรมการ
พยาบาลและไม่ได้อยูก่ บั ผูป้ ่ วย รวมทั้งแนะนาบิดามารดาให้ระมัดระวังและยกที่ก้ นั เตียง
ขึ้นสู งทุกครั้งเมื่อไม่ได้อยูก่ บั บุตร เป็ นต้น
6. บันทึกสัญญาณชีพ เช่น ชีพจร ความดันโลหิ ต ทุก 2-4 ชัว่ โมงเพื่อติดตามประเมินการ
มีเลือดออกในร่ างกาย
7. ติดตามผลการตรวจค่าฮีมาโตคริ ท และเกล็ดเลือดเป็ นระยะ เพื่อประเมินแนวโน้มการ
มีเลือดออกในร่ างกาย
ข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้ อมูลสนับสนุน
ข้ อวินิจฉัยการพยาบาล : ผูป้ ่ วยเสี่ ยงต่อการภาวะช็อก เนื่องจากมีการรั่วของ
พลาสมา และหรื อมีเลือดออก
เป้ าหมายการพยาบาล : ผูป้ ่ วยไม่เกิด/ปลอดภัยจากภาวะช็อก
เกณฑ์ ประเมินผล : ผูป้ ่ วยไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะช็อก
ข้ อสนับสนุน
1. มีอาการเหงื่อออก ตัวเย็น กระสับกระส่ าย
2. ชีพจรเบาเร็ ว
3. ความดันโลหิ ตต่าลง pulse pressure แคบ และหรื อวัดความดันโลหิ ตไม่ได้
กิจกรรมการพยาบาล
1. ดูแลสารน้ าทางหลอดเลือดให้เป็ นไปตามแผนการรักษา จนกว่าผูป้ ่ วยจะพ้นภาวะ
วิกฤต รวมทั้งติดตามการเก็บปั สสาวะเพื่อตรวจหาค่าความถ่วงจาเพาะของปั สสาวะ
เพื่อดูความเพียงพอของปริ มาณน้ าที่ให้ทางหลอดเลือดดา เป็ นต้น
2. หลีกเลี่ยงหรื อห้ามการทาหัตถการที่ทาให้เลือดออก เช่น การเจาะเลือด หรื อการ
แทงหลอดเลือดดา การแปรงฟันควรใช้แปรงสี ฟันนุ่มๆเพราะระยะนี้ ผปู ้ ่ วยจะมีภาวะ
เลือดออกง่าย
3. การดูแลใกล้ชิดเป็ นสิ่ งสาคัญที่สุด ในการดูแลผูป้ ่ วยไข้เลือดออกในภาวะวิกฤต
ดังนี้
•บันทึกสัญญาณชีพทุก 1 ชัว่ โมง ในระยะวิกฤต และอาจจาเป็ นต้องบันทึกทุก 15-30
นาที ถ้ามีภาวะช็อกอย่างรุ นแรงมาก จนกว่าผูป้ ่ วยจะพ้นภาวะวิกฤต และมีอาการคงที่
กิจกรรมการพยาบาล (ต่ อ)
•กรณี ผปู ้ ่ วยมีอาการหายใจเหนื่อยหอบ เนื่องจากอยูใ่ นภาวะช็อก ต้องดูแลให้
ออกซิ เจน ตามแผนการรักษาร่ วมทั้งการอธิ บายให้บิดามารดาและญาติเข้าใจถึง
แผนการรักษาเพื่อคลายความวิตกกังวล
•บันทึกจานวนปัสสาวะทุก 1 ชัว่ โมง เพื่อประเมินระบบการไหลเวียนของเลือด
และปริ มาณน้ าทางหลอดเลือดดาที่ได้รับ ปกติจานวนปั สสาวะต้องไม่นอ้ ยกว่า 1
มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชัว่ โมง
4. ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะช็อก เพื่อให้ผปู ้ ่ วยได้รับการช่วยเหลือ
อย่างทันท่วงที
กิจกรรมการพยาบาล (ต่ อ)
5. ติดตามประเมินอาการแสดงของการมีเลือดออก เช่น อาเจียนเป็ นเลือด อุจจาระ
เป็ นเลือด/ถ่ายอุจจาระดา เลือดกาเดาไหล รายงานแพทย์เพื่อให้การช่วยเหลือ
6. ติดตามประเมินค่าวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง ค่าอิเล็กโทรลัยท์ในเลือด และค่า
ความเข้มข้นของออกซิ เจนในเลือดแดง เพื่อประเมินความสมดุลของกรด ด่าง และ
อิเล็คโทรลัยท์ในร่ างกาย รวมทั้งประเมินภาวะพร่ องออกซิ เจนขณะมีอาการช็อก
ตามลาดับ
เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
งานวิจัย: พฤติกรรมการป้ องกันโรคไข้ เลือดออก (มหัศจรรย์กระบอกไม้ ไผ่ช่วยคนไทย
ห่ างไกลไข้ เลือดออก) กรณีศึกษาบ้ านท่ าแพและบ้ านหัวเห่ วพัฒนา อาเภอโขงเจียม จังหวัด
อุบลราชธานี
เพื่อศึกษา
1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้ องกันโรคไข้เลือดออกของชาวบ้าน
2. เพื่อศึกษาความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชนบ้าน
3. เพื่อศึกษาเจตคติในการป้ องกันโรคไข้เลือดออก ของประชาชน บ้าน
4. เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างข้อมูลส่ วนบุคคลกับ พฤติกรรมการป้ องกันโรค
ไข้เลือดออก
5. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง เจตคติในการ ป้ องกันโรคไข้เลือดออก กับ
พฤติกรรมการป้ องกันโรคไข้เลือดออก
ขั้นตอนการดาเนินงาน
เป็ นนวัตกรรมใหม่ ที่สร้างจากไม้ไผ่ที่เป็ นวัตถุดิบที่มีในชุมชน เพื่อเป็ นภาชนะ
ในการเลี้ยงปลาหางนกยูงเพื่อปล่อยในโอ่งน้าหลังคาเรื อนประชาชนในเขตรับผิดชอบ
แทนการเลี้ยงในบ่อประเภทอื่นๆ ใช้การปล่อยปลากินลูกน้ายุงลายแทนการการใส่ สารเคมี
ก็จะส่ งผลดีต่อประชาชนที่สามารถพึ่งตนเองได้ ถือได้วา่ เป็ นหมู่บา้ นที่มีการจัดการ
สุ ขภาพ ประชาชนปลอดโรคไข้เลือดออกในปี 2554 ที่ผา่ นมา ประชาชนทั้ง 2 หมู่บา้ น
ตื่นตัวและให้ความสาคัญมากเพราะสามารถที่จะป้ องกันโรคไข้เลือดออกโดยชุมชนพึ่ง
ชุมชน ประชาชนปลอดสารเคมีจากการใส่ ทรายกาจัดลูกน้ายุงลายที่ผา่ นมา การปฏิบตั ิ
เช่นนี้กย็ งั คงมีการดาเนิ นต่ออย่างต่อเนื่องและพยายามที่จะผลักดันนาไปใช้ในหมู่บา้ นใน
เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลโขงเจียมในปี 2555 และ ปี ต่อๆไป ซึ่ งนาไปสู่ การพัฒนาที่
ยัง่ ยืน
เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
การวิจัยเรื่องพฤติกรรมการป้ องกันโรคไข้ เลือดออกของประชาชน กรณีศึกษา หมู่บ้านใน
เขตตาบลควนโพธิ์อาเภอเมือง จังหวัดสตูล
เป็ นการศึกษาวิจยั เชิงคุณภาพ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้ องกัน
โรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค และพื้นที่ที่ไม่มีการระบาด
ผูใ้ ห้ขอ้ มูล ประกอบด้วยผูน้ าชุมชน นายกองค์การบริ หารส่ วนตาบล ผูป้ ่ วยโรค
ไข้เลือดออก ผูป้ กครองของผูป้ ่ วยไข้เลือดออก เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย อาสาสมัคร
สาธารณสุ ข และชาวบ้านในชุมชนทั้งสองแห่ ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วธิ ี การ
สัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกตอย่างไม่มีส่วนร่ วม และการสุ่ มสารวจลูกน้ า
ยุงลาย ตรวจสอบความเชื่อถือได้ของข้อมูลด้วยวิธีสามเส้าตามระเบียบวิธีวิทยา วิเคราะห์
ข้อมูลโดยการแปลความหมายของข้อมูล จัดหมวดหมู่ และสรุ ปเนื้อหาแต่ละประเด็น
เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนทั้งสองพื้นที่มีความรู ้พ้นื ฐานเกี่ยวกับโรค
ไข้เลือดออก ประชาชนในพื้นที่ที่มีการระบาดไม่ค่อยให้ความสาคัญในการกาจัดยุงลาย
และยังพบว่าค่าดัชนีลกู น้ ายุงลายสู งกว่าพื้นที่ที่ไม่มีการระบาด โดยมองว่าการป้ องกัน
และควบคุมโรคเป็ นหน้าที่ของหน่วยราชการ นอกจากนี้ยงั พบว่า ผูน้ าชุมชน นายก
องค์การบริ หารส่ วนตาบลเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยและอาสาสมัครสาธารณสุ ข มีอิทธิพล
ต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชน เพราะเป็ นผูท้ ี่ประชาชนให้ความเคารพ
เกรงใจ และมีส่วนร่ วมในการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
สมาชิกในกลุ่ม
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
นางสาวดาริกา โซะดาแล
นางสาวธันย์ชนก ศรีประวรรณ์
นางสาวปณิตา อินธิสาร
นางสาวผกามาศ วุฒิพงศ์
นางสาวสุ บัยด๊ ะ ยาเเดง
นางสาวอรณี พิมสุ คะ
นางสาวฮาซาน่ า ชอบงาม
นางสาวกอแก้ว ดาประดิษฐ์
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
54113147
54113659
54114582
54115209
54119524
54120456
54121397
54140165
สมาชิกในกลุ่ม ( ต่ อ )
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
นางสาววรรณทิพย์ พึง่ สมศักดิ์
นางสาวปรางทิพย์ สุ ขเกษม
นางสาวสุ รัยดา สะอาดธารง
นางสาวขวัญฤดี ด่ านสื บสกุล
นางสาวธิราวรรณ ตังตกาญจนา
นางสาวกษมา หะยีสาเเละ
นางสาวนัสรินยาร์ ยูโซะ
นางสาวสุ ดา มะเเน
นางสาวพนิดา ทองสายลวด
นางสาวสิ นาภรณ์ สั งฆมณี
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
รหัสนักศึกษา
54142286
54146204
54146683
54146808
54146816
54146840
54146857
54146873
54161542
54162532