แนวคิด KTB E-Procurement

Download Report

Transcript แนวคิด KTB E-Procurement

8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
 ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) หมายถึง การพัฒนาให้ ระบบ
คอมพิวเตอร์ มลี กั ษณะการทางานใกล้ เคียงกับระบบการ
ประมวลผลและการตอบสนองของมนุษย์ ทมี่ ตี ่ อแต่ ละ
สถานการณ์ เพือ่ ให้ คอมพิวเตอร์ สามารถปฏิบัตงิ านแทนที่
มนุษย์ ได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
ประเภทของปัญญาประดิษฐ์ (AI)
1. การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) หรือ
บางครั้งเรียกว่ าภาษาธรรมชาติ
2. ระบบภาพ (Vision System) ถูกพัฒนาขึน้ เพือ่ ลอกเลียนการ
มองเห็นของบุคคล
3. ระบบเครือข่ ายเส้ นประสาท (Neural Networks) เป็ นระบบ
คอมพิวเตอร์ ทถี่ ูกพัฒนาให้ จาลองการทางานของสมองและระบบ
เส้ นประสาทของมนุษย์
4. หุ่นยนต์ (Robotics) เป็ นสาขาสาคัญของปัญญาประดิษฐ์ ที่ได้ รับ
ความสนใจจากบุคคลทัว่ ไป หุ่นยนต์ ถูกพัฒนาขึน้ เพือ่ จาลองการ
ทางานของมนุษย์
5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบคอมพิวเตอร์ ทถี่ ูกพัฒนา
ให้ สามารถรับรู้ และทางานเฉพาะด้ านได้ อย่ างผู้เชี่ยวชาญ




ตัวอย่ างปัญญาประดิษฐ์ ทใี่ ช้ ประโยชน์ ในองค์ กร
ข้ อมูลจะถูกเก็บไว้ ในลักษณะคล้ ายกับเป็ นหน่ วยบันทึก
ความจาขององค์ กรกลายเป็ นฐานความรู้ องค์ กรทีพ่ นักงาน
สามารถเข้ าไปสื บค้ นและหาคาปรึกษาได้ ในทุกเวลา
ช่ วยสร้ างกลไกทีไ่ ม่ นาความรู้ สึก ความเหนื่อยล้ า หรือความ
กังวลเข้ ามาเป็ นองค์ ประกอบ
ช่ วยนามาใช้ ในการทางานทีเ่ ป็ นงานประจา หรืองานทีน่ ่ า
เบื่อหน่ าย
ช่ วยเพิม่ ความสามารถในฐานความรู้ ขององค์ กร
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
 ระบบผู้เชี่ ยวชาญ หมายถึง ชุ ดคาสั่ งของคอมพิวเตอร์ ที่
เก็บรวบรวมความรู้ เกีย่ วกับปัญหาเฉพาะเรื่องและ
กระบวนการอนุมาน เพือ่ นาไปสู่ ผลสรุปของปัญหานั้น
เหตุผลสาคัญในการพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญ
 กระจายความรู้ (Knowledge Distribution)
 ความแน่ นอน (consistency)
 เตรี ยมการณ์ สาหรั บอนาคต
ประโยชน์ ของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
1. รักษาและป้องกันความรู้ สูญหาย
2. เตรียมความพร้ อมของข้ อมูล
3. เหมาะสมกับงานแต่ ละประเภท
4. สามารถตัดสิ นปัญหาได้ อย่ างแน่ นอน
5. เครื่องมือเชิงกลยุทธ์ ของธุรกิจ
ข้ อจากัดของระบบผู้เชี่ยวชาญ
 เป็ นการยากทีจ
่ ะรวบรวมความรู้ ได้ ครบถ้ วน
 ยากทีจ
่ ะดึงความรู้ มาจากคนทีเ่ ป็ นผู้เชี่ยวชาญ
 วิธีแก้ ปัญหาอาจมีหลายวิธีจากผู้เชี่ ยวชาญหลายคน
 นักวิศวกรความรู้ ขาดแคลน หายากและค่ าตอบแทนสู ง
 คาตอบของระบบผู้เชี่ ยวชาญอาจไม่ ถูกต้ องนัก ถ้ าไม่ มก
ี าร
รวบรวมความรู้ ทดี่ พี อ
 ระบบผู้เชี่ ยวชาญไม่ สามารถจัดการกับความรู้ ทไี่ ม่
แน่ นอนได้
ส่ วนประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
1. ฐานความรู้ (Knowledge Base)
2. เครื่องอนุมาน (Inference Engine)
2.1 การอนุมานแบบไปข้ างหน้ า (Forward Chaining Inference)
2.2 การอนุมานแบบย้ อนหลัง (Backward Chaining Inference)
3. ส่ วนดึงความรู้ (Knowledge Acquisition Subsystem)
4. ส่ วนอธิบาย (Explanation Subsystem)
5. การติดต่ อกับผู้ใช้ (User Interface)
องค์ ความรู้
องค์ ความรู้ หมายถึง ระดับของภูมปิ ัญญาในการรับรู้ และการทา
ความเข้ าใจเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
จะมีความแตกต่ างกันอยู่ 2 ประการ
1. ความชัดเจน ความถูกต้ อง ความชัดเจน
2. ความเป็ นสากล ความรู้ มลี กั ษณะเป็ นสากลและเป็ นธรรมชาติ
การพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
1. การวิเคราะห์ ปัญหา
2. การเลือกอุปกรณ์
- การแสดงความรู้
- อนุมาน
- การติดต่ อกับผู้ใช้
- ชุดคาสั่ ง
- การดูแลรักษาและการพัฒนาระบบ
3. การถอดความรู้
4. การสร้ างต้ นแบบ นาเอาส่ วนประกอบต่ าง ๆ ที่กล่ าวมาประกอบการ
สร้ างต้ นแบบ (Prototype) ของระบบผู้เชี่ยวชาญ (ES)
5. การขยายระบบ การทดสอบและบารุงรักษา
THE END