7.เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยความสุขสมบูรณ์ของสังคม

Download Report

Transcript 7.เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยความสุขสมบูรณ์ของสังคม

เศรษฐศาสตร์ ว่าด้ วยความสุ ขสมบูรณ์ ของสั งคม
Fundamentals of Welfare
Economics
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม
1. ประสิ ทธิภาพของตลาด




มือทีม่ องไม่ เห็นของ อาดัม สมิธ
หลักการของ ปาเรโต
Pareto Principle
ประสิ ทธิภาพแบบ ปาเรโต (Pareto Efficiency)
และลัทธิปัจเจกชนนิยม (individualism)
หลักการพืน้ ฐานของ Welfare Economics
เค้ าโครงการบรรยาย
1. ประสิ ทธิภาพของตลาด
Market Efficiency
2. ความบกพร่ อง/ความล้ มเหลวของตลาด
Market Failure
3. ประสิ ทธิภาพและความยุติธรรม
Efficiency and Equity
2. ความบกพร่ องของตลาด (ความล้ มเหลว)







ระบบกรรมสิ ทธิ์
การแข่ งขันทีไ่ ม่ สมบูรณ์
สิ นค้ าสาธารณะ
ผลกระทบด้ านลบ (Externalities)
ตลาดทีไ่ ม่ สมบูรณ์
ข้ อมูลข่ าวสารทีไ่ ม่ สมบูรณ์
ปัญหาการว่ างงาน เงินเฟ้อ และเศรษฐกิจตกต่า
ความบกพร่ องของตลาด
และบทบาทของรัฐบาล

การเข้ าแทรกแซงทางเศรษฐกิจโดยรัฐบาล

2 แนวคิดเกีย่ วกับบทบาทของรัฐบาล
3. ประสิ ทธิภาพและความยุติธรรม

ประสิ ทธิภาพและการโยกย้ ายทรัพยากร/รายได้

การเลือกของสั งคม
Social Choices

การแก้ ไขปัญหา Trade – off ระหว่ างประสิ ทธิภาพและความยุติธรรม
:ภาคปฏิบตั ิ
ภารกิจของเศรษฐศาสตร์
ว่ าด้ วยความสุ ขสมบูรณ์ ของสั งคม

ระบบเศรษฐกิจในประเทศต่ างๆ ทัว่ โลก เป็ นระบบทีเ่ รียกว่ า
mixed economies มีท้งั ภาครัฐและภาคเอกชน ส่ วน
สาคัญของระบบ คือ ธุรกิจเอกชนทีแ่ สวงหากาไรสู งสุ ด กับ
ครัวเรือนประชาชนทีต่ ้ องการได้ ประโยชน์ จากการบริโภค

ทฤษฎีบอกเราว่ า มีการแข่ งขันกันเสรีและสมบูรณ์ แบบเป็ นระบบ ที่
มีประสิ ทธิภาพ รัฐบาลไม่ ต้องเข้ ามาแทรกแซงมากนัก

เศรษฐศาสตร์ (welfare Economics) ต้ องการชี้ให้
เราเห็นว่ า ระบบตลาด บางครั้งก็ทางานได้ ดี แต่ บางครั้ งก็มีปัญหา
(บกพร่ อง ล้มเหลว) ไม่ ก่อให้ เกิดประสิ ทธิภาพ

อะไรคือ ประสิ ทธิภาพ (efficiency) ?

Welfare Economics เป็ นสาขาสาคัญสาขาหนึ่งของหลัก
เศรษฐศาสตร์ ให้ ความสนใจแก่เรื่อง Normative Economics : ซึ่ง
เป็ นปัญหาเกีย่ วกับการจัดองค์ กรทางเศรษฐกิจ : อะไรควรทา อะไรไม่ ควรทา
ควรผลิตอะไร ?
 ควรผลิตอย่ างไร เพือ
่ ใคร ?
 ใครควรจะเป็ นผู้ตด
ั สิ นใจ ?
 ภาครัฐหรือภาคเอกชน ควรดาเนินวิสาหกิจ ?
 กระบวนการทางการเมืองเป็ นอย่ างไร สาหรับการตัดสิ นใจเพือ
่ ประโยชน์
สาธารณะ ?


ปัญหาทีห่ นักทีส่ ุ ด ทีร่ ัฐบาลต้ องเผชิญ คือ Trade – off การ
เลือกระหว่ าง : เพิม่ ประสิ ทธิภาพทางเศรษฐกิจ หรือ สร้ างความ
ยุตธิ รรมทางสั งคม (เช่ น เพิม่ ผลผลิต / รายได้
หรือ กระจายรายได้
ให้ เป็ นธรรมมากขึน้ ? Welfare Economics เสนอ
หลักเกณฑ์ อะไร
ในการแก้ไขปัญหานี้ ?
ประสิ ทธิภาพของตลาด

ปี 1776 อาดัม สมิธ เสนอตาราเศรษฐศาสตร์ สมัยใหม่
เล่มแรกของโลก “The Wealth of Nations”
ในตารานั้น มีข้อสรุ ปว่ า การแข่ งขันทางธุรกิจ จะทาให้
ปัจเจกบุคคลได้ รับประโยชน์ ส่วนตน (กาไร) ในขณะเดียวกัน
สั งคมก็ได้ ประโยชน์ ด้วย โดยผ่านกลไก “มือทีม่ องไม่ เห็น” ไม่
ต้ องพึง่ พาอาศัยกลไกรัฐ

ทุกวันนี้ นักเศรษฐศาสตร์ ทวั่ ไปคิดและเชื่อแบบอาดัม สมิธ
การแข่ งขันจะทาให้ เกิดประสิ ทธิภาพสู งขึน้ และกระตุ้นให้ มี
นวัตกรรม(Innovation)

แต่ กม็ ีหลายกรณี เราค้ นพบว่ ากลไกตลาด ทางานไม่ ค่อยดี
ไม่ สมบูรณ์ แบบ ก่ อให้ เกิดปัญหาหลายประการ
Pareto Efficiency

นักเศรษฐศาสตร์ พูดคานีบ้ ่ อยมาก เศรษฐกิจต้ องมี
ประสิ ทธิภาพ (Efficiency) คืออะไร ?

ส่ วนใหญ่ จะหมายถึง Pareto Efficiency
หมายความว่ า การจัดสรรทรัพยากรควรส่ งผลให้ คน
กลุ่มหนึ่งมีรายได้ (สถานภาพ) ดีขนึ้ โดยทีค่ นอีกกลุ่ม
หนึ่งไม่ ตกต่าลง

ตัวอย่าง : ถ้ ารัฐบาลตกลงจะสร้ างสะพาน ผู้ทใี่ ช้ สะพานก็จะได้
ประโยชน์ ในการใช้ เดิน/ขับรถ การสร้ างสะพานถือได้ ว่าเป็ น การ
ปรับปรุ งไปในทางทีด่ ขี นึ้ (Pareto improvement) ดู
เหมือนว่ า ไม่ มผี ้ ใู ดเสี ยประโยชน์ (หรือชีวติ ตกต่าลง)
แต่ ความ
เป็ นจริง เป็ นอีกอย่าง

เมือ่ เส้ นทางเปลีย่ น ธุรกิจก็ย่อมได้ รับผลกระทบเชิงลบเสี ยงรถยนต์ ดัง
มากขึน้ จราจรแออัด มลพิษหนาแน่ นขึน้ คุณภาพชีวิตตกตา่ ลง ใน
บริเวณทีม่ ีการก่อสร้ างสะพานข้ ามแม่ นา้

แบบนีไ้ ม่ เรียกว่ า มี pareto improvement
คนกลุ่ม
หนึ่งได้ รับประโยชน์ แต่ อกี หลายกลุ่มต้ องเดือดร้ อน
ไม่ สอดคล้อง
กับ Pareto Principle
ประสิ ทธิภาพแบบปาเรโต และ ปัจเจกชนนิยม

หลักการ ปาเรโต มีเนือ้ หาไปในทางปัจเจกชนนิยมมองแต่ ประโยชน์ ส่วนตน
ไม่ ได้ คานึงถึงประโยชน์ สุขของคนกลุ่มอืน่ ๆ ในสั งคม

เป็ นหลักการทีไ่ ม่ คานึงถึงเรื่อง “ความยุติธรรมของสั งคม”

ในสายตาของนักเศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก ถ้ าโครงการใด
ให้
ประโยชน์ แก่คนรวย และคนจนไม่ เดือดร้ อน (ไม่ ได้ รับประโยชน์ ด้วย)
ก็คอื ว่ า โครงการนั้นใช้ ได้ เพราะคนจนไม่ ได้ ตกตา่ ลง ยังอยู่
เหมือนเดิม

แต่ บางทีเราต้ องมองว่ า คิดแบบนีท้ าให้ ช่องว่ างคนจน / คนรวย กว้ าง
มากขึน้ เป็ นสิ่ งที่ยอมรับไม่ ได้ อาจก่อให้ เกิดความตึงเครียด ในสั งคม
ในอนาคต

เราต้ องถามว่ า พัฒนาไปแล้ ว ทุกคนมีชีวติ ทีด่ ขี นึ้ จริงหรือ ?

นอกจากนั้น หลักการปาเรโต ยังสอดคล้องกับลัทธิบริโภคนิยม และ
อธิปไตยของผู้บริโภค สิ่ งสาคัญทีส่ ุ ดคือ การมองประโยชน์ สุขของ
ตนเอง ผู้บริโภคเท่ านั้นทีจ่ ะบอกได้ ว่า เขาต้ องการอะไร อะไรจะให้
ประโยชน์ สุขแก่ เขามากทีส่ ุ ด
หลักการพืน้ ฐานของ Welfare Economics

ข้ อ 1 : ถ้ าเศรษฐกิจมีการแข่ งขันสมบูรณ์ แบบถือได้ ว่า
เศรษฐกิจนั้นมีประสิ ทธิภาพ

ข้ อ 2 : ถ้ ามีการใช้ กลไกรัฐโยกย้ ายรายได้ /ทรัพย์สมบัติ จากบุคคล
หนึ่งไปสู่ อกี บุคคลหนึ่ง คนหลังจะมีฐานะดีขนึ้ คนแรกจะมีฐานะ
ลดลง ภายใต้ สถานการณ์ นี้ รัฐบาลควรปล่อยให้ กลไกคลาดทาหน้ าที่
อย่างเต็มทีต่ ่ อไป ประสิ ทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร
ก็จะ
เกิดขึน้ มาเองท่ ามกลางการแข่ งขัน
ความบกพร่ องของตลาด

ในทางทฤษฎี ตลาดมีบทบาททีส่ าคัญในระบบเศรษฐกิจของเราอย่ างมาก ภายใต้
เงือ่ นไขบางอย่ าง ตลาดทีม่ กี ารแข่ งขันสมบูรณ์ จะทาให้ เกิดเศรษฐกิจ ทีม่ ี
ประสิ ทธิภาพ แต่ ในโลกแห่ งความเป็ นจริง ตลาดไม่ ใช่ เป็ นสิ่ งทีส่ มบูรณ์ แบบ
บางทีตลาดผลิตบางอย่ างน้ อยไป เช่ น ยารักษาโรคมะเร็ง หรือโรคเอดส์ ใน
ขณะเดียวกันตลาดก็ผลิตบางอย่ างมากเกินไป เช่ น มลพิษทางนา้
และทาง
อากาศ ในระบบตลาดเสรี ผู้คนมากมายอาจมีชีวติ อยู่อย่ างทุกข์ ยากตลอดกาล
ระบบกรรมสิ ทธิ์

ระบบกรรมสิ ทธิ์ เป็ นตัวกาหนดสาคัญตัวหนึ่งทีจ่ ะบอกเราว่ า ตลาด
ทางานได้ ดแี ค่ ไหน บางครั้งเราพบว่ า ในระบบกรรมสิ ทธิ์ แบบเปิ ด
กว้ าง ทุ่งหญ้ าไม่ ได้ เป็ นของใคร ทุกคนเข้ าถึงและใช้ ได้ หมดไม่ มี
ข้ อบังคับควบคุมแต่ อย่ างใด เมือ่ เป็ นเช่ นนี้ ทุกคนก็จะใช้ ทุ่งหญ้ า
เลีย้ งสั ตว์ จานวนมากมากจนเกิดทรุ ดโทรม ทั้งทุ่งหญ้ า ทั้งสั ตว์
และคน (โศกนาฏกรรมบนทุ่งกว้ าง)
การแข่ งขันทีไ่ ม่ สมบูรณ์

ถ้ าจะให้ ตลาดทางานอย่างมีประสิ ทธิภาพ ก็ต้องมีการแข่ งขันสมบูรณ์ แบบ
มีธุรกิจมากมายแข่ งขันกัน ไม่ มใี ครมีอทิ ธิพลในการตั้งราคาสิ นค้ าบริการ
ทั้งสั งคมได้ รับประโยชน์ แต่ ในความจริงมีการผูกขาดหลายรู ปแบบ โดย
ธุรกิจซึ่งกาหนดราคาและปริมาณแบบผูกขาด ทาให้ ได้ กาไรมากมาย
ผู้บริโภคคือผู้สูญเสี ยรายใหญ่
สิ นค้ าสาธารณะ

สิ นค้ าบริการหลายประเภท ไม่ ได้ รับความสนใจ จากธุรกิจเอกชน
เพราะไม่ สร้ างกาไรให้ เพราะไม่ มีประโยชน์ จึงไม่ มีการผลิต ประเภท
นี้ ตัวอย่าง : ประภาคาร
ผลกระทบด้ านลบ (Externalities)

ในระบบตลาด ผู้ผลิตได้ ประโยชน์ จากการผลิต แต่ กป็ ล่ อยมลพิษ
สู่ อากาศ/แม่ นา้ สร้ างความเสี ยหายให้ แก่ทรัพยากร ระบบนิเวศ
ชุ มชน และสุ ขภาพ ผู้ผลิตไม่ ต้องจ่ ายค่ าชดใช้ อะไรเลย
เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม มีตวั อย่างมากมายเกีย่ วกับ
negative externalities หลายแบบ
ตลาดทีไ่ ม่ สมบูรณ์

บางครั้ง ตลาดไม่ สามารถจะผลิตหรือให้ บริการบางอย่ างได้
(ทั้งๆทีต่ ้ นทุนไม่ สูงเกินไปและมีผ้ ูต้องการซื้อจานวนมาก)
เช่ น การให้ ทุนการศึกษา การประกันการว่ างงาน การประกัน
พืชผล ทั้งนีเ้ ป็ นเพราะมีความเสี่ ยงสู งเกีย่ วกับการให้ บริการ
ดังกล่าว
ข้ อมูลข่ าวสารทีไ่ ม่ สมบูรณ์

ถ้ าเรามีข้อมูลข่ าวสารเพียงพอ ก็จะไม่ เกิดความผิดพลาดในการผลิต
หรือ การบริโภคสิ นค้ า/บริการ

ผู้บริโภค มักจะไม่ ค่อยมีข้อมูลข่ าวสาร ด้ วยเหตุนี้ เราจึงต้ องมี
FDA หรือ อย. หรือ สานักงานผู้คุ้มครองบริโภค

ข้ อมูลข่ าวสาร ในตัวเองก็เป็ นสิ นค้ าสาธารณะ แปลว่ า ทุกคนสามารถ
เข้ าถึงและใช้ ประโยชน์ ได้
ปัญหาเศรษฐกิจตกตา่

อาการทีเ่ ห็นชัดเจนทีส่ ุ ด เกีย่ วกับข้ อบกพร่ องของตลาด คือ
ปรากฏการณ์ เกีย่ วกับวิกฤตเศรษฐกิจ เช่ น การว่ างงานอัตราสู ง เงิน
เฟ้อรุ นแรง เศรษฐกิจตกตา่ ทั้งหมดบ่ งว่ า ในระบบตลาด มีบาง
สิ่ งบางอย่างทางานไม่ ค่อยดี
บทบาทของรัฐบาล

แนวคิด paternalism บอกว่ า ปัจเจกบุคคลมักไม่ ค่อยรู้ ว่า
ทาแบบไหนจึงจะเกิดประโยชน์ สุขแก่ ตนเอง รัฐจะเข้ ามารับ
บทบาท เป็ นผู้ปกป้ องคุ้มครอง ให้ ข้อมูลข่ าวสารและออกมาตรการ
หลายอย่าง เพือ่ ผลประโยชน์ ของประชาชน

แนวคิด Libertarianism : รัฐไม่ ควรเข้ าไปยุ่งเกีย่ วกับ
การตัดสิ นใจของปัจเจกชน ควรจะยอมรับและรับรองความ
เห็นชอบของพวกเขา ถ้ ารัฐเข้ ามายุ่ง กลุ่มผลประโยชน์ อาจจะ
ครอบงารัฐ และใช้ รัฐเป็ นเครื่องมือ ในการชักจูงประชาชน


การวิเคราะห์ ของเราชี้ว่า รัฐต้ องเข้ าแทรกแซงควบคุม
(regulation) ถ้ าระบบตลาด มีข้อบกพร่ อง
ล้ มเหลวเพือ่ ประโยชน์ สุขของมหาชน
และ
แม้ ระบบตลาดจะมีประสิ ทธิภาพ รัฐก็ต้องเข้ าแทรกแซง เพราะว่ า
ตลาดและการแข่ งขัน จัดสรรทรัพยากร/รายได้ อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ แต่ ไม่ คานึงถึงความเหลือ่ มลา้ ระหว่ าง กลุ่มชน การ
จัดสรรมักให้ ประโยชน์ แก่ คนรวย มีฐานะดีอยู่แล้ ว รัฐจึงต้ องเข้ ามา
เกีย่ วข้ องเพือ่ โยกย้ ายรายได้ จากคนรวยไปสู่ คนจน
ประสิ ทธิภาพและความยุตธิ รรม

1.
2.
3.
เกีย่ วกับปัญหาความขัดแย้ งระหว่ าง 2 เป้ าหมายหลักของสั งคม เรามี 3 คาถามใหญ่ ๆ ที่
จะต้ องหาคาตอบ :
ถ้ าเราค้ นพบว่ า หลังการจัดสรรทรัพยากรกลุ่มหนึ่ง มีความสุ ขสมบูรณ์ (Welfare)
เพิม่ ขึน้ แต่ อกี กลุ่มหนึ่งต้ องตกต่าลง เราจะทาอย่ างไร ?
นักเศรษฐศาสตร์ คดิ อย่ างไร เกีย่ วกับ trade – offs ของ 2 เป้ าหมาย ? เขามี
วิธีวดั กันอย่ างไร
เพือ่ ใช้ ได้ ในภาคปฏิบตั ิ รัฐบาลจะประยุกต์ หลักทฤษฎีให้ เป็ นประโยชน์ ในการตัดสิ นใจได้
อย่ างไร ?
ประสิ ทธิภาพ
และการโยกย้ ายทรัพยากร/รายได้

ระบบตลาดเสรี อาจมีประสิ ทธิภาพ แต่ ปัญหาคือ ไม่ มคี วามยุตธิ รรมใน
การจัดสรรทรัพยากร หน้ าที่หลักของรัฐบาล คือ ต้ องดาเนินการเพือ่
โยกย้ายทรัพยากร/รายได้

นโยบายและโครงการของรัฐ ต้ องได้ รับการประเมินว่ า มีความเป็ นธรรม
ไหม มีประสิ ทธิภาพไหม ในเวลาเดียวกัน welfare
Economics จะเป็ นเครื่องมือสาคัญในการประเมินดุลภาพ
ดังกล่าว

ตัวอย่ าง
:
กลุ่มคน A
มีทรัพยากร 100 หน่ วย
กลุ่มคน B
มีเพียง 20 หน่ วย
มีความไม่ เท่ าเทียมกันชัดเจน
รัฐเข้ ามาแทรกแซง โดยโยกย้ าย 40 หน่ วย จาก A ไปให้ B A จึงเหลือ 60
หน่ วย
แต่ ในกระบวนการโยกย้ าย 10 หน่ วย ได้ สูญหายไป B จึงได้ รับเพียง 30
หน่ วย รวมเป็ น 50 หน่ วย

มาตรการของรัฐ สามารถลดช่ องว่ างได้ แต่ ทรัพยากรหายไป 10 A + B =
เหลือเพียง 110 หน่ วย แบบนี้ เรียกว่ า ประสิ ทธิภาพลดลงความยุติธรรมมีมากขึน้

นักวางนโยบาย ต้ องถามว่ า เพือ่ ให้ สังคมเป็ นธรรมมากขึน้ เราจะต้ องยอมลด
ประสิ ทธิภาพลงแค่ ไหน ?

ทุกวันนี้ ยังมีการถกเถียงกันอยู่ ฝ่ ายหนึ่งบอกว่ าความยุติธรรมสาคัญทีส่ ุ ด
ประสิ ทธิภาพลดลงก็ต้องยอมรับ อีกฝ่ ายหนึ่งบอกว่ า ประสิ ทธิภาพเป็ นเรื่องทีต่ ้ อง
รักษาไว้ วิธีแก้ ไขทีแ่ ท้ จริง ไม่ ใช่ อยู่ทกี่ ารโยกย้ าย แต่ อยู่ทกี่ ารเพิม่ ทรัพยากรให้ มาก
ขึน้
การเลือกของสั งคม

นักเศรษฐศาสตร์ ให้ คาแนะนาว่ า เราต้ องค้ นหาดูว่าการโยกย้ าย
ทรัพยากร จากกลุ่ม A ไปสู่ กลุ่ม B ทาได้ กแี่ บบ แบบไหน ให้
ประโยชน์ สุขสู งสุ ดแก่ สังคม เราก็เลือกแบบนั้น

หลักการปาเรโต บอกเราว่ า เราควรเลือก การจัดสรรทรัพยากรใน
แบบที่ คนบางกลุ่มได้ รับประโยชน์ สุขมากขึน้ โดยทีค่ น อีก
หลายกลุ่มอยู่คงที่ หรือไม่ ตกตา่ ลง

หลักการนีห้ มายความว่ า ถ้ าอรรถประโยชน์ ของบางคนเพิม่ ขึน้ และ
อรรถประโยชน์ ของคนอืน่ ๆ ไม่ ลดลง ก็แปลว่ า ความสุ ขสมบูรณ์ ของ
สั งคมทั้งหมดเพิม่ ขึน้

แต่ เราอย่าลืมว่ า เราวิเคราะห์ แล้วว่ า การเลือกไม่ ว่าจะแบบไหน ย่อม
เกิด trade – offs : คนหนึ่งดีขนึ้ แต่ คนอืน่ ตกต่าลง

หลักการปาเรโต จึงไม่ ค่อยเหมาะสม

หลักการที่แน่ นอนกว่ า คือการใช้ social welfare
function เป็ นพืน้ ฐาน SWF เป็ นเครื่องมือทีน่ ักเศรษฐศาสตร์
ใช้ เพือ่ ชี้ให้ เห็นว่ า สั งคมเรามีทที ่ าและจุดยืนอย่ างไรเกีย่ วกับการโยกย้าย
ทรัพยากรและการสร้ างความสุ ขสมบูรณ์ (welfare) (ดูรูป)

ถ้ าสั งคมมีความวิตกเกีย่ วกับเรื่องความยากจนและความไม่ เท่ าเทียมกัน สั งคม
ก็จะไม่ สนใจเท่ าใดนักว่ ากลุ่มทีร่ ่ารวย จะต้ องสู ญเสี ยเท่ าใด
ในการ
โยกย้ายรายได้ ไปให้ คนยากจน

ถ้ าสั งคมเป็ นห่ วงเรื่องประสิ ทธิภาพมากกว่ า ก็จะไม่ สนใจว่ าคนจนจะอยู่กนั
อย่ างไร สนใจอย่ างเดียวว่ าประโยชน์ สุขต้ องเป็ นของคนรวย
และควร
ส่ งเสริมให้ เพิม่ รายได้ ส่วนรวมของสั งคม
การแก้ ไขปัญหา Trade – off
ระหว่ างประสิ ทธิภาพและความยุตธิ รรม

ในภาคปฏิบตั ิ เราอาจมีแนวทางแก้ ไขปัญหา trade – off ดังนี้ :
- ประเมินดูว่า หลักการจัดสรรทรัพยากร (ในโครงการใดๆก็ตาม) มี pareto
improvement เกิดขึน้ หรือเปล่ า ?
- บางคนบอกว่ า ถ้ าประโยชน์ มมี ากกว่ าต้ นทุนและบางกลุ่มได้ รับประโยชน์ กค็ วรดาเนิน
โครงการได้
- แต่ บางคนวิจารณ์ ว่า ต้ องคานึงผู้ทเี่ ดือดร้ อนและผู้ทสี่ ู ญเสี ยประโยชน์ ด้วย
ได้ รับค่ าชดเชย
โดยให้



อย่ างไรก็ตาม ค่ าชดเชยไม่ ได้ ช่วยกอบกู้สถานภาพและความเป็ นอยู่ที่ตกต่า
ลงเท่ าใดนัก เพราะฉะนั้นจะต้ องมีแนวทาง อีก 2 แนวมาเสริมด้ วย :
มีการวัดค่ าของความไม่ เท่ าเทียมกัน เพือ่ ตอบว่ า การเพิม่ ประสิ ทธิภาพ
คุ้มค่ าต่ อการเพิม่ ความไม่ เท่ าเทียมกันไหม ?
ต้ องดูว่า ใครเป็ นผู้ได้ รับประโยชน์ สุข ใครคือผู้สูญเสี ย คนจน คนรวย หรือ
คนชั้นกลาง ? เราจะให้ ความสาคัญแก่ กลุ่มไหน ?

ศึกษาเอกสารเพิม่ เติม
เรื่อง : The Political Philosophy of
Redistributing Income โดย : N. GREGORY
MANKIW