อ่านเพิ่มเติม

Download Report

Transcript อ่านเพิ่มเติม

กล่ มุ ที่ 3
การลดช่ องว่ างในการบริการ :
ทิศทางและแนวโน้ มในอนาคต
“ การบริการดูแล รักษาเอชไอวี ”
นายคเชนทร์ ก้ อนแก้ ว
ผู้ประสานงานโครงการฟ้ามิตร
สสจ.เชียงใหม่
1. ประชากรข้ ามชาติ และบุคคลอืน่ ทีไ่ ม่ มสี ั ญชาติไทย
ที่มีช่องว่ างต่ อ การบริการฯคือใคร
แรงงานข้ ามชาติ 3 สั ญชาติ (ลาว,พม่ า,กัมพูชา)
 กลุ่มชาติพน
ั ธุ์ เช่ น ไทยใหญ่ ,ลาหู่,กะเหรี่ยง ฯลฯ
 แรงงานข้ ามชาติสัญชาติเวียดนาม
 กลุ่มแรงงานข้ ามชาติทม
ี่ คี วามหลากหลายทางเพศ (MSM

,TG)
กลุ่มแรงงานข้ ามชาติทใี่ ช้ สารเสพติดชนิดฉีดและไม่ ฉีด
 แรงงานข้ ามชาติทม
ี่ อี ายุตา่ กว่ า 18 ปี หรือผู้ติดตาม
 คนทีไ่ ม่ มเี ลข 13 หลัก เช่ น คนไทยพลัดถิ่น คนไร้ รัฐ

2. จุดอ่อนในการบริการฯ ของประชากรในข้ อ 1
(ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาสั งคม)
การสื่ อสารที่หลากหลายภาษา
 เครื่องมือสื่ อต่ างๆ เช่ น เอกสารคู่มอื ไม่ เพียงพอและไม่
ครอบคลุมทุกภาษา
 ความถี่ในการเคลือ่ นย้ ายถิ่นฐานของแรงงานข้ ามชาติ เกิด
ความไม่ ต่อเนื่องในการให้ บริการรักษา
 อาชีพที่ไม่ สอดคล้ องกับวิถีชีวต
ิ เช่ น อาชีพที่ต้องทางานใน
เวลากลางคืนไม่ มคี วามสะดวกในการเดินทางไปรับบริการ







ความกังวล ความกล้ าทีจ่ ะเปิ ดเผยตัว เพือ่ เข้ ารับบริการ
การเรียกรับผลประโยชน์ จากกลุ่มคนบางกลุ่มทาให้ ส่งผล
ต่ อการเข้ ารับบริการ เช่ น การเรียกเก็บค่ าผ่ านทาง
ทัศนคติของผู้ให้ บริการของสถานบริการบางแห่ งยัง
ให้ บริการทีไ่ ม่ เป็ นมิตร รวมถึงการตรีตราทางสั งคม
เศรฐกิจรายได้ ของแรงงานข้ ามชาติ
ความรู้ ความตระหนักถึงพิษภัย และทัศคติทถี่ ูกต้ อง
ต่ อโรคเอดส์ ของแรงงานข้ ามชาติทยี่ งั มีน้อย
ระยะทางทีห่ ่ างไกลของสถานบริการ
3. การบริการฯ เวชภัณฑ์ เทคโนโลยี การวินิจฉัย และ
การตรวจรักษา มีอปุ สรรคอย่ างไร
 ระบบการจัดส่ งยา ARV ที่ขาดช่ วงไม่ ต่อเนื่องเพราะการ
จัดสรรยาของทางภาครัฐฯ
 ยาบางประเภทที่ยงั มีราคาแพง
 จุดกระจาย CONDOM,สารหล่ อลืน
่ ที่มไี ม่ เพียงพอครอบคลุมใน
พืน้ ที่
 การตรวจรักษาไม่ ครบกระบวนการ VCT อันเนื่องมาจาก
การไม่ กลับมาฟังผลของผู้เข้ ารับบริการ หรือติดตามตัว
ไม่ ได้
 ระบบติดตามดูแลการเยีย่ มบ้ านในบางพืน
้ ที่ยงั ไม่ มีความ
ต่ อเนื่อง
 ระบบติดตามดูแลการเยีย่ มบ้ านทีไ่ ม่ เอือ้ อานวยกับแรงงาน
ทีม่ คี วามหลากหลายทางเพศ และผู้ใช้ ยาเสพติด
 การบังคับให้ ร่วมจ่ ายในยาบางประเภท
4. กฎหมาย นโยบาย และความไม่ เท่ าเทียมในชุมชน
ทีเ่ ป็ นอุปสรรคมีอะไรบ้ าง อย่ างไร
 กฎหมายที่ไม่ เอือ้ อานวยต่ อการเปลีย่ นสถานทีเ่ ข้ ารับบริการ
เช่ น ความไม่ สะดวกทีจ่ ะเข้ ารับบริการในสถานบริการใกล้
บ้ าน แต่ การข้ ามเขตต้ องได้ รับการอนุญาตจากกรมการ
ปกครอง
 ข้ อจากัด ในนโยบายช่ วงเวลาการยืน
่ ขอต่ อเอกสารต่ างๆทีท่ า
ให้ แรงงานไม่ มคี วามสะดวก เช่ น อยู่ห่างไกล ไม่ ทนั ในการ
ยืน่ ขอต่ อในช่ วงเวลานั้น ส่ งผลต่ อสิ ทธิต่างๆในการเข้ ารับ
บริการดูแล รักษา
 ความไม่ ชัดเจนในนโยบายการดูแลรักษาในระยะยาว
เช่ น การกาหนดการจัดสรรยาให้ มีความต่ อเนื่อง
 ความแตกต่ างของนโยบายการจัดสรรยาที่เห็นชั ด
ระหว่ างคนไทย กับแรงงานข้ ามชาติ ทาให้ เกิดความ
ไม่ เท่ าเทียม
ความคิดเห็นในแรงจูงใจ
บัตรประกันสุขภาพ
แรงงานข้ ามชาติ
ซื้อ
 พอที่จะมีรายได้ รองรับ
 มีหลักประกันด้ านสุ ขภาพได้
ความมั่นคงในชีวติ
 รักษาสิ ทธิประโยชน์ ที่ตนเอง
ควรได้ รับ
ไม่ ซื้อ
 แพง รายได้ ไม่ เพียงพอ
 คิดว่ าไม่ จาเป็ น ไม่ คุ้มค่ าเพราะ
ไม่ มีความเจ็บป่ วย
 ยังไม่ เข้ าใจในรายละเอียด
 คิดว่ าการให้ บริการยัง
เหมือนเดิมในราคาที่เพิม่ ขึน้
อีกปัจจัยทีม่ สี ่ วนสาคัญในการตัดสิ นใจซื้อ หรือไม่ ซื้อ บัตร
ประกันสุ ขภาพฯ คือทัศนคติทนี่ ายจ้ างมีให้ กบั ลูกจ้ างในเรื่องบัตรฯ
การลดช่ องว่ างในการบริการฯ :
แผนงานของประเทศ และการสนับสนุน
จากกองทุนโลกฯ และแหล่ งทุนอืน่
“ การบริการดูแล รักษาเอชไอวี ”
จุดอ่ อน ปัญหาและอุปสรรค
 การสื่ อสารที่หลายภาษา รวมถึงเครื่องมือสื่ อความรู้
 กิจกรรม
 ผลิตสื่ อภาษาที่หลายหลายครอบคลุม มีล่ามทุกภาษา
 ระดับความรับผิดชอบ
 จังหวัด,ท้ องถิ่น
 ผู้มบ
ี ทบาท
 กระทรวงสาธารณสุ ข,กระทรวงแรงงาน,สคร.,สสจ,
ท้ องถิ่นจังหวัด,หน่ วยงานเอกชน อืน่ ๆ
 งบประมาณ
 กระทรวงสาธารณสุ ข,กระทรวงแรงงาน,สคร.,สสจ,
ท้ องถิ่นจังหวัด,หน่ วยงานเอกชน อืน่ ๆ

 จุดอ่ อน ปัญหาและอุปสรรค
การเคลือ่ นย้ ายถิ่นฐานทีม่ ีผลต่ อการเข้ าถึงบริการ
 กิจกรรม
 การพัฒนาระบบการส่ งต่ อ / การดูแลรักษาให้ เกิดความต่ อเนื่องทั้ง
ในและต่ างประเทศ มี ID ทีส่ ามารถตรวจสอบได้ และเชื่อมโยงทุก
ส่ วนที่เกีย่ วข้ อง
 ระดับความรับผิดชอบ
 ประเทศ,จังหวัด
 ผู้มบ
ี ทบาท
 สาธารณสุ ข,มหาดไทย,แรงงาน,พม.,กลาโหม
 งบประมาณ
 สาธารณสุ ข,มหาดไทย,แรงงาน,พม.,กลาโหม

จุดอ่ อนและอุปสรรค
 อาชีพที่ไม่ สอดคล้ องกับวิถีชีวต
ิ แรงงาน
 กิจกรรม
 ส่ งเสริมให้ มคี ลินิกนอกเวลา,มีการทาโมบาย,จัดกิจกรรมกลุ่ม
ย่ อย,ตั้งชมรม เฉพาะกลุ่มในเวลาที่สะดวกกับแรงงาน,ส่ งเสริม
การเพิม่ DIC
 ระดับความรับผิดชอบ
 จังหวัด,ท้ องถิ่น
 บทบาท
 สสจ., สสอ., รพ., รพ.สต., อปท., ท้ องถิ่น., อบต., อสม., NGO
 งบประมาณ
 สสจ., สสอ., รพ., รพ.สต., อปท., ท้ องถิ่น., อบต., อสม., NGO

จุดอ่อนและอุปสรรค
 ความกังวลใจ กลัวการรังเกียจจากสั งคม
 กิจกรรม
 จัดทาสื่ อสาธารณะรณรงค์ ลดการตรีตรา ,จัดกิจกรรมปรับเปลีย่ น
ทัศนคติในทุกระดับทีเ่ กีย่ วข้ อง ,ส่ งเสริมการให้ บริการที่เป็ นมิตร
 ระดับความรับผิดชอบ
 ประเทศ,จังหวัด,ท้ องถิ่น
 บทบาท
 สาธารณสุ ข, แรงงาน, อปท, ผู้นาชุ มชน
 งบประมาณ
 สาธารณสุ ข, แรงงาน, อปท,

จุดอ่อนและอุปสรรค
 กฎหมาย นโยบายทีไ่ ม่ เอือ้ อานวยต่ อการปฏิบัติ เช่ น ปัญหาเรื่อง
นายหน้ า, การจัดระบบบริการ, ระยะทางของสถานบริการที่
ห่ างไกล
 กิจกรรม
 ปรับนโยบายให้ ชัดเจน จริงจังต่ อบทลงโทษ ,จัดระบบบริการให้
สะดวก ง่ ายต่ อการเข้ ารับสิ ทธิ์ใกล้ถิ่นฐาน หรือการโอนย้ ายสิ ทธิ์
 ระดับความรับผิดชอบ
 ประเทศ, จังหวัด
 บทบาท
 สาธารณสุ ข,สสจ., มหาดไทย, ยุติธรรม, พม.,สวัสดิการฯ., ตารวจ
 งบประมาณ
 สาธารณสุ ข, มหาดไทย, ยุติธรรม, พม.

จุดอ่อนและอุปสรรค
 ความไม่ เพียงพอและไม่ ต่อเนื่องของเวชภัณฑ์ ยา
 กิจกรรม
 ปรับระบบยาเข้ าสู่ ระบบ VMI ให้ รพ.มียาเพียงพอที่จะให้ แรงงาน
ผู้มารับบริการ
 เพิม
่ จุดกระจาย CONDOM & สารหล่อลืน่ ให้ ครอบคลุมในพืน้ ที่
 ระดับความรับผิดชอบ
 ประเทศ, จังหวัด
 บทบาท
 การคลัง, สาธารณสุ ข, องค์ กรเภสั ช, รพ.ศู นย์ , รพ.ชุ มชน
 งบประมาณ
 การคลัง, สาธารณสุ ข, องค์ กรเภสั ช, รพ.ศู นย์ , รพ.ชุ มชน

สมาชิกกลุ่มที่ 3
นางภัสสรา มยาเศส
นางภัทรศภรณ์ ขนอม
นายวีระชาติ สว่ างหลิหมัน
นายลาย
สรุณ
นายวิริยะ
พุราญสาร
น.ส.เพียรสุ ดา ทองพูลเพิม่
น.ส.ธิดาลักษณ์ ทาทอง
Mr.Hark
Murng
น.ส.จารุณี ศิริพนั ธุ์
Mr.Aaron Schubert
น.ส.วัชราภรณ์ สงวนอิน
นางภัทรานี ภูวประภาชาติ
น.ส.อาพร ณโนนชัย
นายคเชนทร์ ก้อนแก้ว
สสจ.ชุ มพร
สสจ.นครศรีธรรมราช
ศูนย์ อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลา
ศูนย์ อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลา
มูลนิธิพฒ
ั นาเครือข่ ายเอดส์
มูลนิธิพฒ
ั นาเครือข่ ายเอดส์
สสจ.มุกดาหาร
MAP Foundtion
FAR
USAID
RTF BKK
กองควบคุมโรคเอดส์ ฯ
กองควบคุมโรคเอดส์ ฯ
สสจ.เชียงใหม่
ขอบคุณครับ