โครงการนำร่อง ประเมินศักยภาพผลงานวิจัยของสถาบันอุดมศึกษา หน่วยการ

Download Report

Transcript โครงการนำร่อง ประเมินศักยภาพผลงานวิจัยของสถาบันอุดมศึกษา หน่วยการ

สถาบันเทคโนโลยีแห่ งอโยธยา
Institute of Technology Ayothaya
ดร. พณศธร อยู่ประเสริฐ
ผ้ ูช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจยั และผ้ ูอานวยการ
ฝ่ ายวิจัยและพัฒนา
1
โครงการนาร่ อง
ประเมินศักยภาพผลงานวิจัย
ของ
สถาบันอุดมศึกษาไทย
หน่ วยการประเมิน ตัวบ่ งชี้ ค่ านา้ หนัก
และระบบการคิดคะแนน
ดร. พณศธร อยู่ประเสริฐ
2
วัตถุประสงค์ ของโครงการ
∆ เพื่ อ น าองค์ ประกอบและตั ว บ่ งชี้ ไ ปทดลองประเมิ น ศั ก ยภาพงานวิ จั ย ใน
สถาบันอุดมศึ กษาของเครื อข่ ายบริ หารการวิจัยของสานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา
∆ เพื่อนาผลจากโครงการนาร่ องฯ มาปรั บปรุ งรายละเอียดขององค์ ประกอบและตัว
บ่ งชี้การประเมินศักยภาพผลงานวิจัย มาปรับให้ มีความเหมาะสมก่ อนนาไปขยาย
ผลและประเมินศักยภาพต่ อไป
∆ เพือ่ ให้ องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้เป็ นที่ยอมรับของสถาบันอุดมศึกษาและนาไปใช้ ได้
จริ ง โดยคาดหวังว่ าผลการประเมินจะเป็ นกลไกช่ วยผลักดันให้ เกิดการจัด สรร
ทรั พยากรที่มีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อส่ งผลต่ อการพัฒ นาศั กยภาพและคุ ณ ภาพของ
งานวิจัย อันจะนาไปสู่ การพัฒนาองค์ ความรู้ ในระบบอุดมศึ กษาไทย และเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่ งขันกับนานาชาติ
3
หน่ วยการประเมิน ( Unit of Assessment)
หน่ วยการประเมินของโครงการนาร่ องประเมินศักยภาพผลงานวิจัยฯ คือ
กลุ่มสาขาวิชา (Field of Education) ใน 25 กลุ่มของ ISCED 1997 ยกเว้ น
กรณีทกี่ ลุ่มสาขาวิชาถูกแยกเป็ นหลายคณะวิชาในระบบบริหารของ
สถาบันอุดมศึกษาไทย เช่ น กลุ่มสาขาวิชา Health and Welfare อาจแยก
เป็ น
คณะแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะเภสั ชศาสตร์ ในกรณีเช่ นนีใ้ ห้
หน่ วยการประเมินคือ คณะวิชา แทน กลุ่มสาขาวิชา นั้น
4
ระบบการคิดคะแนนหน่ วยการประเมิน

สาหรั บการคิดคะแนนตัวบ่ งชี้ ในแต่ ละกลุ่มสถาบัน (กลุ่ม ข ค๑ ค๒
และ ง) หน่ วยการประเมินที่เป็ นกลุ่มสาขา (Field) หรื อ คณะวิช า
เดียวกัน (เช่ น กลุ่มคณิตศาสตร์ และสถิติหรื อ คณะแพทยศาสตร์ ) ที่มี
ผลงานดีที่สุดในตัวบ่ งชี้น้ัน ๆ จะได้ คะแนนเต็มตามค่ าน้าหนัก สาหรับ
หน่ วยการประเมินที่มีผลงานลาดับถัดไปให้ คิดคะแนนโดยการเทียบ
บัญญัติไตรยางศ์ คะแนนรวมของแต่ ละหน่ วยการประเมิน คือ ผลรวม
ของคะแนนทุกตัวบ่ งชี้ ของหน่ วยการประเมินนั้ นโดยมีคะแนนเต็ม
๑๐๐ คะแนน
5
ตัวบ่ งชี้และค่ านา้ หนักสาหรับกลุ่มสาขาวิชาด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีและกลุ่ม
สาขาวิชาด้ านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ ในสถาบันกลุ่ม ข ค และ ง
ผลผลิต - ผลลัพธ์
ตัวบ่ งชี้
ค่ านา้ หนัก ๗๐%
ค่ านา้ หนักแต่ ละกลุ่มสถาบัน
ท
ค๑
ค๒
ง
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑ ร้ อยละของผลงานวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับการตีพมิ พ์ หรือเผยแพร่ ในระดับชาติหรือนานาชาติ ต่ ออาจารย์ และนักวิจยั
๓๐
๒๕
๒๕
๓๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๒ ร้ อยละงานวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์ ที่นามาใช้ ประโยชน์ ต่ ออาจารย์ และนักวิจยั
๓๐
๒๐
๓๐
๑๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๓ ร้ อยละบทความวิจยั ที่ได้ รับการอ้ างอิงในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ต่ อบทความทั้งหมด
๒.๕
๕
๒.๕
๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๔ จานวนการอ้ างอิงในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ต่ อบทความทั้งหมด
๒.๕
๕
๒.๕
๕
๕
๑๕
๑๐
๑๐
ตัวบ่ งชี้ที่ ๕ ร้ อยละของผลงานวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับการจดทะเบียนสิ ทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ต่ ออาจารย์ และนักวิจยั
สภาพแวดล้ อมการวิจยั
ตัวบ่ งชี้
ค่ านา้ หนัก ๒๐%
ค่ านา้ หนักแต่ ละกลุ่มสถาบัน
ท
ค๑
ค๒
ง
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖ จานวนโครงการวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับทุน ทั้งจากภายในและภายนอกสถาบัน ต่ ออาจารย์ และนักวิจยั
๕
๕
๕
๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗ จานวนเงินทุนวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับทั้งจากภายในและภายนอกสถาบัน ต่ ออาจารย์ และนักวิจยั
๕
๕
๕
๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๘ ร้ อยละของอาจารย์ และนักวิจยั ที่ผลิตผลงานวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์ ต่อเนื่อง ต่ ออาจารย์ และนักวิจยั
๕
๕
๕
๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๙ บรรยากาศการวิจยั
๕
๕
๕
6
๕
(ต่อ)
การได้ รับการยกย่ องด้ านการวิจัย
ตัวบ่ งชี้
ค่ านา้ หนัก ๑๐%
ค่ านา้ หนักแต่ ละกลุ่มสถาบัน
ท
ค๑
ค๒
ง
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๐ ร้ อยละของอาจารย์ และนักวิจัยทีไ่ ด้ รับรางวัลด้ านการวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
๕
๕
๕
๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๑ ผลรวมค่ า h-Index ของอาจารย์ และนักวิจัย ๓ อันดับแรก
๕
๕
๕
๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๒ ร้ อยละของจานวนอาจารย์ หรือนักวิจัยทีเ่ ป็ นหัวหน้ าโครงการการวิจัยบูรณาการ ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
7
ตัวบ่ งชี้และค่ านา้ หนักสาหรับกลุ่มสาขาวิชาด้ านสั งคมศาสตร์ และกลุ่มวิชาด้ านมนุษยศาสตร์
ในสถาบันกลุ่ม ข ค และ ง
ผลผลิต - ผลลัพธ์
ตัวบ่ งชี้
ค่ านา้ หนัก ๗๐%
ค่ านา้ หนักแต่ ละกลุ่มสถาบัน
ท
ค๑
ค๒
ง
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑ ร้ อยละของผลงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทไี่ ด้ รับการตีพมิ พ์เผยแพร่ นานาชาติ ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
๓๐
๓๐
๓๐
๓๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๒ ร้ อยละงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทนี่ ามาใช้ ประโยชน์ ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
๓๕
๓๐
๓๕
๒๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๓ ร้ อยละบทความวิจัยทีไ่ ด้ รับการอ้างอิงในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ต่ อบทความทั้งหมด
๒.๕
๕
๒.๕
๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๔ จานวนการอ้างอิงในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ต่ อบทความทั้งหมด
ตัวบ่ งชี้ที่ ๕ ร้ อยละของผลงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทไี่ ด้ รับการจดทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ต่ ออาจารย์
และนักวิจัย
สภาพแวดล้อมการวิจัย
ตัวบ่ งชี้
ค่ านา้ หนัก ๒๐%
ค่ านา้ หนักแต่ ละกลุ่มสถาบัน
ท
ค๑
ค๒
ง
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖ จานวนโครงการวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทไี่ ด้ รับทุน ทั้งจากภายในและภายนอกสถาบัน ต่ ออาจารย์ และ
นักวิจัย
๕
๕
๕
๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗ จานวนเงินทุนวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทไี่ ด้ รับทั้งจากภายในและภายนอกสถาบัน ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
๕
๕
๕8
๕
ตัวบ่ งชี้ที่ ๘ ร้ อยละของอาจารย์ และนักวิจัยทีผ่ ลิตผลงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ต่อเนื่อง ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
๕
๕
๕
๕
รายละเอียดตัวบ่ งชี้
9
นิยาม (และค่ านา้ หนัก)

อาจารย์ ประจา หมายถึง อาจารย์ ข้าราชการ อาจารย์ พนักงานรวมทั้ ง
อาจารย์ ที่มีสัญญาจ้ างกับสถาบัน หรื อสถานศึ กษาทั้ง ปี การศึ กษา ที่มี
ระยะเวลาทางานไม่ ต่ากว่ า ๙ เดือน ในกรณีที่อาจารย์ มีระยะเวลาทางาน
๖ เดือน ให้ นับเป็ น ๐.๕ คน รวบรวมสิ้นสุ ดปี การศึกษา

นักวิจัยประจา หมายถึง ข้ าราชการ หรือพนักงานของมหาวิทยาลั ย ที่มี
ตาแหน่ งเป็ นเจ้ าหน้ าที่วิจัยหรื อนักวิจัย ที่มีสัญญาจ้ างกับสถาบันหรื อ
สถานศึกษาทั้งปี การศึกษา โดยมีระยะเวลาทางานไม่ ต่ากล่ า ๙ เดือน ใน
กรณีที่นักวิจัยมีระยะเวลาทางาน ๖ เดือน ให้ นับเป็ น ๐.๕ คน รวบรวม
สิ้นสุ ดปี การศึกษา
10


งานวิ จั ย หมายถึ ง การศึ ก ษาค้ น คว้ า ตามกระบวนการระเบี ย บวิ จั ย ที่
เหมาะสมกับสาขาวิชาเพือ่ ให้ เกิดเป็ นองค์ ความรู้ ใหม่ หรือเป็ นการต่ อยอด
องค์ ความรู้เดิม
งานสร้ างสรรค์ (นับให้ เฉพาะกลุ่มสาขา Arts) หมายถึง งานวิชาการ (ไม่
จาเป็ นต้ องเป็ นงานวิจัย ) ที่มีการศึ กษา ค้ นคว้ า หรื อแสดงออกทางศิ ลปะ
ดนตรี อัน เป็ นที่ ย อมรั บ ในระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ หรื อ งานที่ แ สดง
ความก้ า วหน้ า ทางวิ ช าการ เสริ ม สร้ างองค์ ค วามรู้ หรื อ วิ ธี ก ารที่ เ ป็ น
ประโยชน์ ต่ อ สาขาวิ ช าหรื อ แสดงความเป็ นต้ น แบบ ต้ น ความคิด ของ
ผลงาน หรือแสดงความสามารถในการบุกเบิกงานในสาขาวิชานั้น รวมทั้ง
สิ่ งประดิษฐ์ ผลงานศิลปะและผลงานออกแบบที่มีคุณค่ าและเป็ นที่ยอมรับ
ในวงวิชาชีพ
11




ผลงานงานวิจัยที่ได้ รับการตีพมิ พ์ ในระดับนานาชาติ หมายถึง บทความมาจากผลงานวิจัย
ที่ได้ รับการตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏในฐานข้ อมูลสากล เช่ นฐานข้ อมูล
ISI (Science Citation Index Expand, Social Sciences Citation Index, Art and
Humanities Citation Index) หรือฐานข้ อมูลสากลอื่น ๆ ที่ยอมรับในศาสตร์ น้ัน ๆ หรือใน
บัญชีรายชื่อวารสารระดับนานาชาติที่ สกอ.เผยแพร่ ใน Web Site รวมถึงบทความวิจัยฉบับ
สมบูรณ์ (Full paper) ที่ตีพมิ พ์ ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุ มวิชาการ (Proceedings)
ระดั บ นานาชาติ (มี ก องบรรณาธิ ก ารหรื อ คณะกรรมการการจั ด ประชุ ม ประกอบด้ ว ย
ศาสตราจารย์ หรื อ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ร ะดับ ปริ ญ ญาเอก หรื อ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ผ ลงานเป็ นที่
ยอมรั บในสาขาวิชานั้นๆ จากต่ างประเทศอย่ างน้ อยร้ อยละ 25 และมีผู้ประเมินบทความที่
เป็ นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นจากต่ างประเทศ) โดยมีเกณฑ์ การให้ ค่าน้าหนัก ดังนี้
ตีพมิ พ์ในวารสารที่ปรากฏในฐานข้ อมูล ISI ให้ มีค่าน้าหนักเป็ น ๑.๐๐
ตีพมิ พ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้ อมูลสากลอื่น ๆ ให้ มีค่าน้าหนักเป็ น ๐.๗๕ เท่ าของบทความ
ตีพมิ พ์ในวารสารในฐานข้ อมูล ISI
บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ที่ตีพิมพ์ ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุ ม
วิชาการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ ให้ มีค่าน้าหนักเป็ น ๐.๒๕ เท่ าของบทความตีพมิ พ์
ในวารสารในฐานข้ อมูล ISI
12




ผลงานงานวิจัยที่ได้ รับการตีพิมพ์ ในระดับชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจัย ที่
ได้ รับการตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ทีม่ ชี ื่อปรากฏอยู่ในบัญชีรายชื่อวารสาร
ระดับชาติที่ สกอ. เผยแพร่ ใน Web Site หรือในฐานข้ อมูล TCI รวมถึงบทความวิจัย
ฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ที่ตีพิมพ์ ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุ มวิชาการ
(Proceedings) ระดับชาติ (มีกองบรรณาธิการการจัดทารายงานฯ หรือคณะกรรมการ
จั ด ประชุ ม ประกอบด้ ว ยศาสตราจารย์ หรื อผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ระดั บ ปริ ญ ญาเอก หรื อ
ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น ๆ จากนอกสถาบันเจ้ าภาพอย่ าง
น้ อยร้ อยละ 25 และมีผ้ ปู ระเมินบทความที่เป็ นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นจากนอกสถาบัน
ของเจ้ าของบทความ) โดยมีเกณฑ์ การให้ ค่านา้ หนัก ดังนี้
ตีพิมพ์ ในวารสารระดับชาติที่ สกอ.เผยแพร่ ใน Web Site ให้ มีค่าน้าหนักเป็ น ๐.๕๐
เท่ าของบทความตีพมิ พ์ ในวารสารในฐานข้ อมูล ISI
ตีพิมพ์ ในวารสารที่ปรากฏในฐานข้ อมูล TCI ให้ มีค่าน้าหนักเป็ น ๐.๒๕ เท่ าของ
บทความตีพมิ พ์ ในวารสารในฐานข้ อมูล ISI
บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ที่ตีพมิ พ์ ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุ ม
วิชาการ (Proceedings) ระดับชาติ ให้ มีค่าน้าหนักเป็ น ๐.๑๒๕ เท่ าของบทความ
ตีพมิ พ์ ในวารสารในฐานข้ อมูล ISI
13


ผลงานงานสร้ างสรรค์ ที่ เ ผยแพร่ ร ะดับ นานาชาติ หมายถึ ง การน าเสนอ
ผลงาน หรื อ สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ทางศิ ล ปะ ดนตรี สู่ สาธารณะและ/หรื อ
กลุ่มเป้ าหมาย โดยมีการนาเสนอในระดับนานาชาติอย่ างเป็ นระบบและเป็ นที่
ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือได้ รับการสนับสนุนจากองค์ กร สมาคมที่เกีย่ วข้ อง
และมีชื่อเสี ยงในระดับนานาชาติ ผลงานหรือสิ่ งประดิษฐ์ ในลักษณะนีใ้ ห้ มีค่า
น้าหนักเป็ น ๑.๐๐
ผลงานสร้ างสรรค์ ที่เผยแพร่ ระดับชาติ หมายถึง การนาเสนอผลงานหรื อ
สิ่ งประดิษฐ์ ทางศิลปะ ดนตรี สู่ สาธารณะและ/หรื อกลุ่มเป้าหมาย โดยมีการ
จัดการนาเสนอในระดับชาติอย่ างเป็ นระบบและเป็ นวิธีการที่ยอมรั บในวง
วิชาชีพ หรือได้ รับการสนับสนุนจากองค์ กร สมาคมที่เกีย่ วข้ องและมีชื่อเสี ยง
ในระดับประเทศ ผลงาน หรื อสิ่ งประดิษฐ์ ในลักษณะนี้ให้ มีค่าน้า หนักเป็ น
๐.๕๐ เท่ าของงานสร้ างสรรค์ ที่เผยแพร่ ระดับนานาชาติ
14
งานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ที่นาไปใช้ ประโยชน์ หมายถึง การใช้ ประโยชน์
จากผลงานวิจัยตามวัตถุประสงค์ ทรี่ ะบุไว้ ในโครงการวิจัยและสามารถ
นาไปสู่ การแก้ปัญหาอย่ างเป็ นรูปธรรม โดยมีหลักฐานรับรองการใช้
ประโยชน์
 ประเภทของการใช้ ประโยชน์ จากงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์
๑. การใช้ ประโยชน์ ในเชิงสาธารณะ
๒. การใช้ ประโยชน์ เชิงนโยบาย
๓. การใช้ ประโยชน์ เชิงพาณิชย์
 มีการรับรองจากหน่ วยงานภายนอกทั้งภาครัฐหรือเอกชนทีน
่ าผลการวิจัย
ไปใช้ ประโยชน์ โดยเป็ นเอกสารหลักฐานทีช่ ัดเจนพร้ อมทั้งระบุผลของการ
นางานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ไปใช้ ประโยชน์

15
การอ้ างอิงในวารสารระดับชาติหรื อนานาชาติ หมายถึง การที่บทความ
จากผลงานวิ จั ย ของอาจารย์ ป ระจ าและนั ก วิ จั ย ประจ า ที่ ตี พิ ม พ์
ระดับชาติหรื อนานาชาติถูกอ้ างอิง (Cited) โดยบทความวิจัยอื่นๆ ที่
ตีพมิ พ์ ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ทั้งนีก้ ารอ้ างอิง จะไม่ นับการ
อ้างอิงตนเอง
 ข้ อมูลการอ้ างอิง (Citation) ให้ ใช้ จากฐานข้ อมูล Scopus แต่ หากนับการ
อ้ างอิงเพิ่มเติมจากวิธีการหรื อฐานข้ อมูลอื่น ให้ แสดงหลักฐานว่ าไม่ ได้
นับซ้ากับทีน่ ับจากฐานข้ อมูล Scopus ไปแล้ว

16




สิ ทธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสื อสาคัญที่รัฐออกให้ เพื่อคุ้มครองการ
ประดิษฐ์ คดิ ค้ นหรือ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลกั ษณะตามที่กาหนดใน
กฎหมาย กฎกระทรวง และระเบียบว่ าด้ วยสิ ทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๕๒
อนุสิทธิบัตร (Petty patent) หมายถึง การให้ ความคุ้มครองสิ่ งประดิษฐ์
คิด ค้ น เช่ น เดี ย วกับ สิ ท ธิ บั ต รการประดิ ษ ฐ์ แต่ แ ตกต่ า งกัน ตรงที่ ก าร
ประดิษฐ์ ที่จะขอรั บอนุสิทธิบัตรเป็ นการประดิษฐ์ ที่มีเป็ นการปรั บปรุ ง
เพียงเล็กน้ อยซึ่งมีเทคนิคทีไ่ ม่ สูงมากนัก
สิ ทธิบัตรที่ได้ รับการจดทะเบียนทั้งในและต่ างประเทศให้ ค่ าน้าหนักเป็ น
๑.๐๐
อนุ สิทธิบัตรได้ รับการจดทะเบียนทั้งในและต่ างประเทศให้ ค่าน้าหนัก
เป็ น๐.๒๕
17



โครงการวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับทุนจากภายใน หมายถึง โครงการวิจัย
และงานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับการจัดสรรจากเงินงบประมาณแผ่ นดินหรื อเงินงบ
ประมานเงิ น รายได้ จ ากมหาวิ ท ยาลั ย (สามารถนั บ โครงการย่ อ ยที่ ไ ด้ รั บ
งบประมาณเฉาพะโครงการนั้น ซึ่งอยู่ในชุ ดโครงการใหญ่ ได้ )
โครงการวิ จั ย และงานสร้ างสรรค์ ที่ ไ ด้ รั บ ทุ น จากภายนอก หมายถึ ง
โครงการวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับการจัดสรรจากหน่ วยงานทั้ งภายใน
และภายนอกประเทศ ทั้งนี้ ต้ องเป็ นหน่ วยงานที่ไม่ เกี่ยวข้ องกับ มหาวิทยาลัย
(สามารถนับโครงการย่ อยที่ได้ รับงบประมาณเฉพาะโครงการนั้น ซึ่งอยู่ในชุ ด
โครงการใหญ่ ได้ )
หมายเหตุ ในกรณี ที่ อ าจารย์ / นั ก วิ จั ย เป็ นผู้ อ อกทุ น ในการท าวิจั ย เอง (เงิ น
ส่ วนตัว) ไม่ นับเป็ นโครงการวิจัย และไม่ นับเป็ นเงินวิจัยที่หน่ วยการประเมิน
ได้ รับ
18

๑)
๒)


ค่ านา้ หนักของแต่ ละโครงการวิจัยแบ่ งเป็ น ๒ ส่ วน คือ
จากสั ดส่ วนอาจารย์ ที่ร่วมโครงการโดยให้ นา้ หนัก ๐.๕ และ
จากช่ วงเวลาในการดาเนินโครงการตามสั ญญาให้ ทุน โดยให้ น้าหนัก
๐.๕ ดังนี้
โครงการวิจัยที่มีอาจารย์ ร่วมโครงการจากหลายหน่ วยการประเมิ น
ให้ คิดค่ าน้าหนักตามสั ดส่ วนของจานวนอาจารย์ จากแต่ ละหน่ วยการ
ประเมิ น นั่ น คื อ หากไม่ มี อ าจารย์ จ ากหน่ ว ยการประเมิ น อื่ น ร่ วม
โครงการ หน่ วยการประเมินนั้นจะนับได้ ๐.๕ โครงการ
โครงการวิจัยต่ อเนื่องที่มีระยะเวลาของการดาเนินงานมากกว่ าหนึ่งปี
ตามสั ญญาการให้ ทุน หน่ วยการประเมินนั้นๆ จะนับได้ ๐.๕ โครงการ
กรณีเป็ นโครงการวิจัยที่มีระยะเวลาดาเนินการหนึ่งปี หรือน้ อยกว่ า จะ
นับได้ ๐.๒๕ โครงการ
19



อาจารย์ และนักวิจัยที่ผลิตผลงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ต่อเนื่อง หมายถึง
อาจารย์ หรือนักวิจัยที่ผลิตผลงานวิจัยตีพิมพ์ หรื องานสร้ างสรรค์ เผยแพร่
ในระดับชาติหรือนานาชาติต่อเนื่องทุกปี ปฏิทินในช่ วง ๓ ปี จนถึงปี ปฏิทิน
ที่ตัวเลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่ประเมิน
รางวัลระดับชาติ หมายถึง การผ่ านการคัดเลือก หรือผ่ านการประกวด ที่จัด
โดยหน่ วยงานของรัฐระดับกรมขึน้ ไป หรือจัดโดยสมาคม องค์ กรวิช าการ
วิชาชีพระดับชาติ ทั้งนีร้ างวัลนั้นต้ องมาจากการแข่ งขันของคณาจารย์ หรือ
นักวิจัย จากสามสถาบันอุดมศึกษาขึน้ ไป
รางวัลระดับนานาชาติ หมายถึง การผ่ านการคัดเลือก หรือผ่ านการประกวด
ที่จัดโดยสมาคม องค์ กรวิชาการ วิชาชีพระดับนานาชาติท้งั นี้รางวัลนั้นต้ อง
มาจากการแข่ งขันของคณาจารย์ หรือนักวิจัยจากสองประเทศขึน้ ไป
20

๑.
๒.
๓.
รางวัลด้ านการวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ หมายถึง รางวัลที่อาจารย์ หรื อ
นักวิจัยได้ รับจากการเผยแพร่ ผลงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ดังต่ อไปนี้
รางวัลที่อาจารย์ /นั ก วิจัย ได้ รั บ การประกาศเชิ ดชู เกีย รติจ ากองค์ ก ร /
สมาคม / ในระดับชาติหรือนานาชาติ
รางวัลผลงานวิจัย หรื อ งานสร้ า งสรรค์ ที่ไ ด้ รับ จากการประกาศเชิ ด ชู
เกียรติจากองค์ กร / สมาคม / ในระดับชาติหรือนานาชาติ
รางวัลบทความวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ ดีเด่ นที่ได้ รับจากวารสารทาง
วิชาการ หรือการนาเสนอในระดับชาติหรือนานาชาติ
21


ค่า h-Index หมายถึง ตัวเลขที่แสดง “จานวนบทความวิจยั วิจยั ” (ของผูว้ ิจยั หรื อกลุ่ม
ผูว้ ิจยั ) ที่มีจานวนครั้งของการถูกอ้างอิง เท่ากับหรื อมากกว่า จานวนบทความวิจยั
นั้น ๆ
นัน่ คืออาจารย์หรื อนักวิจยั ที่มีค่า h-Index เท่ากับ n หมายถึง บทความวิจยั ทั้งหมด
ของอาจารย์หรื อนักวิจยั ท่านนั้น มีจานวน n บทความที่ถูกอ้างอิงอย่างน้อย n ครั้ง
โครงการวิจยั บูรณาการ หมายถึง โครงการวิจยั ที่มีนกั วิจยั ตั้งแต่ ๕ คนขึ้นไปและมา
จากสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างน้อย ๓ สถาบัน ซึ่งศึกษาวิจยั ในประเด็น
ที่เป็ นปั ญหาภาพรวม โดยสามารถแยกออกมาศึกษาเป็ นโครงการวิจยั ย่อย ๆ อีก
อย่างน้อย ๓ โครงการ ที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันอย่างชัดเจน ทั้งในเชิงทฤษฏีและเชิง
ประยุกต์ และดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ องในระยะเวลาอย่างน้อย ๑ ปี โดยมี การจัด
ประชุ ม สั ม มนาคณะนัก วิ จัย เพื่ อ น าเสนอความก้า วหน้า ของการวิ จัย และการ
แลกเปลี่ยนความรู ้กบั ชุมชนทางวิชาการที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ๒ ครั้งใน ๑ ปี และมี
ผลงานวิจยั ที่สามารถจัดพิมพ์เป็ นเอกสารเผยแพร่ ในรู ปหนังสื อหรื อบทความใน
วารสารทางวิชาการซึ่งเป็ นที่ยอมรับในระดับประเทศหรื อนานาชาติทุกปี ปฏิทิน
22
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑ ร้ อยละของผลงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทไี่ ด้ รับการตีพมิ พ์ หรือ
เผยแพร่ ในระดับชาติหรือนานาชาติ ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
ข้ อมูลที่ต้องการ


รายชื่ อบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ และผลงานสร้ างสรรค์ ที่เผยแพร่ พร้ อมชื่ อเจ้ าของ ปี ที่
ตีพิมพ์ /เผยแพร่ ชื่ อวารสารหรื อรายงานสื บเนื่องจากการประชุ มวิชาการหรื อสถานที่
เผยแพร่ ในแต่ ละปี ปฏิทนิ ย้อนหลัง ๓ ปี จนถึงปี ปฏิทินที่ตัวเลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่
ประเมินโดยนับรวมผลงานของอาจารย์ และนักวิจัยทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่ อ
จานวนอาจารย์ ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมด ทั้งที่ปฏิบัติงานจริ งและลาศึกษาต่ อ
ในแต่ ละปี การศึกษา ย้อนหลัง ๓ ปี จนถึงปี การศึกษาทีป่ ระเมิน
23
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
(ผลรวมตามค่ านา้ หนักของงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ที่ตีพิมพ์หรือแยก
เผยแพร่ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ๓ ปี ย้อนหลัง)
(อาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมด ๓ ปี ย้อนหลัง)
x
๑๐๐
24
ตัวบ่ งชี้ที่ ๒ ร้ อยละของผลงานวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ ที่นามาใช้ ประโยชน์ ต่ อ
อาจารย์ และนักวิจัย
ข้ อมูลที่ต้องการ
 รายชื่ อผลงานวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ ที่นาไปใช้ ประโยชน์ ในระดับชาติหรื อระดับนานาชาติ ในรอบ
๓ ปี ปฏิทิน จนถึงปี ปฏิทินที่ตัวเลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่ประเมิน โดยนับผลงานของอาจารย์ และ
นั ก วิ จั ย ประจ าทั้ ง ที่ ป ฏิ บั ติ ง านจริ ง และลาศึ ก ษาต่ อ โดยแสดงข้ อ มู ล ที่ ร ะบุ ร ายละเอี ย ดการใช้
ประโยชน์ ที่ชัดเจน ตามแนวทางดังต่ อไปนี้
1) ข้ อมูลที่แสดงผลดีที่เกิดขึน้ อย่ างเป็ นรู ปธรรมจาการนาสิ่ งประดิษฐ์ อันเป็ นผลจากการวิจัยหรืองาน
สร้ างสรรค์ ไปใช้ ตามวัตถุประสงค์ ของงานวิจัย
2) ข้ อมูลที่แสดงผลดีที่เกิดขึน้ อย่ างเป็ นรู ปธรรม จากการนานโยบาย/กฎหมาย/มาตรการ ที่เป็ นผลมา
จากงานวิจัยนโยบายไปใช้
3) ข้ อ มูลที่แสดงผลดีที่เกิดขึ้นอย่ างเป็ นรู ปธรรม จากการนาผลงานวิจัยที่มีวัตถุ ประสงค์ เพื่อ การ
พัฒนาสาธารณะไปใช้
 จานวนอาจารย์ ประจาและนั กวิจัยประจาทั้งหมด ทั้งที่ปฏิบัติงานจริ งและลาศึ ก ษาต่ อ ในแต่ ละปี
การศึกษา ย้ อนหลัง ๓ ปี จนถึงปี การศึกษาที่ประเมิน
25
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
(ผลรวมของจานวนงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทนี่ ามาใช้ ประโยชน์ โดย
ได้ รับรองการใช้ ประโยชน์ จากหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง ๓ ปี ย้อนหลัง)
x
๑๐๐
(จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมด ๓ ปี ย้อนหลัง)
26
ตัวบ่ งชี้ที่ ๓ ร้ อยละบทความวิจัยทีไ่ ด้ รับการอ้างอิงในวารสารระดับชาติหรือ
นานาชาติ ต่ อบทความทั้งหมด
ข้ อมูลทีต่ ้ องการ
 รายชื่ อบทความวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ ของอาจารย์ ประจาและนักวิจั ยประจา
ในช่ วงสามปี ปฏิทิน จนถึงปี ปฏิทินที่ตัวเลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่ป ระเมิน ที่ได้ รับการ
อ้ างอิงในช่ วงสามปี ปฏิทินนั้น ซึ่ งไม่ ใช่ การอ้ างอิงตนเอง ทั้งนี้ให้ ระบุหลักฐานที่ได้ รับ
การอ้ างอิงในกรณีที่ไม่ ได้ สืบค้ นการอ้ างอิงจากหลักฐานข้ อมูล Scopus ในการนับให้ นับ
จ านวนบทความวิจั ย ที่ไ ด้ รั บ การอ้ า งอิง ของอาจารย์ ป ระจ าและนั ก วิ จั ย ประจ าทั้ง ที่
ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่ อ
 รายชื่ อ บทความวิ จั ย วิ จั ย ที่ ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์ ใ นระดั บ ชาติ ห รื อ ระดั บ นานาชาติ ข อง
อาจารย์ ประจาทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่ อในแต่ ละปี ปฏิทิน ในช่ วงสามปี ปฏิทิน
จนถึงปี ปฏิทนิ ที่ตวั เลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่ประเมิน
27
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
(จานวนบทความวิจัยที่ได้ รับการอ้ างอิงในวารสารระดับชาติหรือ
นานาชาติในช่ วงสามปี ปฏิทิน)
(จานวนบทความวิจัยที่ได้ รับการตีพมิ พ์ท้งั หมดในช่ วงสาม ปี ปฏิทนิ )
x
๑๐๐
28
ตัวบ่ งชี้ที่ ๔ จานวนการอ้ างอิงในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ต่ อบทความ
ทั้งหมด
ข้ อมูลทีต่ ้ องการ


รายชื่ อ บทความวิจัย ในระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ ของอาจารย์ ป ระจาและ
นั ก วิ จั ย ประจ าในช่ วงสามปี ปฏิ ทิ น จนถึ ง ปี ปฏิ ทิ น ที่ ตั ว เลขปี ตรงกั บ ปี
การศึ กษาที่ประเมิน ที่ได้ รับการอ้ างอิงในช่ วงสามปี ปฏิทินนั้ น โดยให้ ระบุ
จานวนครั้งทีถ่ ูกอ้างอิงของแต่ ละบทความโดยไม่ นับการอ้ างอิงตนเองทั้งนีใ้ ห้
ระบุ ห ลั ก ฐานที่ ไ ด้ รั บ การอ้ า งอิ ง ในกรณี ที่ ไ ม่ ไ ด้ สื บ ค้ น การอ้ า งอิ ง จาก
ฐานข้ อมูล Scopus ในการนับให้ นับจานวนบทความวิจัยที่ได้ รับการอ้ างอิง
ของอาจารย์ ประจาและนักวิจัยประจาทั้งทีป่ ฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่ อ
รายชื่ อบทความวิจัยวิจัยที่ได้ รับการตีพมิ พ์ ในระดับชาติหรื อระดับนานาชาติ
ของอาจารย์ ประจาและนักวิจัยประจาทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่ อใน
แต่ ล ะปี ปฏิ ทิ น ในช่ วงสามปี ปฏิ ทิ น จนถึ ง ปี ปฏิ ทิ น ที่ ตั ว เลขปี ตรงกั บ ปี
การศึกษาที่ประเมิน
29
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
(จานวนครั้งของการอ้ างอิงที่บทความวิจัยในวารสารระดับชาติหรือ
นานาชาติได้ รับ ในสามปี ปฏิทนิ )
(จานวนบทความวิจัยทีไ่ ด้ รับการตีพมิ พ์ท้งั หมดในช่ วงสาม ปี ปฏิทิน)
x
๑๐๐
30
ตัวบ่ งชี้ที่ ๕ ร้ อยละของผลงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับการจดทะเบียนสิ ทธิบัตร
หรืออนุสิทธิบตั ร ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
ข้ อมูลที่ต้องการ
 รายการการจดทะเบียนสิ ทธิบัตร หรื ออนุ สิทธิบัตรของอาจารย์ ประจาและนักวิจัยประจา
ทั้ ง ที่ ป ฏิ บั ติ ง านจริ ง และลาศึ ก ษาต่ อ ในแต่ ล ะปี ปฏิ ทิ น พร้ อ มชื่ อ เจ้ า ของสิ ท ธิ บั ต ร อนุ
สิ ทธิ บัตร โดยการรายงานย้ อนหลัง ๓ ปี จนถึงปี ปฏิทินที่ตัวเลขปี ตรงกับปี การศึ กษาที่
ประเมิน
 จ านวนอาจารย์ ป ระจ าและนั ก วิ จั ย ประจ าทั้ ง หมดในแต่ ล ะปี การศึ ก ษาของหน่ ว ยการ
ประเมิน โดยนับรวมอาจารย์ และนักวิจัยที่ลาศึกษาต่ อ ทั้งนีใ้ ห้ รายงานย้ อ นหลัง ๓ ปี จนถึง
ปี การศึกษาที่ประเมิน
 สิ ทธิบต
ั รฉบับจริงหรือสาเนา ที่แสดงชื่อผู้ประดิษฐ์ และวันที่ได้ รับอนุมตั ิ
31
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
(ผลรวมตามค่ านา้ หนักของสิ ทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร ๓ ปี ย้ อนหลังของ
อาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา)
(จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมด ๓ ปี ย้อนหลัง)
x
๑๐๐
32
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖ จานวนโครงการวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับทุน ทั้งจากภายในและ
ภายนอกสถาบัน ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
ข้ อมูลที่ต้องการ
 รายชื่ อโครงการวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ที่อาจารย์ และนักวิจัยที่ปฏิ บัติงานจริ ง ได้ รับ
การสนับสนุนทุนวิจัยจากหน่ วยงานทั้งภายในและภายนอกสถาบัน โดยมีหลักฐาน
การได้ รับอนุ มัติหรื อการสนับสนุ นจากหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องในช่ วงย้ อนหลัง ๓ ปี
ปฏิทิน จนถึงปี ปฏิทินที่ตัวเลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่ประเมิน โดยระบุระยะเวลาของ
โครงการและอาจารย์ ที่ร่วมโครงการของหน่ วยงานประเมินนั้นและหน่ วยฯ อื่ นๆ (ถ้ า
มี)
 จานวนอาจารย์ ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมดในแต่ ละปี การศึ กษาของหน่ วยการ
ประเมิน โดยไม่ นับรวมอาจารย์ และนักวิจัยที่ลาศึกษาต่ อ ทั้งนี้ให้ ร ายงานย้ อนหลัง ๓
ปี จนถึงปี การศึกษาที่ประเมิน
33
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
(ผลรวมตามค่าน้ าหนักของโครงการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการ
สนับสนุนจากหน่วยงานภายในและภายนอก ๓ ปี ย้อนหลัง)
x
๑๐๐
(จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งหมด ๓ ปี ย้อนหลัง)
34
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗ จานวนเงินทุนวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ที่ได้ รับทั้งจากภายในและ
ภายนอกสถาบัน ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
ข้ อมูลที่ต้องการ
 รายชื่อโครงการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์และจานวนเงินทุนวิจยั ที่อาจารย์และนักวิจยั
ที่ปฏิบตั ิงานจริ งได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกสถาบันใน
แต่ละปี ปฏิทินย้อนหลัง ๓ ปี จนถึงปี ปฏิทินที่ตวั เลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่ประเมิน
โดยมีหลักฐานการได้รับอนุมตั ิหรื อการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรณี เป็ น
โครงการวิจยั ที่ดาเนิ นการร่ วมกันระหว่างหลายหน่ วยการประเมิน ให้แบ่งสัดส่ วน
เงินตามสัดส่ วนผูร้ ่ วมโครงการของแต่ละหน่วยการประเมิน
 จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งหมดในแต่ละปี การศึกษาของหน่ วยการ
ประเมิน โดยไม่นบั รวมอาจารย์และนักวิจยั ที่ลาศึกษาต่อ ทั้งนี้ให้รายงานย้อนหลัง ๓
ปี จนถึงปี การศึกษาที่ประเมิน
35
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
(ผลรวมของจานวนเงินทุนโครงการวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทไี่ ด้ รับการ
สนับสนุนจากหน่ วยงานภายในและภายนอก ๓ ปี ย้อนหลัง)
x
๑๐๐
(จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมด ๓ ปี ย้อนหลัง)
36
ตั ว บ่ ง ชี้ ที่ ๘ ร้ อยละของอาจารย์ แ ละนั ก วิ จั ย ที่ ผ ลิ ต ผลงานวิ จั ย หรื อ งาน
สร้ างสรรค์ ต่อเนื่องต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
ข้ อมูลทีต่ ้ องการ
 จานวนอาจารย์ประจาหรื อนักวิจยั ประจาที่ผลิ ตผลงานวิจยั ตี พิมพ์หรื องาน
สร้ างสรรค์เ ผยแพร่ ใ นระดับชาติ ห รื อนานาชาติ ทุก ปี ปฏิ ทิน ในช่ ว ง ๓ ปี
ปฏิทินจนถึงปี ปฏิทินที่ตวั เลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่ประเมิน โดยนับจานวน
อาจารย์และนักวิจยั ประจาทั้งที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ ที่ผลิตผลงาน
ต่อเนื่อง
 จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งหมด ของปี การศึกษาที่ประเมิน
โดยนับรวมอาจารย์และนักวิจยั ที่ลาศึกษาต่อ
37
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
(จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาที่ผลิตผลงานตีพมิ พ์เผยแพร่
ต่ อเนื่อง)
(จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมด)
x
๑๐๐
38
ตัวบ่งชี้ที่ ๙ บรรยากาศการวิจยั
ตัวบ่ งชี้ที่ ๙.๑ ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์
เกณฑ์ มาตรฐานทั่วไป
๑.
มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์
๒.
การบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ กบั การจัดการเรียนการสอน
๓.
มีการพัฒนาศักยภาพด้ านการวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ และให้ ความรู้ ด้านจรรยาบรรณการวิจัย
๔.
มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพือ่ เป็ นทุนวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์
๕.
มีการสนับสนุนพันธกิจด้ านการวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ตามอัตลักษณ์ ของสถาบัน ฯลฯ
๖.
มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้ อ ๔ และข้ อ ๕ อย่ างครบถ้ วนทุกประเด็น
๗.
มีการนาผลการประเมิ นไปปรั บปรุ งการสนั บสนุ นพันธกิจด้ านการวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ ของ
สถาบัน
เกณฑ์ มาตรฐานเพิม่ เติมเฉพาะกลุ่ม :
๘. มีระบบและกลไกเพื่อสร้ างงานวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ บนพืน
้ ฐานภูมิปัญญาท้ องถิ่น หรื อจากสภาพ
ปัญหาของสั งคม เพื่อตอบสนองความต้ องการของท้ องถิ่นและสั งคม และดาเนินการตามระบบที่
กาหนด (เฉพาะกลุ่ม ข และ ค๒
39
เกณฑ์ การประเมินการดาเนินงาน
เกณฑ์ ทั่วไป
คะแนน ๑
คะแนน ๒
คะแนน ๓
คะแนน ๔
คะแนน ๕
มีการดาเนินการ
๑ ข้อ
มีการดาเนินการ
๒ หรื อ ๓ ข้อ
มีการดาเนินการ
๔ หรื อ ๕ข้อ
มีการดาเนินการ
๖ ข้อ
มีการดาเนินการ
๗ ข้อ
เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค๒
คะแนน ๑
คะแนน ๒
คะแนน ๓
คะแนน ๔
คะแนน ๕
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ ครบ ๗
ข้อ ตามเกณฑ์ทวั่ ไปและ
๑ ข้อ
๒ หรื อ ๓ ข้อ
๔ หรื อ ๕ข้อ
๖ ข้อ
ครบถ้วนตามเกณฑ์
มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะ
กลุ่ม
40
ตัวบ่ งชี้ที่ ๙ บรรยากาศการวิจัย
ตัวบ่ งชี้ที่ ๙.๒ ระบบและกลไกการจัดการความรู้ จากงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์
เกณฑ์ มาตรฐานทัว่ ไป
๑.
มีระบบและกลไกสนับสนุ นการเผยแพร่ ผลงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ในการประชุมวิชาการ
หรื อการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรื อนานาชาติ
๒.
มีระบบหรื อกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจยั หรื อ งาน
สร้างสรรค์
๓.
มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ องค์ความรู ้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ ๒
๔.
มี ก ารน าผลงานวิ จ ัย หรื อ งานสร้ า งสรรค์ ไ ปใช้ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ และมี ก ารรั บ รองการใช้
ประโยชน์จริ งจากหน่วยงานภายนอกหรื อชุมชน
๕.
มี ร ะบบและกลไกเพื่อ ช่ ว ยในการคุ ้ม ครองสิ ทธิ์ ของงานวิ จ ยั หรื อ งานสร้ า งสรรค์ที่ นาไปใช้
ประโยชน์ และดาเนินการตามระบบที่กาหนด
เกณฑ์ มาตรฐานเพิม่ เติมเฉพาะกลุ่ม :
๖.
มีระบบและกลไกส่ งเสริ มการจดสิ ทธิ บตั รหรื ออนุ สิทธิ บตั ร และมีการยื่นจดสิ ทธิ บตั รและอนุ
สิ ทธิบตั ร (เฉพาะกลุ่ม ค๑ และ ง)
41
เกณฑ์ การประเมินการดาเนินงาน
เกณฑ์ ทั่วไป
คะแนน ๑
คะแนน ๒
คะแนน ๓
คะแนน ๔
คะแนน ๕
มีการดาเนินการ
๑ ข้ อ
มีการดาเนินการ
๒ ข้ อ
มีการดาเนินการ
๓ ข้ อ
มีการดาเนินการ
๔ ข้ อ
มีการดาเนินการ
๕ ข้ อ
เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค๑ และ ง
คะแนน ๑
คะแนน ๒
คะแนน ๓
คะแนน ๔
คะแนน ๕
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ ครบ ๕
ข้ อ ตามเกณฑ์ ทั่วไปและ
๑ ข้ อ
๒ ข้ อ
๓ ข้ อ
๔ ข้ อ
ครบถ้ วนตามเกณฑ์
มาตรฐานเพิม่ เติมเฉพาะ
กลุ่ม
42
การคิดผลการดาเนินงานงาน
ตัวบ่ งชี้ที่ ๙
∆ ให้ นาคะแนนตัวบ่ งชี้ที่ ๙.๑ และ ๙.๒
มาหารเฉลีย่
43
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๐ ร้ อยละของอาจารย์ และนักวิจัยที่ได้ รับรางวัลด้ านการวิจัยหรืองาน
สร้ างสรรค์ ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
ข้ อมูลที่ต้องการ
 จานวนอาจารย์ ประจาและนั กวิจัยประจา ทั้งที่ปฏิบัติงานจริ งและลาศึ กษาต่ อ ที่
ได้ รับรางวัลจากผลงานวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ ใน ๓ ปี ปฏิทินย้ อนหลัง จนถึงปี
ปฏิทินที่ตัวเลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่ประเมิน พร้ อมหลักฐานการได้ รับรางวัล
 จานวนอาจารย์ ประจาและนั กวิจัยประจาทั้งหมดในแต่ ละปี การศึ กษาของหน่ วย
การประเมิ น โดยนั บ รวมอาจารย์ แ ละนั ก วิ จั ย ที่ ล าศึ ก ษาต่ อ ทั้ ง นี้ ใ ห้ รายงาน
ย้ อนหลัง ๓ ปี จนถึงปี การศึกษาที่ประเมิน
44
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
(ผลรวมของจานวนอาจารย์และนักวิจัยทีไ่ ด้ รับรางวัลจากผลงานวิจัย
หรืองานสร้ างสรรค์ รวม ๓ ปี ย้อนหลัง)
(จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมด ๓ ปี ย้อนหลัง)
x
๑๐๐
45
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๑ ผลรวมค่ า h-index ของอาจารย์ และนักวิจัย ๓ อันดับ
ข้ อมูลทีต่ ้ องการ
 ค่า h-index จากบทความวิจยั ๑๐ ปี ปฏิทินย้อนหลัง ของอาจารย์และนัก วิจยั ทั้ง
ที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อจนถึงปี ปฏิทินที่ตวั เลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่
ประเมิน โดยสื บค้นจากหลักฐานข้อมูล ISI Web of Science
46
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
นาค่ า h-index จากบทความวิจัยของอาจารย์ และนักวิจัยในหน่ วยการ
ประเมิ น ๑๐ ปี ปฏิ ทิ น ย้ อ นหลั ง จนถึ ง ปี ปฏิ ทิ น ที่ ตั ว เลขปี ตรงกั บ ปี
การศึกษาทีป่ ระเมินทีม่ ีค่าสู งสุ ด ๓ อันดับแรกมารวมกัน
47
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๒ ร้ อยละของจานวนอาจารย์ หรือนักวิจัยที่เป็ นหั วหน้ าโครงการการ
วิจัยบูรณาการ ต่ ออาจารย์ และนักวิจัย
ข้ อมูลทีต่ ้ องการ
 รายชื่ อ อาจารย์แ ละนักวิ จ ยั ที่ เ ป็ นหัวหน้า โครงการการวิจ ัยบู ร ณาการในรอบ ๓ ปี
ปฏิทินจนถึงปี ปฏิทินที่ตวั เลขปี ตรงกับปี การศึกษาที่ประเมิน โดยนับเฉพาะอาจารย์
และนักวิจยั ประจาที่ปฏิบตั ิงานจริ งทั้งนี้ ให้รายงานชื่ อหัวหน้าโครงการฯ ปี ที่ที่เป็ น
หัวหน้าโครงการกิจกรรมของโครงการในแต่ละปี ที่ตอบเงื่อนไขตามนิ ยามฯ พร้อม
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง
 จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งหมดในแต่ละปี การศึกษาของหน่ วยงาน
การประเมิ น โดยนับเฉพาะอาจารย์และนักวิจัยที่ ป ฏิ บตั ิ งานจริ ง ทั้งนี้ ให้รายงาน
ย้อนหลัง ๓ ปี จนถึงปี การศึกษาที่ประเมิน
48
สู ตรการคานวณผลการดาเนินงาน
(ผลรวมของจานวนหัวหน้ าโครงการวิจัยบูรณาการ ๓ ปี ย้อนหลัง)
x
๑๐๐
(จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมด ๓ ปี ย้อนหลัง)
49
การเขียนรายงานการประเมิน




ระบุ ผ ลการด าเนิ น งานแต่ ล ะตัว บ่ ง ชี้ ของหน่ ว ยการประเมิ น โดยแนบ “ข้อ มู ล ที่
ต้องการ” สาหรับตัวบ่งชี้น้ นั ๆ ประกอบ (อาจนาข้อมูลฯ/หลักฐานใส่ ในภาคผนวก)
ระบุปัญหา อุปสรรค ในแต่ละตัวบ่งชี้ สาหรับการประเมินนาร่ องครั้งนี้
ให้ขอ้ เสนอแนะในการปรั บปรุ งตัวบ่งชี้ นิ ยาม สู ตรการคานวณ ฯลฯ เพื่อแก้ปัญหา
อุปสรรค ที่ระบุขา้ งต้น
แนบตาราง common data set และตารางการประเมิน ในท้ายรายงาน
50

END.
51