Presentation – chapter4

Download Report

Transcript Presentation – chapter4

ประสบการณ์ และ นิ สัย
ในบทนี้ เราจะเน้ น ข้อ มูล ทัว่ ไปเกี่ย วกับ กระบวนการที่นัก แปลนิ ย มใช้ เช่น
วิธีก ารที่นัก แปลควบคุ ม กับ นิ ส ยั และความชอบส่ว นตัว กับ กระบวนการทั ่วไป
สาหรับ การเปลี่ย นแปลงข้อ มูล ให้เ ป็ น ที่น่ า สนใจ กล่ า วโดยย่อ 1) มี
จิน ตนาการควบคู่ไ ปกับ การแปลราวกับ ว่า ทาทัง้ 2อย่า งพร้อ มกัน 2) การ
วิเ คราะห์ท่ีใ ช้ส มาธิม ากซึ่ง นัก แปลดูคาเหมือ นซ้า แล้ว ซ้า เล่า ดูคาศัพ ท์ใ น
พจนานุ ก รม สารานุ ก รม และอื่น ๆ ตรวจไวยกรณ์ ข องประโยค
 นักแปลทีม่ ปี ระสบการณ์จะทางานเสร็จอย่างรวดเร็ว ยิง่ ทาเสร็จเร็วเท่าไหร่ นัน่
หมายถึงรายได้ทจ่ี ะได้รบั การวิเคราะห์อย่างมีสติ คือสิง่ ทีใ่ ห้ช่อื เสียงในด้าน
ความซื่อสัตย์และ ความมีไหวพริบ แม้วา่ จะช้า และบางทีรายได้น้อย แต่ถา้ นัก
แปลไม่ผา่ นในจุดนี้ ก็จะไม่สามารถทาอะไรทีย่ ากกว่านี้ได้
 การอุปมาอุปมัยอาจจะทาให้เกิดกลไกในการแปล แท้จริงแล้วมันเกิดจาก
ประสบการณ์และปจั จัยต่างๆสิง่ ทีไ่ ด้จากประสบการณ์หรือการวิเคราะห์คอื การ
เก็บสะสม การนาความรูเ้ ดิมมาใช้จนกลายเป็ นความเคยชิน ในด้านการ
วิเคราะห์ จะนามาจากนิสยั ส่วนตัวของเราเอง เพือ่ เป็ นการเพิม่ ความสนุกสนาน
ในการแปล
 นิสยั และประสบการณ์ใหม่คอื กุญแจทีส่ าคัญทีส่ ดุ ในความสาเร็จ ประสิทธิภาพ
และความสนุกสนาน เราต้องการทัง้ ความชานาญ และการเรียนรูจ้ ดั การกับสิง่ ที่
ไม่เคยพบเจอ ถ้าปราศจากความสดใหม่ ก็ไม่ต่างอะไรสิง่ ทีผ่ า่ นๆมา
Charles Sanders Pierce กับประสบการณ์ สัญชาตญาณ และความ
เคยชิน
นักปรัชญาและผูก้ ่อต้องวิชาว่าด้วยเครือ่ งหมาย เขากล่าวว่า ความเชื่อต่อหรือ
กระบวนการ3ขัน้ ตอน เกิดจากประสบการณ์ สัญชาตญาณ และความเคยชิน
สัญชาตญาณ คือสิง่ แรกหรือการอ่านทัวๆไป,
่
ประสบการณ์ อย่างทีส่ อง คือการ
เข้าถึงสิง่ ต่างๆทีเ่ กิดขึน้ บนโลก, ความเคยชิน อย่างทีส่ าม คือการผสมผสาน
ประสบการณ์และสัญชาตญาณเข้าด้วยกัน ประสบการณ์บางทีกไ็ ม่ได้มาจากสิง่
รอบตัว มันกากวมเพราะมันมีความหลากหลายมาก ประสบการณ์เกิดขึน้ จาก
สัญชาตญาณความชอบของบุคคล แปลข้อความทีแ่ น่นอน
 กระบวนการแปลของ Pierce อาจสรุปได้วา่ นักแปลเริม่ ต้นจากไม่รอู้ ะไรเลย
เกีย่ วกับเนื้อหา (สัญชาตญาณ) แปลกลับไป-มาระหว่าง 2 ภาษา รับรูถ้ งึ ความ
เหมือน-ต่างของคาและโครงสร้าง (ประสบการณ์) และจัดการกับปญั หาทีม่ ี
(ความเคยชิน) ซึง่ จะช่วยให้คุณแปลได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
 บทที่ 4 หน้า 84-86 แปลโดย นาย สรสิช ปาลคา 51501030063-7
อ.ส. 3-1
ั หา ให้เ ล็ก ลงที่สุด ด้ว ย
นัก แปลต้อ งเตือ นตัว เองในการที่จ ะแก้ป ญ
ความสามารถ และ วิธีก ารที่ห ลากหลาย จากแหล่ ง ข้อ มูล และคุ ณ จะเป็ นมือ
อาชีพ ในที่สุด จนกระทั ่ง ความสามารถในการเป็ น อาชีพ ทีม ีอ ยู่ข องคุ ณ จะ
ค่อ ยๆ ซึม ซับ ในนิ ส ยั และเมื่อ ใดก็ต ามที่ม ี องค์ป ระกอบ และ ประสบการณ์
ั หาที่ย ากได้
อย่า งเต็ม ที่ม ีส ติ และ วิเ คราะห์ จะข่ว ยแก้ป ญ
Abduction , induction , deduction
ประสบการณ์ของนักแปลจะมีประโยชน์เมือ่ นา 3 หลักการของ Peirce มาใช้คอื
abduction induction deduction เริม่ ต้นด้วยหลักการทัวไป
่ และหักลบด้วย
รายละเอียดเฉพาะ Abduction คือสิง่ ที่ Peirce สร้างขึน้ เกิดจากความรูส้ กึ ของพวก
เขาซึง่ induction และ deduction ไม่เพียงพอ จินตนาการไม่ได้ถกู จากัดไว้ท่ี 1 หรือ
2 ลักษณะ
แต่ในความเป็ นจริงแล้ว induction หรือ deduction คือ การกาหนดแนวคิดใหม่
Hence Peirce ตัง้ สมมุตฐิ าน Abduction คือ พฤติกรรมของการกระทาโดย
สัญชาตญาณจากสิง่ ทีอ่ ธิบายไม่ได้
การใช้ 3 ประเด็นนี้เพือ่ ประสบการณ์การดาเนินงาน ดังนัน้ เราสามารถ
เริม่ ต้นทีก่ ารขยายส่วนกลางของการเคลื่อนไหวของนักแปลจากสัญชาตญาณ จนถึง
ความเคยชิน
ประสบการณ์ของนักแปล เริม่ ต้นจาก Adductive จาก2 สถานที่ อันดับแรก
ความใกล้ชดิ กับชาวต่างชาติ จากเสียงทีเ่ ข้าใจยาก หรือ สัญลักษณ์ทแ่ี สดง
ความหมาย หรืออย่างน้อยการเดาว่า คาศัพท์มคี วามหมายว่าอะไร และ
แนวทางแรกทีจ่ ะนาไปสูท่ ม่ี าของบทความ Abductively เป็ นประสบการณ์หนึ่ง
คือ การไม่รใู้ นการดาเนินการ จะทาให้สบั สน และจะทาให้รสู้ กึ กลัวในการ
ทางาน
ในการดาเนินการแปล จะต้องแปลอย่างต่อเนื่อง และ เป็ นลาดับในการทางาน
Abduction เป็ นเรือ่ งทีย่ าก เพราะมันเป็ นครัง้ แรก Induction เป็ นเรือ่ งง่าย
เพราะ มันได้ถกู แยกออกให้เป็ นเนื้อเดียวกัน โดยทีเ่ รือ่ งมันมีความสัมพันธ์กนั
และ เจาะจงเป็ นพิเศษ Deduction เริม่ ขึน้ เมือ่ ผูแ้ ปลมี การวางแผน หรือ
กฎเกณฑ์ ในปจั จัยทีจ่ ะทาให้รสู้ กึ มันใจ
่ เกีย่ วกับการสร้างหลักการทัวไป
่
โดยมีวธิ กี าร ,หลักการ, และกฎข้อบังคับ เป็ นส่วนทีส่ าคัญทีส่ ุดของการแปล
ทฤษฎี
Peirce กล่ า วว่า กระบวนการนี้ ใ ห้ร ายละเอีย ดได้ดีท่ีสุด ใน2 ขัน้ ตอน,การ
คัด เลือ ก, การจดจา เอ็ม กริฟ ฟิ น ได้ส รุป แนวคิด ของเพีย สในหนัง สือ
“ทฎษฎีก ารสื่อ สารในครัง้ แรก” ในขัน้ แรกคือ กฏเกณฑ์ คือ ทาทุ ก สิ่ง ให้
ง่า ยเพื่อ ทาให้ส ามารถลุ ย ผ่า นไปสู่ผ ลลัพ ธ์ท่ีย ากจะเข้า ใจ โดยไม่สุ่ม เสี่ย ง
( กริฟ ฟิ น 1994:280 ) นี้ คือ ความชัด เจนแบบง่า ยๆ ซึ่ง ชาร์ท เซนเดอร์
เพีย ส เรีย กว่า “การหลีก เลี่ย ง” จากการที่จ ะผ่า นสถานการณ์ ท่ี ย าก
เข้า ใจที่อ ยู่ร อบตัว
คนมัก พูด ว่า ความซับ ซ้อ นในสถานการณ์ จ ริง รายงานว่า มัน ล้ม เหลว
บ่ อ ยครัง้ ความจริง นัน้ กฎ 2 ข้อ นี้ ข ดั แย้ง กัน เมื่อ ใช้พ ร้ อ มกัน กับ
ั หาที่ล ะ
สถานการณ์ เ ดีย วกัน มีข นั ้ ตอนยากในการเลือ ก กฎหนึ่ ง แก้ป ญ
ั หาที่เ หลือ อยู่ ก็ต้อ งทาตามกฎ กฎอีก ข้อ คือ ต้อ งค่อ ยๆ
ส่ว นในการแก้ป ญ
ั หาไปทีล ะนิ ด เป็ น อย่า งแรก
แก้ป ญ
ั
ให้ความ สนใจในวัฏจักรของการเหนี่ยวนา คุณ รอบออกไปจากปญหาในการค้
นหา
ทางออก เก็บเกีย่ วการเรียนของการกระทาตามทีค่ ุณไป และ วัฎจักร ก็จะกลับมาสู่
ปญั หาถึงสิง่ ทีค่ ณ
ุ ได้เรียนไป คุณพยายามทาบางสิง่ แต่มนั ไม่ได้ผล ซึง่ หมายถึงการ
นากลับไปสูท่ ๆ่ี คุณเริม่ นอกจากตอนนี้ คุณรูห้ าทางทีจ่ ะไม่สาเร็จ คุณจึงสร้างมันขึน้ มา
และคุณก็พยายามอีกครัง้ ในอนาคตข้างหน้า
บางทีวฎั จักรทีส่ าคัญทีส่ ดุ ของการแปล ทีแ่ วค เรียกว่า การปรับการตอบสนอง และ
การเกีย่ วข้องกับความเห็นจากผูค้ นทีซ่ ง่ึ เป็ นเส้นทางและการกระทาผิดพลาดมี
ผลกระทบ และการเปลีย่ นแปลงในการกระทา วัฎจักรนี้เรียกโดยทัวไปว่
่ า การตัดสินใจ
ร่วมกันทา มันเกีย่ วข้องถึงการทีผ่ คู้ นพูดคุยกันเป็ นรายบุคคล หรือ ในกลุม่ เล็กๆ โทร
ไปหาพวกเขาทางโทรศัพท์ ส่งแฟกซ์ไปให้พวกเขา หรือ ข้อความอีเมลล์ พาพวกเขา
ไปกินข้าว สอบความคิดเห็นให้พวกเขาตรวจสอบงานของพวกคุณ เป็ นต้น ในแต่ละ
ปฎิกริ ยิ าโต้ตอบ ไม่ใช่แค่ผลิตทางแก้ไขปญั หา จุดรวมสมองผูอ้ น่ื มันยังกาจัด สิง่ ที่
เก่าๆทีไ่ ม่ได้ทางานออกไปอีกด้วย การย้ายความซับซ้อนของสถานการณ์คอ่ ยๆต่อ
ความชัดเจนและความแน่นอนในการตัดสินใจ อย่างที่ เอท กิฟฟิน พูด “ช่น เปิดเต็ม
ของข้อเหวีย่ งที่ เสือ้ ผ้าแต่ละรอบการสือ่ สารบีบออกทีไ่ ม่แน่นอนของสถานการณ” (กิฟ
ฟิน 1994:281)
ระยะที่ 3 ของความจาซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของพฤติกรรมของ เปิยส ไม่
เหมือนกับเปิยส อย่างไรก็ตาม แวคปฐิเสธที่จะเห็นความจาในรูปแบบคงทนของ
กระบวนการ แวคพูดว่า “ควรที่จะได้รบั การลูแลเหมือนสัตว์ แมลงต่างๆ ในขณะที่
ความจาส่วนใหญ่ยงั คงอยู่”
แวคได้กระตุ้นผู้นาต่างๆ เพื่อต่อ การสูญเสียสิ่งที่พวกเขาคิดเอาไว้ ข้อสงสัย ข้อโต้แย้ง
ความหวาดระแวง การโต้ตอบ ความท้าทาย คาถาม วอกแวก และ แม้แต่จอมปลอม
เจ้าเล่ห์ (กิฟฟิน 1994:283)
กระบวนการของการแปล
อะไรคือรูปแบบขบวนการการแปลแนะนาในเงื่อนไขของ เปิยส จากนัน่ คือสิ่งที่ผทู้ ี่เริ่ม
หัดแปล เริ่มต้นด้วยการ เข้าถึงบทความด้วยสัญชาตญานที่พวกเขารู้ว่าจะทายังไงกับ
มัน นัน่ พวกเขาจะเก่งขึน้ และอาจจะสนุก และที่เป็ นอยู่จริง
หน้ า 92
การโจน อุปนัย คัดเลือก ทดสอบ การลงความเห็นในลักษณะกว้างๆ นัน่ จะช่วยให้นัก
แปลปรับปรุงการแปลให้เป็ นมือชาชีพ? จะทายังไงให้เป็ นนิสยั เปลี่ยนแปลง ”ล่าสุด”
ประสบการณ์ หรือ บทเรียนต้องถูกคิดอย่างระมัดระวังในทางเทคนิค ที่ดเู หมือนจะ
เป็ นไปตามธรรมชาติ
อย่างที่ เปิยสเริ่มคิด ว่า การเคลื่อนที่ของสัญชาตญานผ่านประสบการณ์ สู่นิสยั
นิสยั คือ จบ สัญชาตญาณและประสบการณ์มนั รวมอยู่ในนิสยั และมันจะหยุด
แวคคิดว่า ที่จริงแล้วรูปแบบของ เปี ยส น่ าจะแบนไปในวัฎจักร โดยเฉพาะการ
แสดงออก และ การตอบสนอง
กราฟสามารถวาดได้เหมือนวงล้อของรถ
เส้นข้ามข้างบนทาให้เห็นวิธีการ
เคลื่อนที่ของรถ เดินหน้ าไปทางขวา ถอยหลังไปทางซ้าย ตราบใดที่ล้อหมุนตาม
เข็มนาฬิกา รถเดินหน้ าไป การแปลก็จะไปเป็ นอย่างนุ่มนวล และ นักแปล/
คนขับ คือโอกาสที่จะระวังการหมุนของล้อ เส้นผ่านข้างบน คิอ นิสยั ที่ขดั แย้ง
และ สัญชาตญาณ
ผูแ้ ปลเข้าถึงบทความใหม่ งานใหม่ สถานการณ์ใหม่ ด้วนสัญชาตญาณ หรือ
การชี้แนะความเตรียมพร้อม ความรับรู้ถึงพรสวรรค์ของตัวพวกเขาและเธอใน
ภาษาของเขาเองและการแปลที่เพิ่มขึน้ เรื่อยๆ ด้วยประสบการณ์ นิสยั ที่ทาโดย
อัตโนมัติจนเกินควร ที่เป็ นไปตามสัญชาตญาณ
ประสบการณ์ เริ่มต้ นขึน้ ด้ วยความรู้ พนื ้ ฐานทั่วไปของโลก (บท
ที่ 5) ประสบการณ์ ท่ ตี ่ างกันในการพูดและแสดงออกของมนุษย์ (บทที่
6)
ประสบการณ์ กับอาชีพต่ างๆ (บทที่ 7) ประสบการณ์ กับความซับซ้ อน
ของเหล่ าภาษา (บทที่ 8) ประสบการณ์ กับระบบสังคม (บทที่ 9), และ
ประสบการณ์ ของความแตกต่ างระหว่ างวัฒนธรรม
ปทัสฐาน คุณค่ าและฐานคติ (บทที่10).
ความรู้ เหล่ านีห้ รื อประสบการณ์ กด็ ีจาเป็ รต้ องที่จะถูกค้ นหา ถูกสร้ าง
ขึน้ และถูกรวมให้ เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่ างกลมเกลียว โดยเฉพาะ
การเริ่มต้ นของงานนักแปลที่ซ่ งึ ไม่ ใช่ เพียงลาพังด้ วยวันเวลาที่ผ่านไป
ในแต่ ละปี ผลการทางานในโลกประสบการณ์ ของนักแปลจะขยายและ
ดาเนินไปโดยปราศจากความรู้ ท่ ตี ะหนักได้ ของพวกเขา
ในยุคของการติดต่ อสื่อสารด้ วยภาษาซึ่งมีย่ ใู นเวลานีห้ รื อด้ วย
สถานการณ์ นักแปลมีสัญชาตญาณหรื อจิตวิญญาณของความสามารถ
พวกเขาที่จะจัดการไม่ ว่าปั ญหาใดๆจะเกิดขึน้ ก็ตามและมีความสามารถที่
จะกะโดดข้ ามอุปสรรคต่ างๆไปยังแนวทางการแก้ ปญหาใหม่ ๆได้
ปั ญหาและความยากลาบากจะเริ่มกลับมาทีละน้ อยและกลายมาเป็ นแบบ
แผนในที่สุด
นี่ก็คืออุปนัย หรื อการสรุ ปจากการสังเกตสิ่งต่ างๆที่เกิดขึน้ ตราบใดที่นัก
แปลเริ่มที่จะสังเกตและรู้ จักเชื่อมโยง หรื อศึกษาเกี่ยวกับรู ปแบบและ
ความสม่าเสมอต่ างๆเหล่ านี ้ การอนุมานก็จะเริ่มด้ วยทฤษฏีของการแปล
นั่นเอง
ณ จุดที่ง่ายที่สุด การอุปมานเกี่ยวข้ องกับปั ญหาเล็กน้ อยไป
จนถึงปั ญหาที่ใหญ่ โต มีผลต่ อนักแปลหลากหลายคนและยังเป็ นรู ปแบบ
ที่น่าพอใจของทฤษฏีการแปลอีกด้ วย ในแต่ ละทฤษฏีการอนุมานของ
นักแปลเป็ นสิ่งที่ถกู สร้ างขึน้ ผ่ านความผิดผลาดอย่ างมากมายโดยรอบ
ของวัฏจักร นักแปลแต่ ละคนจะพัฒนาทฤษฏีท่ สี อดคล้ องกันของการ
แปลในที่สุดแม้ ว่าพวกเขาจะเชื่อมโยงมันได่ ไม่ ค่อยดีนัก เพราะว่ าชนิด
ของทฤษฏีท่ ดี ีนีเ้ ป็ นผลมาจากการอนุมานของคนถึงปั ญหาและการ
จาแนกปั ญหานั่นเอง
ณ ลาดับที่สู.ขึน้ ไป การทางานของแนวความคิดจะให้ ความสม่าเสมอ
เกี่ยวกับงานจัดการ ทัง้ หมด การพิมพ์ และ วัฒนธรรม ดังรู ปแบบภาษา
ที่แตกต่ างกันของการวิเคราะห์ เนือ้ หา(บทที่ 8) แนวทางของสังคม (บทที่
9) ระบบการวิเคราะห์ วัฒนธรรม (บทที่ 10) และนี่คือรู ปแบบที่เหมาะสม
ของการพัฒนาการแปล
การแปลที่เราทุกคนต้ องการที่จะพัฒนาอยู่ตลอดแม้ ว่ามันก็ไม่ ได้
ถูกทานัน้ มีอุปสรรคมากมายในการดาเนินการไม่ ว่าจะจากความจาที่ไม่ ดี
ไปจนถึงการไม่ สามารถแปลคาหรือวลีได้ แต่ อย่ างไรก็ตามเราก็สามารถ
ข้ ามพ้ นปั ญหานัน้ มาได้ ด้ วยการหันไปใช้ ทางอื่น หันไปใช้ คาอื่นที่มี
ความหมายใกล้ เคียงกัน และนี่ก็อาจเป็ นวิธีท่ เี ราเรี ยกว่ าการเดินทวนเข็ม
นาฬิกาย้ อนไปตามวัฏจักรนัน้ เอง การล้ มเหลวอย่ างกระทันหนของ
แนวความคิด โดยอาจจะเกิดจากการที่มีบางสิ่งเข้ ามาแทนที่ความคิดเดิม
เป็ นเหตุให้ คุณไม่ สามารถแก้ ไขด้ วยความรู้ ท่ มี ีอยู่ได้ (บทที่ 11) ในตัวอย่ าง
มากมายที่ผ่านมาการดาเนินการของแนวคิดจะถูกหยุดอย่ างอัตโิ นมัตดิ ้ วย
ความสับสน และในกรณีอ่ นื ๆ อันได้ แก่ การที่คุณทางานด้ วยความ
ยากลาบากที่เพิ่มขึน้ ทีละนิดเกี่ยวกับทิศทางที่การแปลนั น้ พาไป จนในที่สุด
คุณก็ไม่ สามารถที่จะทนความตึงเครียดนัน้ ต่ อไปได้ อีก
ทัง้ หมดทัง้ มวลของหนังสือเล่ มนีถ้ ูกกาหนดให้ เป็ นไปตามวัฎจักรการ
หมุนตามเข็มาฬิกา ในบทที่ 5-10 เริ่มต้ นด้ วยการแปลปละการก้ าวผ่ านรู ปแบบ
ที่แตกต่ างกันของปประสบการณ์ ไปจนถึงแนวความคิดที่มีคุณค่ า จากนัน้ ก็ทวน
เข็มในบทที่ 11 การค้ นพบขัน้ ตอนที่วิเคราะห์ อย่ างตัง้ ใจที่นักแปลใช้ เมื่อการ
แปลตมหลักแนวคิดนัน้ ไม่ ประสบผลสาเร็จ ในแต่ ละปั ญหาจะถูกทาให้
เกี่ยวข้ องกันระหว่ างประสบการณืและอุปนิสัยเป็ นต้ น
มาช่ วยกันอภิปรายกันเถอะ
ทฤษฏีของการแปลโดยมากแล้ วมักจะถูกมองว่ านักแปลนัน้ ทางานอย่ างตัง้ ใจ
ใส่ ใจและกะตือรื อร้ น โดยคาดเดาเกี่ยวกับธรรมชาติและที่มาของแนวความคิด
ที่ต่างกัน
ทฤษฏีในคติเดิมๆของตัวนักทฤษฏีเองเป็ นแนวทางปฏิบัตทิ ่ ตี ะหนักได้ จริงหรื อ
แล้ ว บทนีไ้ ด้ นาเสอนแนวคิดที่แท้ จริงเกี่ยวกับลักษณะไม่ ดีของนักแปลจริงหรื อ
บทที่ 4 หน้ า 93-96 โดย นายอนิรธุ ต์ มีชยั เลขที่ 51501030065-2 อ.ส 3-1
A-E 3-1
Mr. Anirut Meechai No. 51501030065-2
Mr. Sorasit Pankum No. 51501030063-7
Ms. Soawaluk Pongsakkajorn No.51501030060-3
Ms. Nusara Piew-on No.51501030046-2