Transcript PowerPoint
บทที่ 2
ความรู้ เกี่ยวกับอุปสงค์ และอุปทาน
อุปสงค์ และอุปทาน
(Demand VS Supply)
Demand VS Supply (อุปสงค์และอุปทาน)
Demand VS Supply (อุปสงค์และอุปทาน)
Demand VS Supply (อุปสงค์และอุปทาน)
อุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) คืออะไร ?
เอเอฟพี-ราคาน้ ามันขยับขึ้ นเหนือระดับ 79 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล
อีกครั้งเมื่อวันอังคาร(27) หลังข้ อมูลชี้อุปสงค์เบนซินในสหรัฐฯ
กาลังสูงขึ้น
รอยเตอร์-อุปสงค์ทีเ่ พิม
่ ขึ้ นทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ มี
แนวโน้ มผลักดันราคาข้าวไทยและเวียดนามพุ่งขึ้ นมากในปี นี้
หลังราคาทะลุ 500 ดอลลาร์ต่อตันเป็ นครั้งแรก
องค์การอาหารและเกษตรแห่สหประชาชาติ-ราคาเฉลีย่ อาหารพุ่ง
สูงขึ้ นเป็ นประวัติการณ์ (Food Inflation) เพิ่มขึ้นถึงร้ อยละ 57
เนื่องจากความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
อุปสงค์ (Demand)
ความหมายของอุปสงค์ (Demand)
ปริมาณของสินค้ าและบริการที่ผ้ ูซ้ ือต้ องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆของสินค้ า
และบริการนั้น หรือ ณ ระดับรายได้ ต่างๆของผู้ซ้ ือ หรือ ณ ระดับราคาต่างๆของ
สินค้ าชนิดอื่นๆที่เกี่ยวข้ อง
Slope (-)
ราคาสินค้ า
ราคาสินค้ า
10,000
10,000
Slope (+)
6,000
6,000
0
1
2
รูปที่ 1
จานวนสินค้ า
0
1
2
รูปที่ 2
จานวนสินค้ า
เส้นอุปสงค์ (Demand Curve)
เส้ นอุปสงค์ (ต่อราคา) ต้ องมีความชันเป็ น “ลบ” เสมอ
เส้ นอุปสงค์
Slope (-)
ราคาสินค้ า
10,000
6,000
Demand
Curve
0
1
2
จานวนสินค้ า
เงือ่ นไขของอุ ปสงค์
อยากได้รถคันละ 2 ล้าน
แต่มีเงินอยู่ 5 แสน …
เป็ นอุปสงค์หรือไม่?
มีเงินอยู่ 5 ล้าน แต่ไม่อยากได้รถ
… เป็ นอุปสงค์หรือไม่?
เงือ่ นไขของอุ ปสงค์ (ต่อ)
ความต้องการ (Want) จะกลายเป็ นอุปสงค์ (Demand) ได้ก็ต่อเมือ่
1. มีความสามารถที่จะซื้ อ (Ability to Pay หรือ Purchasing
Power)
2. มีความเต็มใจที่จะซื้ อ (Willingness to Pay)
ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) (ต่อ)
ราคาของสินค้า* (Price)
ระดับรายได้ของผูซ้ ื้ อ (Income)
ราคาสินค้าอื่นๆทีเ่ กีย่ วข้อง (Relative Prices)
รสนิยมของผูซ้ ื้ อ (Tastes)
ขนาดของประชากร (Size of Population)
การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต (Price Expectation)
ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) (ต่อ)
ราคาของสินค้า (Price)
น้ ำมันลิตรละ 18 บำท/ลิตร
ปริ มำณน้ ำมันที่ขำยจำกปั๊ มในกรุ งเทพฯเฉลี่ย
ต่อวันประมำณ 120,000 ลิตร
เมื่อน้ ำมันลิตรละ 37 บำท/ลิตร
ปริ มำณน้ ำมันที่ขำยจำกปั๊ มในกรุ งเทพฯเฉลี่ย
ต่อวันประมำณ 75,000 ลิตร
ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) (ต่อ)
ระดับรายได้ของผูซ้ ื้ อ (Income)
เงินเดือน 10,000 บาท
เงินเดือน 500,000 บาท
ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) (ต่อ)
ราคาสินค้าอื่นๆทีเ่ กีย่ วข้อง (Relative Prices)
ก๊าซ LPG
9 บาท/ลิตร
ปี 2535 นา้ มันราคา 10 บาท/ลิตร มีรถส่วนตัวใน กทม. ติด LPG เพียง 1% ของรถทั้งหมด
ปี 2552 นา้ มันราคา 38 บาท/ลิตร มีรถส่วนตัวใน กทม. ติด LPG 40 % ของรถทั้งหมด
ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) (ต่อ)
รสนิยมของผูซ้ ื้ อ (Tastes)
ปี 2540 ร้ านอาหารเกาหลีมยี อดขาย 2 แสนบาท/เดือน
ปี 2552 ร้ านอาหารเกาหลีมียอดขาย 9 แสนบาท/เดือน
ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) (ต่อ)
ขนาดของประชากร (Size of Population)
ปี 2540 มีสดั ส่วนเด็กที่มอี ายุต่ากว่า 10 ขวบ อยู่ท่ี 5% ของจานวนคนทั้งประเทศ
ปี 2550 มีสดั ส่วนเด็กที่มอี ายุต่ากว่า 10 ขวบ อยู่ท่ี 30% ของจานวนคนทั้งประเทศ
ถามว่าปี ใดควรจะมียอดขายนมผงสาหรับเด็กมากกว่ากัน?
ปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) (ต่อ)
การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต (Price Expectation)
จะเกิดอะไรขึ้ นต่อยอดขายน้ ามันในวันที่ 20 มีนาคม ถ้าปั้ มน้ ามันทัวประเท
่
ประกา ขึ้ นราคาน้ ามัน 1 เท่าตัวในวันที่ 21 มีนาคม (ยอดขายเพิม่ หรือลด)
ชนิดของอุปสงค์
มี 3 ชนิดหลัก คือ
1.
2.
3.
อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand)
อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand)
อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น (Cross Demand)
อุ ปสงค์ต่อราคา (Price Demand)
กฎของอุปสงค์ (Law of Demand)
ปริมาณสินค้ าและบริการที่ผ้ ซู ้ อื ต้ องการซื้อจะแปรผกผันกับราคาของสินค้ าและบริการ
นั้นๆเสมอ (สมมติให้ ปัจจัยอื่นๆที่มผี ลกับอุปสงค์คงที่)
Slope (-)
ราคาทีวีตอ่ แครื่ อง
10,000
6,000
Demand Curve
0
1
2
จานวนทีวีที่ซื ้อ
อุ ปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
Assumption: อุปสงค์เป็ นเส้ นตรง
ราคา: P
Slope (m)
a
Q = fn(P)
6,000
Demand Curve
0
อะไรคือสมการของอุปสงค์ เส้ นนี ้ ?
b
จานวน: Q
อุ ปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
สาเหตุหลักที่ทาให้อุปสงค์กบั ระดับราคามีความสัมพันธ์เป็ นลบ (ผกผัน)
1. ผลทางรายได้ (Income Effect) คือ
ปริมาณสินค้ าและบริการที่ผ้ ซู ้ อื ต้ องการซื้อเปลี่ยน
เนื่องจากอานาจการซื้อเปลี่ยน
2. ผลทางการทดแทน (Substitution Effect) คือ
ปริมาณสินค้ าและบริการที่ผ้ ซู ้ อื ต้ องการซื้อเปลี่ยน
เนื่องจากการเปรียบเทียบระดับราคาของ
สินค้ าและบริการชนิดนี้กบั ชนิดอื่นที่ทดแทนกันได้
ถ้าไข่ไก่แพงขึน้ จากฟองละ 3 บาท เป็ นฟองละ 10 บาท แต่ไข่เป็ ดราคา
ฟองละ 3 บาทเท่าเดิม จะเกิดอะไรขึน้ กับอุปสงค์ของไข่ไก่
1. ผลทางรายได้ทาให้ อปุ สงค์ไข่ไก่ลดลง
ระดับราคาสินค้ าแพงขึ้น เราจนลง ดังนั้นความสามารถที่เราจะซื้อไข่ไก่ได้ จะลดลง
2. ผลทางการทดแทนทาให้ อปุ สงค์ไข่ไก่ลดลง
เนื่องจากไข่เป็ ดราคาเท่าเดิม และไข่เป็ ดเป็ นสินค้ าทดแทนไข่ไก่ ดังนั้นเราจะกินไข่
ไก่น้อยลง หันไปกินไข่เป็ ดแทน
การลดลงของอุปสงค์ไข่ไก่ = ผลทางรายได้ + ผลทางการทดแทน
อุ ปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
อุปสงค์ของบุคคลและอุปสงค์ของตลาด
อุปสงค์ของตลาดหาได้จากการนาอุปสงค์ส่วนบุคคลในการซื้ อสินค้าชนิด
เดียวกัน ณ ระดับราคาเดียวกันมารวมกัน
P
10
P
Mr. A
Mr. B
10
10
D1
0
Market Demand
q1
Q0
D2
q2
Dm
Q 0
Q=q1+q2
อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand)
คือ ปริมาณสินค้าและบริการทีผ
่ ูซ้ ื้ อต้องการซื้ อ ณ ระดับรายได้
ต่างๆของผูซ้ ื้ อ
ระดับรายได้
ระดับรายได้
?
?
รายได้ กบั อุปสงค์มี
ความสัมพันธ์เป็ นลบ
รายได้ กบั อุปสงค์มี
ความสัมพันธ์เป็ นบวก
0
รูปที่ 1
ปริมาณสินค้ า
0
รูปที่ 2
ปริมาณสินค้ า
อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) (ต่อ)
อุปสงค์ต่อรายได้สามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี ขึ้ นอยู่กบั ชนิดของสินค้าและ
บริการ
สินค้าและบริการทัวไป
่ (Normal Goods) คือ สินค้ าและบริการที่เรา
ต้ องการมากขึ้น เมื่อเรามีเงินมากขึ้น
2. สินค้าและบริการด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) คือ สินค้ าและบริการ
ที่เราต้ องการน้ อยลง เมื่อเรามีเงินมากขึ้น
1.
Normal Goods and Inferior Goods
รถมินิบัส 7 บาท/เทีย่ ว
รถ ปอ. 40 บาท/เทีย่ ว
Normal Goods and Inferior Goods
Fake Brands
Brand Name
Normal Goods and Inferior Goods
ตั๋วเครื่องบินชั้นประหยัด
(35000 บาท/เทีย่ ว)
ตั๋วเครื่องบินชั้น first class
300,000 บาท/เทีย่ ว
อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) (ต่อ)
อุปสงค์ต่อรายได้สามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี ขึ้ นอยู่กบั ชนิดของ
สินค้าและบริการ
ระดับรายได้
ระดับรายได้
สินค้ าด้ อยคุณภาพ
(Inferior Goods)
สินค้ าปกติ
(Normal Goods)
รายได้ กบั อุปสงค์มี
ความสัมพันธ์เป็ นลบ
รายได้ กบั อุปสงค์มี
ความสัมพันธ์เป็ นบวก
0
รูปที่ 1
ปริมาณสินค้ า
0
รูปที่ 2
ปริมาณสินค้ า
อุ ปสงค์ต่อราคาสินค้าอืน่ (Cross Demand)
อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น หรืออุปสงค์ไขว้ คือ ปริมาณสินค้าและ
บริการทีผ่ ูซ้ ื้ อต้องการซื้ อ ณ ระดับราคาต่างๆของสินค้าและบริการ
ประเภทอื่นๆทีเ่ กีย่ วข้อง
อุ ปสงค์ต่อราคาสินค้าอืน่ (Cross Demand) (ต่อ)
ประเภท (ความสัมพันธ์) ของสินค้าและบริการสามารถแบ่งได้
เป็ น 2 กรณี
1. ใช้ควบคู่กนั (Complement Goods)
2. ใช้ทดแทนกัน (Substitution Goods)
ไข่ ไก่ ไข่ เป็ ด
ไข่ เจียว ซอสพริก
ปาท๋ องโก๋ นมข้ นหวาน
อุ ปสงค์ต่อราคาสินค้าอืน่ (Cross Demand) (ต่อ)
ความสัมพันธ์ของสินค้าและบริการ
1. น้ ามันเบ็นซิ น กับ แก็ซ LPG ?
2. เทปผีซีดีเถือ่ น กับ เทปและซี ดีลิขสิทธิ์?
3. รถยนต์ส่วนตัว กับ น้ ามัน?
อุ ปสงค์ต่อราคาสินค้าอืน่ (Cross Demand) (ต่อ)
อุปสงค์ของแก็ซ LPG ต่อราคานา้ มัน?
2. อุปสงค์ของเทปผีซีดเี ถื่อนต่อราคาเทปและซีดลี ิขสิทธิ์?
3. อุปสงค์ของรถยนต์ส่วนตัวต่อราคานา้ มัน?
1.
?
ราคาสินค้ า A
ราคาสินค้ า A มี
ความสัมพันธ์เป็ นลบ
ปริมาณสินค้ า B
ราคาสินค้ า A มี
ความสัมพันธ์เป็ นบวก
ปริมาณสินค้ า B
0
รูปที่ 1
ปริมาณสินค้ า B
?
ระดับสินค้ า A
0
รูปที่ 2
ปริมาณสินค้ า B
อุ ปสงค์ต่อราคาสินค้าอืน่ (Cross Demand) (ต่อ)
สรุป
อุปสงค์ไขว้ ของสินค้ าใช้ ทดแทนกันจะมีความสัมพันธ์เป็ น “บวก”
2. อุปสงค์ไขว้ ของสินค้ าใช้ ควบคู่กน
ั จะมีความสัมพันธ์เป็ น “ลบ”
1.
ราคาสินค้ า A
ราคาสินค้ า A
สินค้ า 2 ชนิด
ใช้ ควบคู่กนั
สินค้ า 2 ชนิด
ใช้ ทดแทนกัน
0
ปริมาณสินค้ า B
0
ปริมาณสินค้ า B
การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ (Move along the
Curve) และ การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ (Shift)
ปริมาณอุปสงค์เปลี่ยนตามเส้ นอุปสงค์ เมื่อปัจจัยราคาเปลี่ยน แต่ปัจจัยอื่นๆคงที่
ระดับอุปสงค์เปลี่ยน เมื่อปัจจัยราคาคงที่ แต่ปัจจัยอื่นๆเปลี่ยน
ราคา
ราคา
A
10
10
B
5
0
100
200
A B
D
0
ปริมาณ
1. ปริมาณอุปสงค์เปลีย่ น
Move along the Curve
D1
20
50
2. ระดับอุปสงค์เปลีย่ น
Shift the Curve
D2
ปริมาณ
อุปทาน (Supply)
อุปทาน (Supply)
คือ ปริมาณของสินค้าและบริการที่ผูข้ ายต้องการขาย ณ ระดับ
ราคาต่างๆของสินค้าและบริการนั้น
ปัจจัยที่กาหนดอุปทาน (Supply Determinants)
ประกอบด้ วย 7 ปัจจัยหลัก คือ
1. ระดับราคาสินค้ านั้น
2. เทคโนโลยีในการผลิต
3. ราคาของปัจจัยการผลิต (ต้ นทุนการผลิต)
4. ระดับราคาของสินค้ าอื่นที่เกี่ยวข้ อง
5. จานวนผู้ขายในตลาด
6. สภาวะดินฟ้ าอากาศ
7. การคาดคะเนเหตุการณ์ต่างๆในอนาคต
กฎของอุ ปทาน (Law of Supply)
Assumption: ให้ปัจจัยอื่นๆคงที่ท้ งั หมด ยกเว้นระดับราคาของสินค้าที่
พิจารณา
กฎของอุปทาน คือ ปริมาณสินค้าและบริการทีผ่ ูข้ ายต้องการขาย
จะแปรผันตามราคาของสินค้าและบริการนั้นๆเสมอ
กฎของอุปทาน (Law of Supply)
เงินที่เสนอซื้อ
ปริมาณสิ นค้ าที่เสนอขาย (Supply)
ผู้ขายนาสิ นค้ าออกขายน้ อย ถ้ าเงินเสนอซื้อน้ อย
ผู้ขายนาสิ นค้ าออกขายมาก ถ้ าเงินเสนอซื้อมาก
เส้นอุปทาน (Supply Curve)
เส้ นอุปทานต้ องมีความชันเป็ น “บวก” เสมอ
ราคาสินค้ า
เส้ นอุปทาน
Slope (+)
6,000
Supply Curve
0
จานวนสินค้ า
เส้นอุ ปทาน (ต่อ)
Assumption: อุปทานเป็ นเส้ นตรง
Slope (m)
ราคา: P
Q = fn(P)
Supply Curve
a
0
อะไรคือสมการของอุปทานเส้ นนี ้ ?
b
จานวน: Q
การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทาน (Move along the
Curve) และ การเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน (Shift)
ปริมาณอุปทานเปลี่ยนตามเส้ นอุปทาน เมื่อปัจจัยราคาเปลี่ยน แต่ปัจจัยอื่นๆคงที่
ระดับอุปทานเปลี่ยน เมื่อปัจจัยราคาคงที่ แต่ปัจจัยอื่นๆเปลี่ยน
ราคา
B
20
10
S
ราคา ราคาปัจจัยการผลิตสูงขึ้น
สภาพภูมิอากาศแปรปรวน
A
E1
S1
100
1. ปริมาณอุปทานเปลีย่ น
Move along the Curve
200 ปริมาณ
S
E
เช่น ความก้ าวหน้ าทาง
เทคโนโลยี
ราคาปัจจัยการผลิตลดลง
E2
S2
q1
q
q2
2. ระดับอุปทานเปลีย่ น
Shift the Curve
ปริมาณ
อุปทานของบุคคลและอุปทานของตลาด
อุปทานของตลาดหาได้จากการนาอุปทานส่วนบุคคลในการขายสินค้าชนิด
เดียวกัน ณ ระดับราคาเดียวกันมารวมกัน
P
P
Mr. A
10
0
q1
S1
Mr. B
Market Supply
S2
10
10
Q0
Q 0
q2
Sm
Q=q1+q2
การกาหนดราคาและดุลยภาพ
ของตลาด
การกาหนดราคาและดุลยภาพของตลาด
P (ระดับราคาสินค้ าและบริการ)
S
D
0
Q (ปริมาณสินค้ าและบริการ)
การกาหนดราคาและดุลยภาพของตลาด
ราคาสินค้าจะถูกกาหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดสินค้านั้น
(ผ่านทางกลไกราคา)
ราคาดุลยภาพ (Price Equilibrium) และปริมาณดุลยภาพ (Quantity
Equilibrium) จะเกิดพร้อมกันตรงระดับที่ปริมาณซื้ อเท่ากับปริมาณขาย
พอดี เราเรียกสภาวะดังกล่าวว่า “ดุลยภาพของตลาด (Market
Equilibrium)”
อาจพูดได้อีกอย่างว่า “ราคาดุลยภาพ คือ ราคาที่ทาให้ปริมาณสินค้าฯที่ผู ้
ซื้ อต้องการซื้ อเท่ากับปริมาณสินค้าฯที่ผูข้ ายต้องการขาย (D=S)”
การกาหนดราคาและดุลยภาพของตลาด
ดังนั้น ดุลยภาพตลาดจะเกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์ตลาดเท่ากับอุปทานตลาด (D=S)
ข่าวอุ ปสงค์-อุ ปทาน
นายชาคิบ เคห์ลิล รัฐมนตรีกระทรวงนา้ มันของแอลจีเรีย ซึ่งเป็ น
ประธานกลุ่มโอเปก กล่าวว่า โอเปกควรจะออกคาสั่งให้ ลดการผลิต
นา้ มันลงเป็ นจานวนมาก ระหว่างการประชุมฉุกเฉินของโอเปก เพื่อ
ทาให้ เกิดดุลระหว่างดีมานกับซัพพลาย
อัตราการใช้ พลังงานจากภาคอุตสาหกรรมของจีนยังคงเติบโตขึ้น
อย่างรวดเร็ว แต่ปัญหาความไม่สมดุลกันระหว่างอุปสงค์และ
อุปทานด้ านพลังงานกาลังได้ รับการแก้ ไขควบคู่ไปกับการกาจัด
อุปสรรคในระบบการลงทุนด้ านพลังงาน
สหรัฐ ชี้นา้ มันแพงสะท้ อนอุปสงค์,อุปทาน ไม่เกี่ยวนักเก็งกาไร
ข่าวอุ ปสงค์-อุ ปทาน (ต่อ)
องค์การอาหารและเกษตรแห่ สหประชาชาติ-ราคาเฉลี่ยอาหารพุ่งสูงขึ้นเป็ น
ประวัติการณ์ (Food Inflation) เพิ่มขึ้นถึงร้ อยละ 57 เนื่องจากความไม่สมดุล
ระหว่างผลผลิตและความต้ องการ เช่น ปัญหาโลกร้ อน พื้นที่สาหรับทาการเกษตร
เปลี่ยนเป็ นพื้นที่สร้ างที่อยู่อาศัยและโรงงานอุตสาหกรรม พืชพลังงานแย่งพื้นที่ผลิต
พืชอาหาร
สยามรัฐ-ปัญหาราคาข้ าวตกต่าเกิดจากผลผลิตในช่วงฤดูเก็บเกี่ยวจะออกสู่ตลาด
มากเกินความต้ องการ เกษตรกรชาวนาส่วนมากล้ วนต้ องขายผลผลิตสู่ตลาดเลย
หลังเก็บเกี่ยว เนื่องจากมีภาระในการชาระหนี้ ดังนั้นอุปทานข้ าวส่วนเกินที่ทาให้
ราคาข้ าวตกต่า
สยามธุรกิจ-ราคาขายทันทีในปัจจุบน
ั ของสังกะสีได้ ลดลงอย่างต่อเนื่องเหลือเพียง
2,362 เหรียญต่อตัน ต่ากว่าประมาณการแล้ ว 12% สะท้ อนให้ เห็นทิศทางขาลง
ของสังกะสี จึงมองว่าภาวะอุปทานส่วนเกินมีแนวโน้ มจะเกิดขึ้นรุนแรงกว่าที่คาดไว้
ดุลยภาพตลาด (Market Equilibrium)
P
ราคาดุลยภาพ
Pe
0
S
E
ดุลยภาพตลาด
D
Qe
ปริมาณดุลยภาพ
Q
การปรับตัวของระดับราคา (Price Mechanism)
เมื่ออุปสงค์กบั อุปทานตลาดไม่เท่ากัน ระดับราคาจะทาการปรับตัวโดยอัตโนมัติ
เพื่อกลับเข้ าสู่ดุลยภาพ (สมมติให้ ปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่ออุปสงค์และอุปทานคงที่)
เราเรียกขบวนการปรับตัวของระดับราคาโดยอัตโนมัติน้ ีว่า “กลไกราคาหรือ
กลไกตลาด (Price Mechanism or Market Mechanism)” หรือที่
อดัม สมิธ เรียกว่า “มือที่มองไม่เห็น (Invisible Hand)”
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
ตลาดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพมี 2 รูปแบบหลัก
เกิดอุปทานส่วนเกิน (Excess Supply)
2. เกิดอุปสงค์ส่วนเกิน (Excess Demand)
1.
P
P1
Pe
P2
0
A
C
E
B
S
Excess Supply
F Excess Demand
D
Q
Qc Qa Qe Qb Qf
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
เมื่อตลาดไม่อยู่ในดุลยภาพ การปรับตัวของระดับราคาเข้ าสู่จุดดุลยภาพจะขึ้นอยู่กบั
ระดับของอุปสงค์ตลาด (Demand) และระดับของอุปทานตลาด (Supply)
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
Demand>Supply
Demand<Supply
สินค้ าขาดตลาด
รำคำสิ นค้ำถูกเกินไป ดังนั้นรำคำจะ
ปรับตัวสู งขึ้นจนกระทัง่ Demand
ลดลงมำเท่ำกับ Supply พอดี
สินค้ าล้ นตลาด
รำคำสิ นค้ำแพงเกินไป ดังนั้นรำคำจะ
ปรับตัวถูกลงจนกระทัง่ Demand
เพิ่มขึ้นมำเท่ำกับ Supply พอดี
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
Demand VS Supply
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
Demand VS Supply
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
Demand VS Supply
VS
อุปสงค์
(Demand)
อุปทาน
(Supply)
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
Demand>Supply
Demand<Supply
สินค้ าขาดตลาด
รำคำสิ นค้ำถูกเกินไป ดังนั้นรำคำจะ
ปรับตัวสู งขึ้นจนกระทัง่ Demand
ลดลงมำเท่ำกับ Supply พอดี
สินค้ าล้ นตลาด
รำคำสิ นค้ำแพงเกินไป ดังนั้นรำคำจะ
ปรับตัวถูกลงจนกระทัง่ Demand
เพิ่มขึ้นมำเท่ำกับ Supply พอดี
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
เกิดอุปทานส่วนเกิน (Excess Supply)
ราคา(P)
ดุลยภาพของตลาด
(Market Equilibrium)
อุปทานส่ วนเกิน
(Excess Supply)
S
B
250
Move ขึน้
200
A
Ex.ผู้ขายปั่ น
ราคาสินค้ า
E
D
0
800
1,000
1,200
ปริ มาณ (Q)
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
กลไกตลาดทางาน โดยระดับราคาจะต่าลง ทาให้ ปริมาณความต้ องการซื้อมากขึ้น
รำคำ(P)
ดุลยภาพของตลาด
(Market Equilibrium)
อุปทานส่ วนเกิน
(Excess Supply)
250
B
200
Move ลง
S
A
E
D
0
800
1,000 1,200
ปริ มำณ (Q)
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
เกิดอุปสงค์ส่วนเกิน (Excess Demand)
ราคา(P)
ดุลยภาพของตลาด
(Market Equilibrium)
S
E
200
150
0
Move ลง
C
อุปสงค์ ส่วนเกิน
(Excess Demand)
F
D
800
1,000
1,200
ปริมาณ (Q)
การปรับตัวของระดับราคา (ต่อ)
กลไกตลาดทางาน โดยระดับราคาจะสูงขึ้น ทาให้ ปริมาณความต้ องการซื้อน้ อยลง
รำคำ(P)
ดุลยภาพของตลาด
(Market Equilibrium)
S
E
200
Move ขึน้
C
150
อุปสงค์ ส่วนเกิน
(Excess Demand)
F
D
0
800
1,000
1,200
ปริ มำณ (Q)
ข่าวอุ ปสงค์-อุ ปทาน
นายชาคิบ เคห์ลิล รัฐมนตรีกระทรวงนา้ มันของแอลจีเรีย ซึ่งเป็ น
ประธานกลุ่มโอเปก กล่าวว่า โอเปกควรจะออกคาสั่งให้ ลดการผลิต
นา้ มันลงเป็ นจานวนมาก ระหว่างการประชุมฉุกเฉินของโอเปก เพื่อ
ทาให้ เกิดดุลระหว่างดีมานกับซัพพลาย
อัตราการใช้ พลังงานจากภาคอุตสาหกรรมของจีนยังคงเติบโตขึ้น
อย่างรวดเร็ว แต่ปัญหาความไม่สมดุลกันระหว่างอุปสงค์และ
อุปทานด้ านพลังงานกาลังได้ รับการแก้ ไขควบคู่ไปกับการจากัด
อุปสรรคในระบบการลงทุนด้ านพลังงาน
สหรัฐ ชี้นา้ มันแพงสะท้ อนอุปสงค์,อุปทาน ไม่เกี่ยวนักเก็งกาไร
ข่าวอุ ปสงค์-อุ ปทาน (ต่อ)
องค์การอาหารและเกษตรแห่ สหประชาชาติ-ราคาเฉลี่ยอาหารพุ่งสูงขึ้นเป็ น
ประวัติการณ์ (Food Inflation) เพิ่มขึ้นถึงร้ อยละ 57 เนื่องจากความไม่สมดุล
ระหว่างผลผลิตและความต้ องการ เช่น ปัญหาโลกร้ อน พื้นที่สาหรับทาการเกษตร
เปลี่ยนเป็ นพื้นที่สร้ างที่อยู่อาศัยและโรงงานอุตสาหกรรม พืชพลังงานแย่งพื้นที่ผลิต
พืชอาหาร
สยามรัฐ-ปัญหาราคาข้ าวตกต่าเกิดจากผลผลิตในช่วงฤดูเก็บเกี่ยวจะออกสู่ตลาด
มากเกินความต้ องการ เกษตรกรชาวนาส่วนมากล้ วนต้ องขายผลผลิตสู่ตลาดเลย
หลังเก็บเกี่ยว เนื่องจากมีภาระในการชาระหนี้ ดังนั้นอุปทานข้ าวส่วนเกินที่ทาให้
ราคาข้ าวตกต่า
สยามธุรกิจ-ราคาขายทันทีในปัจจุบน
ั ของสังกะสีได้ ลดลงอย่างต่อเนื่องเหลือเพียง
2,362 เหรียญต่อตัน ต่ากว่าประมาณการแล้ ว 12% สะท้ อนให้ เห็นทิศทางขาลง
ของสังกะสี จึงมองว่าภาวะอุปทานส่วนเกินมีแนวโน้ มจะเกิดขึ้นรุนแรงกว่าที่คาดไว้
ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนแปลงเนื่องจากเส้นอุปสงค์และ/หรือ
เส้นอุปทานเปลี่ยนไปทั้งเส้น (Shift)
แบ่งได้ 3 กรณี
1. เส้นอุปสงค์เปลีย่ นขณะทีเ่ ส้นอุปทานยังคงเดิม
2. เส้นอุปทานเปลีย่ นขณะทีเ่ ส้นเส้นอุปสงค์ยงั คงเดิม
3. เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานเปลีย่ นแปลงทั้งคู่
ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนแปลงเนื่องจากเส้นอุปสงค์และ/หรือ
เส้นอุปทานเปลี่ยนไปทั้งเส้น (Shift) (ต่อ)
1. เส้นอุปสงค์เปลีย่ นขณะทีเ่ ส้นอุปทานยังคงเดิม
เกิดเนื่องจากปัจจัยกาหนดอุปสงค์ท่ไี ม่ใช่ราคาเปลี่ยน เช่น ระดับรายได้ ของผู้ซ้ อื
เปลี่ยน ระดับราคาของสินค้ าและบริการชนิดอื่นๆที่เกี่ยวข้ องเปลี่ยน การคาดคะเน
เหตุการณ์ต่างๆในอนาคต
ราคา(P)
Shift ขึน้
ดุลยภาพใหม่ ของตลาด
(Market Equilibrium)
S
260
200
E
E/
อุปสงค์ ส่วนเกิน
(Excess Demand)
0
ดุลยภาพเดิมของตลาด
(Market Equilibrium)
Move ขึน้
1,000 1,400 1,600
D
D/
ปริมาณ (Q)
ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนแปลงเนื่องจากเส้นอุปสงค์และ/หรือ
เส้นอุปทานเปลี่ยนไปทั้งเส้น (Shift) (ต่อ)
2. เส้นอุปทานเปลีย่ นขณะทีเ่ ส้นอุปสงค์ยงั คงเดิม
เกิดเนื่องจากปัจจัยกาหนดอุปทานที่ไม่ใช่ราคาเปลี่ยน เช่น เทคโนโลยีในการผลิต
เปลี่ยน ราคาของปัจจัยการผลิต (ต้ นทุนการผลิต) เปลี่ยน สภาวะดินฟ้ าอากาศ
ราคา(P)
ดุลยภาพใหม่ ของตลาด
(Market Equilibrium)
Shift ขึน้
S/
240
200
Move ขึน้
E/
S
ดุลยภาพเดิมของตลาด
(Market Equilibrium)
E
อุปสงค์ ส่วนเกิน
(Excess Demand)
0
D
600 800 1,000
ปริมาณ (Q)
ดุลยภาพตลาดเปลี่ยนแปลงเนื่องจากเส้นอุปสงค์และ/หรือ
เส้นอุปทานเปลี่ยนไปทั้งเส้น (Shift) (ต่อ)
3. เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานเปลีย่ นแปลงทั้งคู่
เราไม่สามารถที่จะคาดการณ์ผลที่จะเกิดขึ้นได้ อย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม เราสามารถ
แบ่งการเปลี่ยนแปลงออกเป็ น 4 ลักษณะ
ราคา(P)
ดุลยภาพใหม่ ของตลาด
(Market Equilibrium)
Shift ลง
S/
E/
250
200
E
S
ดุลยภาพเดิมของตลาด
(Market Equilibrium)
Move ขึน้
Shift ขึน้
อุปสงค์ ส่วนเกิน
(Excess Demand)
0
600 1,000 1,500
D
D/
ปริมาณ (Q)
แบบฝึ กหัด
ธปท.-อุปสงค์ของตลาดอสังหาริมทรัพย์หดตัวต่อเนื่องตามการชะลอตัวของภาวะ
เศรษฐกิจ และความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่อยู่ในระดับต่า...อะไรคือปัจจัยที่ทาให้ อปุ
สงค์หดตัว?
รัฐบาลญี่ปุ่นปรับเพิ่มตัวเลขอุปทานไตรมาสแรกปี น้ ี จาก 2.4% เป็ น 3.3% เพราะ
หากจีดพี ีท่แี ท้ จริงลา้ หน้ าจีดพี ีท่อี าจเป็ นไปได้ ก็หมายความว่าความต้ องการจะ
เหนือกว่าความสามารถในการผลิต สถานการณ์เช่นนี้จะผลักดันราคาสูงขึ้น
สานักข่าวซินหัว-ในปี 2551 ราคาเหล็กทีด
่ งิ่ ลงส่งผลให้ โรงถลุงเหล็กมีตวั เลข
ขาดทุนในแต่ละเดือน เนื่องจากกาลังการผลิตทีพ่ ุ่งแซงหน้าอุปสงค์อย่างมหาศาล
โดยการลงทุนในปี 2551 เพิ่มขึ้น 23.8% ต่อปี
แบบฝึ กหัด (ต่อ)
องค์การอาหารและเกษตรแห่สหประชาชาติ-ราคาเฉลีย่ อาหารพุ่งสูงขึ้ นเป็ น
ประวัติการณ์ (Food Inflation) เพิ่มขึ้นถึงร้ อยละ 57 เนื่องจากความไม่
สมดุลระหว่างผลผลิตและความต้องการ เช่น ปัญหาโลกร้ อน พื้นที่สาหรับ
ทาการเกษตรเปลี่ยนเป็ นพื้นที่สร้ างที่อยู่อาศัยและโรงงานอุตสาหกรรม พืช
พลังงานแย่งพื้นที่ผลิตพืชอาหาร
การเปิ ดเสรีสรุ าเมื่อปี 2542 ทาให้ ราคาสุราตา่ ลง
เอเอฟพี-ราคาน้ ามันขยับขึ้ นเหนือระดับ 79 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลอีกครั้งเมื่อ
วันอังคาร(27) หลังข้ อมูลชี้อุปสงค์เบนซินในสหรัฐฯกาลังสูงขึ้น
รอยเตอร์-อุปสงค์ที่เพิม
่ ขึ้ นทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ มีแนวโน้ ม
ผลักดันราคาข้าวไทยและเวียดนามพุ่งขึ้ นมากในปี นี้ หลังราคาทะลุ 500
ดอลลาร์ต่อตันเป็ นครั้งแรก