ผลการศึกษาปัจจัยเสี่ยง

Download Report

Transcript ผลการศึกษาปัจจัยเสี่ยง

พ.ญ. นัยนา ณีศะนันท์
หน่ วยงานกุมารเวชศาสตร์ สังคม
สถาบันสุขภาพเด็กแห่ งชาติมหาราชินี
LOGO
ความสาคัญและทีม่ า
 ตะกั่วเป็ นสารพิษ สามารถสะสมในร่ างกายโดยไม่ แสดงอาการ
 มีการศึกษาพบว่ า ระดับตะกั่วที่ต่ากว่ าค่ ามาตรฐานที่ WHO กาหนด
(BLL ‹ 10 µg/dl) สามารถส่ งผลให้ เด็กมีระดับสติปัญญาต่าลง เรียนรู้
ช้ า และปั ญหาพฤติกรรมร่ วมด้ วย เช่ น ซน สมาธิสัน้
( Environ Health Perspect. 2008 Feb;116(2):243-8.; N Engl J Med 2003; 348: 1517-26.; http://www.cdc.gov/nceh/lead/lead.htm)
ความสาคัญและทีม่ า
 มีรายงานของ US CDC แจ้ งมายังกระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย
ว่ าร้ อยละ 13 ของเด็กผู้อพยพจากศูนย์ พักพิงผู้อพยพ
ในอาเภออุ้มผาง จังหวัดตาก ที่ได้ รับการส่ งต่ อไปยังสหรั ฐอเมริกา
ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2550-2552 มีระดับสารตะกั่วในเลือดสูงเกินมาตรฐาน
 แต่ ยังไม่ มีการศึกษาสถานการณ์ การสัมผัสสารตะกั่วในเด็กไทย
ที่อาศัยอยู่ในพืน้ ที่ใกล้ เคียงกับศูนย์ พกั พิงผู้อพยพ
รายงานจากสานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้ อม. 2552.
วัตถุประสงค์
ประเมินการสัมผัสตะกั่วของเด็กไทย
ที่อาศัยในพืน้ ที่ใกล้ เคียงศูนย์ พักพิงผู้อพยพ
ค้ นหาปั จจัยเสี่ยงของการสัมผัสสารตะกั่ว
วัสดุและวิธีการศึกษา
 การศึกษาย้ อนหลัง (retrospective study)
 ประชากร: เด็กไทยอายุ 2-5 ปี
ที่อาศัยในอาเภออุ้มผาง จังหวัดตาก
จานวน 218 คน
ระหว่ างวันที่ 30 เม.ย.- 5 พ.ค. 2553
วัสดุและวิธีการศึกษา
 วิธีการศึกษา:
การสัมภาษณ์ ผ้ ูปกครองเกี่ยวกับข้ อมูลทั่วไป
 การตรวจร่ างกายจากกุมารแพทย์
 การประเมินพัฒนาการเด็ก ใช้ อนามัย 49
โดยพยาบาลผู้เชี่ยวชาญด้ านพัฒนาการเด็ก
 การเจาะเลือดโดยเจ้ าหน้ าที่เทคนิคการแพทย์ และพยาบาล
เพื่อส่ งตรวจระดับสารตะกั่ว และ Ferritin
 การจัดเก็บนา้ ที่ใช้ บริ โภคจากบ้ านของเด็กที่เข้ าร่ วมการศึกษา
จานวน 39 ตัวอย่ าง เพื่อตรวจระดับสารตะกั่ว

การวิเคราะห์ ทางสถิติ
 เกณฑ์ กาหนด:
ระดับตะกั่วในเลือด > 10 มคก./ดล. แปลว่ ามีการสัมผัสตะกั่ว
ระดับ Ferritin < 10 นาโนกรัม/ดล. แปลว่ าขาดธาตุเหล็ก
มาตรฐานระดับตะกั่วในนา้ ที่ใช้ บริโภค < 15 นาโนกรัม/ลิตร
 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรมสถิติ spss/pc version 16

ใช้ สถิตเิ ชิงพรรณนา: - จานวน ร้ อยละ
- ค่ าพิกัด ค่ าเฉลี่ย (mean ± SD)

เปรียบเทียบระดับตะกั่วในเลือดกับปั จจัยเสี่ยง
ใช้ ค่า t-test ANOVA โดยมีช่วงความเชื่อมั่นร้ อยละ 95
ผลการศึกษา
จังหวัดตาก
ผลการศึกษา
 ข้ อมูลทั่วไป:
- อายุ: เฉลี่ย 4 ปี 6 เดือน + 1 ปี (2 ปี 1 เดือน – 7 ปี 2 เดือน)
- เพศ: ชาย
47 %
หญิง
53 %
- ไม่ มีโรคประจาตัว
90 %
- ที่อยู่: ในเขตเทศบาล
40 %
นอกเขตเทศบาล
60 %
ผลการตรวจทางห้ องปฏิบัตกิ าร
ผลการตรวจ
ตะกั่วในเลือด (มคก./ดล.)
ค่ าเฉลี่ย
7.7 ± 4.6
26%
26%
พิกัด
3 - 25
BLL <10 mcg/dl
74%
BLL ≥10 mcg/dl
ผลการตรวจทางห้ องปฏิบัตกิ าร
ผลการตรวจ
Ferritin (นาโนกรัม/ดล.)
ค่ าเฉลี่ย
พิกัด
64.8 ± 38.4
3.3 - 183. 9
พบการขาดธาตุเหล็ก 24 คน (11.3%)
ผลการตรวจ
ตะกั่วในนา้ ที่บริโภค (มคก./ลิตร)
ค่ าเฉลี่ย
9.1 ± 3.2
พิกัด
2.5 - 15.6
พบนา้ ที่ใช้ บริโภคมีระดับตะกั่วเกินมาตรฐาน WHO
2 ตัวอย่ าง (5.1%)
ผลการศึกษาปั จจัยเสี่ยง
ทีอ่ ยู่กับค่ าเฉลี่ยของตะกั่วในเลือด
8.30 ± 4.46
10
6.80 ± 4.72

8
6
mean BLL
4
2
0
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล
P-value =0.02
ผลการศึกษาปั จจัยเสี่ยง
ค่ าสารตะกั่วในนา้ ที่ใช้ บริโภคกับค่ าเฉลี่ยสารตะกั่วในเลือด
20
15.49±0.10

8.77±2.95
15
mean BLL
10
5
0
ระดับตะกั่วในนา้ บริโภค
≥ 15ug/l
< 15ug/l
P-value =0.003
ผลการศึกษาปั จจัยเสี่ยง
ปั จจัยด้ านสิง่ แวดล้ อม
แหล่ งทีเ่ ด็กดื่มน้าเป็ นประจา
นา้ ประปา
นา้ บรรจุขวดสาเร็จ
อื่นๆ
วิธีการได้ มาซึง่ น้าดื่มในบ้ าน
ไม่ ได้ ทาอะไรเลย
นา้ ต้ มเดือด
กรองนา้
แหล่ งอาหารเป็ นประจา
ทาอาหารเองในบ้ าน
อื่นๆ
จานวนคน (ร้ อยละ)
ค่ าเฉลี่ยของตะกั่ว p-value
ในเลือด
68 (32.5)
95 (45.5)
46 (22)
4.4 ± 2.2
9.4 ± 4.2
9.1 ± 5.8
0.00
121 (58.5)
68 (32.9)
18 (8.6)
7.8 ± 4.8
7.9 ± 4.4
6.6 ± 4.8
0.51
191 (91.8)
17 (8.2)
7.9 ± 4.6
4.8 ± 3.9
0.008
ผลการศึกษาปั จจัยเสี่ยง
ปั จจัยด้ านสิง่ แวดล้ อม
/ ด้ านตัวเด็ก
แหล่ งที่เด็กอาบน้าเป็ นประจา
ประปา
คลอง
อื่นๆ
ที่บ้านใช้ แบตเตอรี่ แบบเติมไฟได้
ไม่ ใช่
ใช่
จานวนคน
(ร้ อยละ)
ค่ าเฉลี่ยของตะกั่ว
ในเลือด
p-value
165 (79.3)
39 (18.8)
4 (1.9)
6.9 ± 4.0
11.2 ± 5.5
10. 5 ± 5.9
0.00
0.001
126 (60.7)
83 (39.3)
6.9 ± 4.2
9.0 ± 4.9
เพศ: ชาย
101 (47.2)
8.4 ± 5.0
หญิง
113 (52.8)
7.1 ± 4.2
0.045
ภาวะโภชนาการ
การเจริญเติบโตกับค่ าเฉลี่ยของระดับตะกั่วในเลือด
80
p-value < 0.001
60
40
10.9
20



11.2
7.1  6.8
0
จานวนเด็ก(%)
น้าหนักตา่ กว่ าเกณฑ์
ความสูงตา่ กว่ าเกณฑ์
BLL
น้าหนักปกติ
ความสูงปกติ
ผลการตรวจพัฒนาการ
พัฒนาการกับค่ าเฉลี่ยของตะกั่วในเลือด
100
6.9 ± 4.4
0
จานวน (%)
p-value = 0.139
สงสัยล่ าช้ า
ปกติ
จานวน (%)
37.4
62.6
mean BLL
7.9 ± 4.8
mean BLL
7.9
6.86
เด็กที่มีพัฒนาการล่ าช้ าและปกติ มีระดับตะกั่วในเลือดไม่ แตกต่ างกัน
วิจารณ์
CDC recommendation: EBLL ≥ 10 mcg/dl
Universal screening: 9-12 months of age
1991
2005
1998
การศึกษานีพ้ บ 26%
Targeted screening: 9-12 months of age
- the percentage of 1-2 year-olds
with EBLL ≥ 12 %
- housing build before 1950 ≥ 27%
วิจารณ์
 การศึกษาเด็ก 296 ราย จากคลองเตย 33 ราย
บางกอกน้ อย 114 ราย และ จ.กาญจนบุรี 149 ราย
พบว่ าชุมชนคลองเตยมีการสัมผัสตะกั่ว สูงร้ อยละ 12.5
 จากการใช้ แบบสอบถามพบว่ า การมีสีลอกหลุดในบ้ าน
การมีพฤติกรรมหยิบชิน้ สีเข้ าปาก และภูมิลาเนาของเด็ก
สัมพันธ์ กับระดับตะกั่วในเลือด
จุฬธิดา โฉมฉาย และคณะ; 2005
 เด็กอนุบาลในกทม. 60 คน มีค่าเฉลี่ยตะกั่วในเลือด 6.7 ± 2 มคก./ดล.
ปั จจัยเสี่ยงคือ เพศชาย น้าหนักและส่ วนสูงตา่ กว่ าเกณฑ์
สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ , โยเซฟ ซื่อเพียรธรรม; 2002.
วิจารณ์
 มีรายงานผู้ป่วยเด็ก 6 รายอายุน้อยกว่ า 10 ปี จากผู้ป่วย 14 ราย
ที่ได้ รับพิษจากสารตะกั่ว พบว่ าเด็กทุกรายอาศัยอยู่บริเวณที่มี
แบตเตอรี่เก่ า (old battery plant area) เด็ก 5 รายอยู่ในหมู่บ้าน
เดียวกัน
Wiwanikit V, et al. 2006.
 มีรายงานการปนเปื ้ อนตะกั่วในนา้ ดื่มในกรุง Washington, DC
ปี 2000-2007 พบว่ า
ความชุกของการสัมผัสตะกั่ว (ระดับตะกั่วในเลือดเกินเกณฑ์ ) สูงขึน้
ในเด็กอายุ ≤1.3 ปี (R2 = 0.81)
Edwards M; 2009.
สรุ ปผลและข้ อเสนอแนะ
 จากการศึกษานีพ้ บว่ า 1 ใน 4 ของเด็กก่ อนวัยเรียน (2-5 ปี )
มีระดับตะกั่วในเลือดที่สูงกว่ าเกณฑ์ แต่ ไม่ มีอาการพิษทางคลินิก
ซึ่งไม่ สามารถวินิจฉัยจากการซักประวัตแิ ละตรวจร่ างกาย
 ปั จจัยเสี่ยงที่มีผลต่ อระดับค่ าเฉลี่ยตะกั่วในเลือดสูงอย่ างมีนัยสาคัญ
ได้ แก่ - เพศชาย
- การอาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล
- การใช้ แบตเตอรี่แบบเติมไฟได้ ท่ บี ้ าน
- การอุปโภคบริโภคนา้ จากแหล่ งนา้ อื่นๆที่ไม่ ใช่ นา้ ประปา
- การมีค่าตะกั่วในนา้ ที่บริโภคเกินมาตรฐาน (>15 มคก./ ลิตร)
และทาอาหารกินเองที่บ้าน
สรุ ปผลและข้ อเสนอแนะ
 ซึ่งจากข้ อมูลนีค้ วรนาไปพัฒนาแนวทางการจัดทากาหนดการดูแล
สุขภาพเด็กไทย (Guideline for preventive pediatric health care)
ให้ เหมาะสมในแต่ ละพืน้ ที่
การคัดกรองเด็กที่อาศัยอยู่ในพืน้ ที่ท่ มี ีความเสี่ยงต่ อการสัมผัสตะกั่วสูง
 ข้ อเสนอแนะจากอนุกรรมการสาขาวิชาอุบัตเิ หตุและพิษวิทยา
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ แห่ งประเทศไทย
- เด็กกลุ่มเสี่ยงที่ควรตรวจคัดกรองหาระดับตะกั่วในเลือด คือ
1. อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ ท่ เี ป็ นเขตอุตสาหกรรม
2. มีผ้ ูอาศัยอยู่ในบ้ านเดียวกันที่มีอาชีพเกี่ยวกับอุตสาหกรรมตะกั่ว
LOGO