1_178_15_11_2013_11_39_23_ASU2

Download Report

Transcript 1_178_15_11_2013_11_39_23_ASU2

Antibiotics
Smart use
14 Nov. 2013
Dr.Sukumarn Soontorn
Sangkha Hospital
Inappropriate use of
antibiotics
้
การใชยาอย่
างไม่เหมาะสม
Increasing antimicrobial
resistance
ื้ ก่อโรคดือ
เชอ
้ ยาเพิม
่ สูง
Reduces the effectiveness of
antimicrobial treatment
ิ ธิผลในการรักษาลดลง
ประสท
Increased morbidity,
mortality, and health care
expenditure
เพิม
่ อัตราตาย ความพิการ และ
ค่าใชจ่้ าย
A major threat to public health
ปัญหาหล ักทางสาธารณสุข
 Antibiotics

Commonly used in ambulatory care facility
(ใชบ่้ อย)

Antibiotics can be purchased without
ื้ เองได ้)
prescriptions (ซอ
 URI and acute diarrhea: common self-limiting
ื้ ทางเดินหายใจสว่ นต ้นและท ้องร่วง
(การติดเชอ
เฉียบพลัน)
 The prevalence of group A streptococci (GAS) in
adults with sore throat attending Siriraj Hospital
 7.9% to 11.4%
 No compelling data on antibiotic treatment of
patients with URI other than GAS are beneficial
 In healthy individuals with acute diarrhea
 almost always self-limited; หายได้เอง!!!!
้
ี ต ้องมีข ้อบ่งชส
ี้ าคัญ
 Standard guidelines การใชยาต
้านจุลชพ
คือ
 empiric antibiotic therapy is recommended only for invasive or
inflammatory diarrhea
 especially in special hosts with immunocompromised conditions
 non-inflammatory diarrhea with moderate or severe dehydration
such as cholera
้
เป้ าหมาย คือ ลดการใชยาปฏิ
ชวี นะอย่างพร่าเพรือ
่ ใน
3 โรคทีพ
่ บบ่อย
ื้ ทางเดินหายใจสว่ นบน

- โรคติดเชอ

- โรคท ้องร่วงเฉียบพลัน

- แผลเลือดออก
 2. ASU เป็ นโครงการทีห
่ วังผลให ้เกิดการเปลีย
่ นแปลงทาง
พฤติกรรม
้
 3. ASU เหมาะกับสถานพยาบาลทีก
่ ารสงั่ ใชยาปฏิ
ชวี นะมาก
เกินจาเป็ นมีสาเหตุมาจาก
ื่ ทีค

- ความรู ้หรือความเชอ
่ าดเคลือ
่ นของบุคลากรทาง
การแพทย์

- แรงกดดันหรือความคาดหวังของผู ้ป่ วย
 4. ASU ตัง
้ อยูบ
่ นแนวคิดทีว่ า่ การเปลีย
่ นพฤติกรรมเริม
่ จาก
ความรู ้ แต่ความรู ้อย่างเดียวไม่เพียงพอในการเปลีย
่ น
พฤติกรรม
 1.
หยุดเรียก“ยาปฏิชีวนะ”ว่า “ยาแก้อกั เสบ”
การอักเสบ
การอักเสบแบบติดเชื้อ
้ื แบคทีเรีย
ติดเชอ
ยาปฏิชว
ี นะ
ติดเชื้อไวรัส
การอักเสบแบบไม่ติดเชื้อ
เช่น กลามเนื
้ออักเสบ ภูมแ
ิ พ้
้
โรค SLE
• ยาสเตียรอยด ์ (Steriods)
• ยาแกอั
้ กเสบทีไ่ มใช
่ ่ สเตียรอยด ์
(NSAIDs)
ไมใช
่ ้ยาปฏิชวี นะ
ยาปฏิชีวนะเป็ น “ยาอันตราย”
ยาอันตราย
คาเตือน
1.ห้ามใช้ในผูป้ ่ วยแพ้ยานี้
2.ยานี้อาจทาให้เกิดอาการแพ้และเป็ นอันตรายถึงตายได้
3.หากเกิดอาการผืน่ แดง ระคายเคืองหรือบวมให้หยุดยาและ
ปรึกษาแพทย์
ยาปฏิชีวนะเป็ น “ยาอันตราย”
อันตรายจากผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นจากการใช้ยาปฏิชวี นะพรา่ เพรื่อ
1.
แพ้ยา
2.
อาการข้างเคียงจากการใช้ยา
3.
เชื้อดื้อยา
Antibiotics smart use
โรคติดเชื้อเฉียบพลันทางเดินหายใจส่วนบน
โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
บาดแผล
Upper
Respiratory tract
infection
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
สาเหตุการติดเชื้อ
80% จากไวรัส
20% จากแบคทีเรีย
ส่ วนใหญ่ จึงไม่ ต้องใช้ ยาฆ่ าเชื้อ
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
กรณี ท่ไี ม่ตอ้ งใช้ยาปฏิชีวนะ
อาการดังนี้
ไม่มไี ข้ ไม่เจ็บคอ มีนา้ มูกมาก จามบ่อย เสียงแหบ ตาแดง มี
ผืน่ ตามตัว โดยตรวจไม่พบอาการโรคปอดอักเสบ แผลในปาก
ถ่ายเหลว
ไข้สูง > 38๐c ร่วมกับอาการข้างต้น หมายถึง ติดเชื้อไวรัส
ไม่จาเป็ นต้องให้ยาฆ่าเชื้อ
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
 กรณีทค
่ี วรใช้ยาปฏิชวี นะ: คอหอยและทอนซิลอักเสบ
ไข้สูง เจ็บคอมาก มีจดุ ขาวทีท่ อนซิล ต่อมนา้ เหลืองใต้คอโต ลิ้นไก่
บวมแดง มีจดุ เลือดออกทีเ่ พดานปาก
ยาทีค
่ วรใช้: penicillin V, amoxicillin, roxithromycin 10 วัน
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
 กรณีทอ่ี าจให้ยาปฏิชวี นะ: หูชนั้ กลางอักเสบ
มีไข้ ปวดหู
ไซนัสอักเสบ
โดยเฉพาะหลังจากเป็ นหวัด หมายถึงติดเชื้อในหู
ชัน้ กลาง
การติดเชื้อในหูชนั้ กลางมักดีข้นึ ใน 72 ชัว่ โมง เพราะฉะนัน้
ใน3วันแรกจึงไม่จาเป็ นต้องให้ยา แต่หากพ้น3วันแล ้วอาการ
ไม่ดขี ้นึ จึงทานยาฆ่าเชื้อ
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
ไซนัสอักเสบทีม
่ อี าการต่อเนื่องนานเกิน
7 วัน จึงค่อยทานยา
ฆ่าเชื้อ
ยาทีใ่ ช้ : amoxicillin, erythromycin นาน 5วันในหูชนั้ กลาง
อักเสบ และ นาน 7 วันในไซนัสอักเสบ
ขนาดและวิธใี ห้ยาฆ่าเชื้อ
 Penicillin V
500 มก. วันละ 2-3 ครัง้
 เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครัง้
 ผูใ้ หญ่
 Amoxicillin
500 มก. วันละ 3 ครัง้
 เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 3 ครัง้ หากเป็ นไซนัสอักเสบให้
80-90 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครัง้
 ผูใ้ หญ่
ขนาดและวิธใี ห้ยาฆ่าเชื้อ
Erythromycin
เด็ก
5-8 มก./กก./วัน วันละ 2 ครัง้
ข้อควรรู ้
การมีนา้ มูกหรือเสมหะข้น
หรือสีเขียวเหลืองไม่ได้บ่งชี้วา่ ต้องทาน
ยาฆ่าเชื้อ
อาการไข้สูงเพียงอย่างเดียวไม่ใช่ขอ้ บ่งชี้วา่ ต้องทานยาฆ่าเชื้อ
เพราะอาจเป็ นโรคอืน่ ได้ เช่น ไขห้ วัดใหญ่ ไข้เลือดออก
Acute Diarrhea
โรคท้องร่วงเฉี ยบพลัน
หมายถึง การถ่ายอุจจาระเหลวจานวนอย่างน้อย 3 ครัง้ หรือ
ถ่ายมีมกู ปนเลือดหรือเป็ นนา้ อย่างน้อย 1 ครัง้
 ผูป้ ่ วยทีม
่ อี าเจียนเป็ นอาการเด่นมักหมายถึงอาหารเป็ นพิษ ไม่ไช่ตดิ เชื้อจึง
ไม่ตอ้ งใช้ยาฆ่าเชื้อ
 โรคท้องร่วง
โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
 การให้ยาฆ่าเชื้อควรให้เฉพาะผูป้ ่ วยทีม
่ อี าการร่วมดังนี้
> 38๐c
 อุจจาระเป็ นมูกหรือมีเลือดปนเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า หรือ ตรวจพบWBC,RBCใน
อุจจาระ
 ไข้สูง
 ยาฆ่าเชื้อทีค
่ วรใช้คอื
norfloxacin
400 มก. วันละ 2 ครัง้ นาน 5 วัน
 เด็ก 15-20 มก./กก./วัน แบ่งวันละ 2 ครัง้ นาน 5 วัน (หากเป็ นเด็กทีต่ า่ กว่า 5 ปี
ให้ตามแพทย์เสมอ)
 ผูใ้ หญ่
ข้อควรรู ้
 เป้ าหมายสาคัญทีส่ ุดในการรักษาไม่ใช่ยาฆ่าเชื้อ
แต่เป็ นการให้สารนา้ และ
เกลือแร่ทดแทนทีส่ ูญเสียไปกับอุจจาระ
 ยาบางตัวไม่แนะนาให้ใช้ในกรณีทอ้ งร่วง ได้แก่ buscopan, imodium,
lomotil เป็ นต้น
 การให้ activated charcoal หรือ ultracarbon สามารถให้ได้ ไม่เป็ นพิษ
ราคาถูกและช่วยลดความกังวลใจแก่ผูป้ ่ วย โดยทาน 1-2 เม็ด วันละ 2-4
ครัง้
Wounds
บาดแผล
 แผลทีย่ งั ไม่ตด
ิ เชื้อ
คือ บาดแผลทีม่ าถึงรพ.ภายใน6ชัว่ โมง
 แผลสะอาด หมายถึง
 บาดแผลเปิ ดทีม
่ ขี อบเรียบสามารถล้างทาความสะอาดง่าย
 ไม่มเี นื้อตาย
 บาดแผลทีม
่ สี ง่ิ สกปรกติดอยู่
แต่ลา้ งออกได้งา่ ย
 แผลทีไ่ ม่ได้เปื้ อนสิง่ แปลกปลอมทีต่ ด
ิ เชื้อสูง เช่น นา้ คลอง ดิน มูลสัตว์ เป็ นต้น
บาดแผล
 บาดแผลทีม
่ โี อกาสติดเชื้อสูง








บาดแผลทีถ่ กู วัตถุทม่ิ เป็ นรูยากแก่การทาความสะอาดได้ทวั ่ ถึง
บาดแผลทีม่ เี นื้อตายเป็ นบริเวณกว้าง
บาดแผลทีม่ สี ง่ิ สกปรกติดอยู่ ทีล่ ้างได้ไม่หมด
บาดแผลทีส่ มั ผัสเชื้อโรคมาก เช่น ดิน นา้ คลอง เหล็กมีสนิม มูลสัตว์ เป็ นต้น
บาดแผลจากการบดอัด
แผลทีเ่ ท้า
แผลขอบไม่เรียบ
แผลผูป้ ่ วยทีภ่ ูมคิ ุม้ กันตา่ หรือโอกาสติดเชื้อง่าย เช่น เบาหวาน เป็ นต้น
บาดแผล
ยาฆ่าเชื้อให้ในกรณีทแ่ี ผลมีโอกาสติดเชื้อสูงเท่านัน้
ให้เพือ่ การป้ องกันการติดเชื้อ ยาทีค่ วรใช้
 Dicloxacillin


ผูใ้ หญ่ 250 มก. วันละ 4 ครัง้ 2 วัน
เด็ก 25-50 มก. วันละ 4 ครัง้ 2 วัน
 Clindamycin


ผูใ้ หญ่ 150-300 มก. วันละ 4 ครัง้ 2 วัน
เด็ก 8-25 มก./กก./วัน วันละ 4 ครัง้ 2 วัน
และเป็ นการ
ข้อควรรู ้
 ในการชะล้างแผลทีส่ กปรกเป็ นร่องลึกควรใช้ syringe 10-40 cc. ฉีดล้างบริเวณแผลให้
ทัวถึ
่ ง แค่ scrub อย่างเดียวไม่ได้
 ไม่จาเป็ นต้องใส่นา้ ยาฆ่าเชื้อใดๆลงในบาดแผล เพราะไม่ลดโอกาสติดเชื้อและ อาจ
ทาลายเนื้อเยือ่ ในแผลให้แผลหายช้าลง
 ทุกครัง้ ทีผ
่ ูป้ ่ วยมาทาแผลต้องสังเกตุแผลเสมอว่ามีการอักเสบหรือไม่
ข้อควรรู ้
การตัดไหม
ตัดไหม 5 วัน
 แผลทีข่ อ้ พับ ตัดไหม 10-14 วัน
 แผลอืน
่ ๆ ตัดไหม 7 วัน
 กรณีแผลทีห่ น้า