5. อบรมความคลาดเคลื่อนทางยา ปี 2557

Download Report

Transcript 5. อบรมความคลาดเคลื่อนทางยา ปี 2557

ระบบยา
21 กรกฎาคม 2557
ห้องประชุมศรี โคตรบูรณ์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม
บริ หารเวชภัณฑ์
เบอร์ โทรภายใน 122
ภก.วราวิทย์
เบอร์ โทรภายใน 123
เวชภัณฑ์ยา
ภญ.จินดานุช
เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา/วัสดุการแพทย์ นส.นันท์นภัส
คลังเวชภัณฑ์ 124
นายชาญวิทย์
ขันตอนการส่
้
งใบเบิกเวชภัณฑ์
วันพุธ
ส่ งใบเบิกเวชภัณฑ์
วันพฤหัสบดี
ต้ องการใช้ ดว่ น
ส่ งใบเบิก EMS
คลังเวชภัณฑ์ ตัดจ่ าย
คลังเวชภัณฑ์ ตัดจ่ าย
ส่ งเวชภัณฑ์ ให้ หน่ วยงาน
หน่ วยงานรับ
เวชภัณฑ์ เองที่คลัง
เวชภัณฑ์
หน่ วยงานตรวจสอบความ
ถูกต้ อง/ทักท้ วงทันที
วันหยุดราชการยืมตึกอื่นก่ อน
ระบุหน่วยงาน
วันเดือนปี ที่เบิก
นาไปใช้ เพื่อ รักษาพยาบาลผู้ป่วย
จานวนขอเบิก
รายการที่เบิก
วันที่เบิกครัง้ ก่อน
จานวนคงเหลือ
ลงชื่อผู้ขอเบิก / ผู้ขอรับ
ลงชื่อผู้เบิก
ลงชื่อผู้รับ
ยาใหม่
ปี งบประมาณ2557
MEROPENEM inj. 1 g
 ข้ อบ่ งใช้ :
ยาฆ่ าเชือ้
กลุ่ม carbapenem
 ขนาด: 1 g q 8 hr
 คานวณตามการทางาน
ของไต
 ผสม: NSS 100 ml
Norepinephrine (LEVOPHEDR)
HIGHT ALERT DRUG
 ข้ อบ่ งใช้ :
ใช้ ในการรักษาภาวะ
ช็อกหลังจากที่ให้ สารนา้ ทดแทน
อย่ างเพียงพอแล้ ว , ใช้ สาหรั บ
ช่ วยให้ แรงดันโลหติท่ ลี ดต่าลง
อย่ างเฉียบพลันกลับสูงขึน้ สู่
ระดับปกติ
 ขนาด: 4 mg / 4 ml
 ผสม: D5W 100 ml
ADENOSINE inj. 3mg/ml
ข้ อบ่งใช้ : Supraventricular tachycardia
 ขนาด: 3 mg/ml
 การบริ หารยา
 ก่อนให้ ยาจัดผู้ป่วยให้ อยูใ่ นท่านอนหงาย
ราบ (ไม่หนุนหมอน)
 - ให้ ยาโดยการฉีด IV rapid push ภายใน
1-3 วินาที
 - หลังฉีดยา ยกแขนข้ างที่ฉีดยาให้ สงู ขึ ้น
เพื่อให้ ยาออกฤทธิ์ที่หวั ใจได้ เต็มที่

HEAMACCEL solution
 เฉพาะราย
Colloid
 เป็ นสารช่ วยเพิ่มปริ มาณ
ของเหลวภายในหลอดเลือด
 ใช้ รักษาภาวะที่มีปริ มาตร
เลือดในระบบไหลเวียนน้ อย
 เป็ น
IRON-SUCROSE inj. 100mg/5ml
 ข้ อบ่งใช้ : iron
deficiency anemia
 ผสมใน NSS 100 ml
VANCOMYCIN inj. 500 mg /vial
 ข้ อบ่ งใช้ :
ใช้ รักษาอาการติด
เชือ้ แบคทีเรีย (methicillin resistant staph aureus; MRSA)
 ขนาด: 500 mg /vial
 ทาละลายด้ วย sterile water for
injection 10 ml
 ผสม: NSS , D5W 100 ml
 Drip > 60 นาที หากให้ เร็ วอาจ
เกิดภาวะ Red man syndrome
CIS-ATRACURIUM inj. 150mg/30ml
 ข้ อบ่ งใช้ : ใช้ เป็ นยา
เหนี่ยวนาสลบในห้ อง
ผ่ าตัด
 ขนาด: 5 mg /ml
SULPROSTONE inj. 500 mcg/amp
NALADOR R
 ข้ อบ่งใช้ :
ภาวะตกเลือดหลัง
คลอด
 ขนาด: 500 mcg
 ผสม: NSS 250-500 ml
 Drip ใน 1 ชม.
COLISTIN inj. 150mg/vial
 ข้ อบ่ งใช้ :
ติดเชือ้ Acinetobacter
baumannii
 ขนาด: 150 mg /vial
 คานวณตามการทางานของไต
 ผสม : ละลายผงยาด้ วย sterile
water for injection 2 ml
 ผสม :
NSS , D5W 100 ml
drip > 30 min
SODIUM CHLORIDE TAB 300 MG
 รั กษาภาวะโซเดียมต่า
NAPROXEN TAB 250 MG

NSAIDs
CLONAZEPAM TAB 2 MG
 ยาในกลุ่ม
benzodiazepines
 ใช้ รักษาภาวะวิตกกังวล
RISPERIDONE TAB 2 mg
 เป็ นยาในกลุ่มที่เป็ น
อนุพันธ์ ของ
benzisoxazole
 ข้ อบ่ งใช้ : ใช้ สาหรั บรั กษา
โรคจิตเภทชนิดเฉียบพลัน
และเรื อ้ รั ง
LOSARTAN TAB 50 MG
 เป็ นยาในกลุ่ม
Angiotensin-II receptor
antagonists
 ข้ อบ่ งใช้ : ภาวะความ
ดันโลหิตสูง
METOPROLOL TAB 100 MG
 เป็ นยาในกลุ่ม Beta-
adrenoceptor blocking
drugs
 ข้ อบ่ งใช้ : ภาวะความ
ดันโลหิตสูง
หญ้ าดอกขาว
 ใช้ สาหรั บผู้ท่ ต
ี ้ องการ
ลดอาการอยากบุหรี่
หญ้ าปั กกิ่ง
 ใช้ สาหรั บเสริ ม
ภูมคิ ้ ุมกันของร่ างกาย
ลดอนุมูลอิสระ
หญ้ าหนวดแมว
 ขับปั สสาวะ
รางจืด
แก้ ร้อนใน
ลดไข้
แก้ กระหายน ้า
ยาหอมนวโกฐ
 แก้ ลมคลื่นเหียน
อาเจียน
ลูกประคบ
ประคบแก้ ปวด
คลายกล้ ามเนื ้อ
อาการไม่ พงึ ประสงค์ จากการใช้ ยา
Adverse Drug Event (ADE) หมายถึง การ
บาดเจ็บใดๆ ที่เกิดขึ้น ระหว่างผูป้ ่ วยได้รับยา อาจเกิดจากการรักษาที่
เหมาะสมหรื อไม่เหมาะสมก็ได้ ทาให้ผปู้ ่ วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์
Adverse Drug Reaction (ADR) หมายถึง
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ต้ งั ใจ และเป็ นอันตรายต่อร่ างกายมนุษย์
เกิดขึ้นเมื่อใช้ยาในขนาดปกติ เพื่อป้ องกัน วินิจฉัย บาบัดรักษาโรค
หรื อเปลี่ยนแปลงแก้ไขการทางานของร่ างกาย โดยไม่รวม ปฏิกิริยาที่
เกิดจากการใช้ยาเกินขนาด โดยอุบตั ิเหตุหรื อตั้งใจ ตลอดจนการใช้ยา
ในทางที่ผดิ อุบตั ิเหตุ หรื อการจงใจใช้ยาเกินขนาด และผิดวิธี
Side Effect (SE) หมายถึง ผลใดๆ ที่ไม่ได้ จงใจให้
เกิดขึ ้นจากเภสัชภัณฑ์ ซึง่ เกิดขึ ้นในการใช้ ตามขนาดปกติใน
มนุษย์ และสัมพันธ์กบั คุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของยา
Drug Allergy หมายถึง ปฏิกิริยาที่เกิดจาก
ภูมิค้ มุ กันของร่างกายต่อต้ านยาที่ได้ รับเข้ าไป
การแพ้ยาซ้ า หมายถึง เหตุการณ์ที่ผปู้ ่ วยได้รับยา (ทั้งจาก
ตนเอง ผูด้ ูแล หรื อจากบุคลากรทางการแพทย์) แล้วเกิด
อาการแพ้ยา โดยเกิดจากยาที่เคยเกิดอาการแพ้ยาดังกล่าวจาก
ยาที่มีชื่อสามัญทางยาเดียวกัน ทั้งที่เคยบันทึกประวัติหรื อไม่
บันทึกประวัติในเอกสารของโรงพยาบาล ยกเว้ น: การตั้งใจ
ให้ยาซ้า (Rechallenge) ของบุคลากรทางการแพทย์
เพื่อประโยชน์ในการรักษาหรื อมีขอ้ บ่งชี้ทางการแพทย์
การแพ้ยาในกลุ่มเดียวกัน หมายถึง เหตุการณ์ที่ผปู้ ่ วย
ได้รับยา (ทั้งจากตนเอง ผูด้ ูแล หรื อจากบุคลากรทาง
การแพทย์) แล้วเกิดอาการแพ้ยา โดยมีลกั ษณะเหมือน
อาการที่เคยแพ้มาก่อนจาก ยาที่มีสูตรโครงสร้างทาง
เคมีคล้ายคลึงกัน ทั้งที่เคยบันทึกประวัติหรื อไม่บนั ทึก
ประวัติในเอกสารของโรงพยาบาล
การแพ้ ยาในกลุ่มเดียวกัน หมายถึง เหตุการณ์ที่
ผู้ป่วยได้ รับยา (ทังจากตนเอง
้
ผู้ดแู ล หรื อจากบุคลากร
ทางการแพทย์) แล้ วเกิดอาการแพ้ ยา โดยมีลกั ษณะ
เหมือนอาการที่เคยแพ้ มาก่อนจาก ยาที่มีสตู รโครงสร้ าง
ทางเคมีคล้ ายคลึงกัน ทังที
้ ่เคยบันทึกประวัติหรื อไม่
บันทึกประวัติในเอกสารของโรงพยาบาล
Maculopapular rash
Angioedema
Fixed drug eruption
Eczematous drug eruption:
EM
Urticaria
Antibiotics smart use
แนวทางการใช้ ยาปฎิชีวนะ
Antibiotics smart use
โรคติดเชื ้อเฉียบพลัน
ทางเดินหายใจส่วนบน
โรคท้ องร่ วงเฉียบพลัน
บาดแผล
โรคติดเชือ้ ทางเดินหายใจส่ วนบน
 สาเหตุการติดเชื ้อ
◦ 80% จากไวรัส
ส่ วนใหญ่จึงไม่ตอ้ งใช้ยาฆ่าเชื้อ
◦ 20% จากแบคทีเรี ย
 กรณีที่ไม่ต้องใช้ ยาปฏิชีวนะ
◦ อาการดังนี ้ ไม่มีไข้ ไม่เจ็บคอ มีน ้ามูกมาก จาม
บ่อย เสียงแหบ ตาแดง มีผื่นตามตัว โดยตรวจไม่
พบอาการโรคปอดอักเสบ แผลในปาก ถ่ายเหลว
◦ ไข้ สงู > 38๐c ร่วมกับอาการข้ างต้ น หมายถึง ติด
เชื ้อไวรัส ไม่จาเป็ นต้ องให้ ยาฆ่าเชื ้อ
โรคติดเชื ้อทางเดินหายใจส่วนบน
 กรณีที่ควรใช้ ยาปฏิชีวนะ: คอหอยและทอนซิลอักเสบ
◦ ไข้ สงู เจ็บคอมาก มีจดุ ขาวที่ทอนซิล ต่อมน ้าเหลืองใต้ คอโต
ลิ ้นไก่บวมแดง มีจดุ เลือดออกที่เพดานปาก
◦ ยาที่ควรใช้ : penicillin V, amoxicillin, roxithromycin 10 วัน
โรคติดเชื ้อทางเดินหายใจส่วนบน
 กรณีที่อาจให้ ยาปฏิชีวนะ: หูชนกลางอั
ั้
กเสบ ไซนัส
อักเสบ
◦มีไข้ ปวดหู โดยเฉพาะหลังจากเป็ นหวัด หมายถึง
ติดเชื ้อในหูชนกลาง
ั้
◦การติดเชื ้อในหูชนกลางมั
ั้
กดีขึ ้นใน 72 ชัว่ โมง
เพราะฉะนัน้ ใน3วันแรกจึงไม่จาเป็ นต้ องให้ ยา แต่
หากพ้ น3วันแล้ วอาการไม่ดีขึ ้นจึงทานยาฆ่าเชื ้อ
โรคติดเชือ้ ทางเดินหายใจส่ วนบน
◦ไซนัสอักเสบที่มีอาการต่อเนื่องนานเกิน 7 วัน
จึงค่อยทานยาฆ่าเชื ้อ
◦ยาที่ใช้ : amoxicillin, erythromycin นาน 5วัน
ในหูชนกลางอั
ั้
กเสบ และ นาน 7 วันในไซนัส
อักเสบ
ขนาดและวิธีให้ ยาฆ่ าเชือ้
 Penicillin V
◦ ผู้ใหญ่ 500 มก. วันละ 2-3 ครั ง้
◦ เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครั ง้
 Amoxicillin
◦ ผู้ใหญ่ 500 มก. วันละ 3 ครั ง้
◦ เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 3 ครั ง้ หากเป็ น
ไซนัสอักเสบให้ 80-90 มก./กก./วัน วันละ 2-3
ครั ง้
ขนาดและวิธีให้ ยาฆ่ าเชือ้
 Erythromycin
◦เด็ก 5-8 มก./กก./วัน วันละ 2 ครัง้
ข้ อควรรู้
การมีนา้ มูกหรื อเสมหะข้ น หรื อสีเขียว
เหลืองไม่ ได้ บ่งชีว้ ่ าต้ องทานยาฆ่ าเชือ้
อาการไข้ สูงเพียงอย่ างเดียวไม่ ใช่ ข้อ
บ่ งชีว้ ่ าต้ องทานยาฆ่ าเชือ้ เพราะอาจ
เป็ นโรคอื่นได้ เช่ น ไข้ หวัดใหญ่
ไข้ เลือดออก
โรคท้ องร่ วงเฉียบพลัน
 โรคท้ องร่ วง หมายถึง การถ่ ายอุจจาระเหลว
จานวนอย่ างน้ อย 3 ครัง้ หรือถ่ ายมีมูกปนเลือด
หรือเป็ นนา้ อย่ างน้ อย 1 ครัง้
 ผู้ป่วยที่มีอาเจียนเป็ นอาการเด่ นมักหมายถึง
อาหารเป็ นพิษ ไม่ ไช่ ตดิ เชือ้ จึงไม่ ต้องใช้ ยาฆ่ า
เชือ้
โรคท้ องร่ วงเฉียบพลัน
 การให้ ยาฆ่ าเชือ้ ควรให้ เฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการร่ วมดังนี ้
◦ ไข้ สูง > 38๐c
◦ อุจจาระเป็ นมูกหรือมีเลือดปนเห็นได้ ด้วยตาเปล่ า หรือ ตรวจ
พบWBC,RBCในอุจจาระ
 ยาฆ่ าเชือ้ ที่ควรใช้ คือ norfloxacin
◦ ผู้ใหญ่ 400 มก. วันละ 2 ครัง้ นาน 5 วัน
◦ เด็ก 15-20 มก./กก./วัน แบ่ งวันละ 2 ครัง้ นาน 5 วัน (หากเป็ น
เด็กที่ต่ากว่ า 5 ปี ให้ ตามแพทย์ เสมอ)
ข้ อควรรู้
 เป้าหมายสาคัญที่สุดในการรั กษาไม่ ใช่ ยาฆ่ าเชือ้ แต่
เป็ นการให้ สารนา้ และเกลือแร่ ทดแทนที่สูญเสียไปกับ
อุจจาระ
 ยาบางตัวไม่ แนะนาให้ ใช้ ในกรณีท้องร่ วง ได้ แก่
buscopan, imodium, lomotil เป็ นต้ น
 การให้ activated charcoal หรื อ ultracarbon สามารถให้
ได้ ไม่ เป็ นพิษ ราคาถูกและช่ วยลดความกังวลใจแก่
ผู้ป่วย โดยทาน 1-2 เม็ด วันละ 2-4 ครัง้
บาดแผล
 แผลที่ยังไม่ ตด
ิ เชือ้ คือ บาดแผลที่มาถึงรพ.ภายใน6ชั่วโมง
 แผลสะอาด หมายถึง
◦ บาดแผลเปิ ดที่มีขอบเรียบสามารถล้ างทาความสะอาดง่ าย
◦ ไม่ มีเนือ้ ตาย
◦ บาดแผลที่มีส่ ิงสกปรกติดอยู่ แต่ ล้างออกได้ ง่าย
◦ แผลที่ไม่ ได้ เปื ้ อนสิ่งแปลกปลอมที่ตดิ เชือ้ สูง เช่ น นา้ คลอง ดิน
มูลสัตว์ เป็ นต้ น
บาดแผล

บาดแผลที่มีโอกาสติดเชือ้ สูง
◦
◦
◦
◦
◦
◦
◦
◦
บาดแผลที่ถูกวัตถุท่ มิ เป็ นรู ยากแก่ การทาความสะอาดได้ ท่ ัวถึง
บาดแผลที่มีเนือ้ ตายเป็ นบริเวณกว้ าง
บาดแผลที่มีส่ งิ สกปรกติดอยู่ ที่ล้างได้ ไม่ หมด
บาดแผลที่สัมผัสเชือ้ โรคมาก เช่ น ดิน นา้ คลอง เหล็กมีสนิม มูล
สัตว์ เป็ นต้ น
บาดแผลจากการบดอัด
แผลที่เท้ า
แผลขอบไม่ เรี ยบ
แผลผู้ป่วยที่ภูมคิ ้ ุมกันต่า หรื อโอกาสติดเชือ้ ง่ าย เช่ น เบาหวาน
เป็ นต้ น
บาดแผล
 ยาฆ่ าเชือ้ ให้ ในกรณีท่ แ
ี ผลมีโอกาสติดเชือ้ สูง
เท่ านัน้ และเป็ นการให้ เพื่อการป้องกันการติด
เชือ้ ยาที่ควรใช้
 Dicloxacillin
◦ ผู้ใหญ่ 250 มก. วันละ 4 ครัง้ 2 วัน
◦ เด็ก 25-50 มก. วันละ 4 ครัง้ 2 วัน
 Clindamycin
◦ ผู้ใหญ่ 150-300 มก. วันละ 4 ครัง้ 2 วัน
◦ เด็ก 8-25 มก./กก./วัน วันละ 4 ครัง้ 2 วัน
ข้ อควรรู้
 ในการชะล้ างแผลที่สกปรกเป็ นร่ องลึกควรใช้
syringe 10-40 cc. ฉีดล้ างบริเวณแผลให้ ท่ วั ถึง แค่
scrub อย่ างเดียวไม่ ได้
 ไม่ จาเป็ นต้ องใส่ นา้ ยาฆ่ าเชือ้ ใดๆลงในบาดแผล
เพราะไม่ ลดโอกาสติดเชือ้ และ อาจทาลายเนือ้ เยื่อ
ในแผลให้ แผลหายช้ าลง
 ทุกครั ง้ ที่ผ้ ูป่วยมาทาแผลต้ องสังเกตุแผลเสมอว่ ามี
การอักเสบหรือไม่
ข้ อควรรู้
การตัดไหม
◦กรณีแผลที่หน้ า ตัดไหม 5 วัน
◦แผลที่ข้อพับ ตัดไหม 10-14 วัน
◦แผลอื่นๆ ตัดไหม 7 วัน
Medication Error
& Reporting
เภสัSystem
ชกรณัฐพล ผลโยน
21 กรกฎาคม 2557
ความคลาดเคลือ
่ นทางยา
เป็ นประเด็นคุณภาพ และเป็ นตัวชีว้ ด
ั
สะท้อนเรืของรพ.
อ
่ งความปลอดภัยใน
กระบวนการใช
้ยา
ความคลาดเคลื
อ
่ นทางยา.......................
ไมใช
่ น
แตเป็
่ ่ เพียงความคลาดเคลือ
่ นความผิดพล
ปสู่ การสูญเสี ย ชีวต
ิ
เวลา
คาใช
่
้จายในกา
่
เกิดขึน
้ ไดซ
้ า้ ๆ หากขาดความตระหนักของบุคลาก
**** รพ. ตองสนใจ
ตองมี
ทม
ี สหวิชาชีพ
******
้
้
ะบบการคนหา
เฝ้าระวัง รายงาน หาวิธแ
ี กไข
แ
้
้
ความคลาดเคลือ
่ นทางยา
(Medication Error)
เหตุการณใดๆที
ส
่ ามารถป้องกันได้ ทีอ
่ าจ
์
เ ป็ น ส า เ ห ตุ ห รื อ น า ไ ป สู่ ก า ร ใ ช้ ย า ไ ม่
เหมาะสม หรื อ เป็ นอัน ตรายแก่ ผู้ ป่ วย
ใ น ข ณ ะ ที่ ย า อ ยู่ ใ น ค ว า ม ค ว บ คุ ม ข อ ง
บุ ค ล า ก ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ผู้ ป่ ว ย ห รื อ
ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เ หตุ ก า รณ์ เ ห ล่ า นั้ น อ า จ
เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ป ฏิ บ ั ต ิ ท า ง วิ ช า ชี พ
ผลิต ภัณ ฑ สุ
์ ข ภาพ กระบวนการ และ
ระบบซึ่งรวมถึงการสั่ งใชยา การสื่ อสาร
ประเภทความคลาดเคลือ
่ นทางยา

ความคลาดเคลือ
่ นในการสั่ งใช้ยา
(Prescribing Error)


ความคลาดเคลือ
่ นในการคัดลอก
คาสั่ งใช้ยา (Transcribing Error)
ความคลาดเคลือ
่ นในการจายยา
่
(Dispensing Error)

ความคลาดเคลือ
่ นในการให้ยา
Prescribing Error
การเลือกใช้ยาผิด (โดยใช้หลักการเลือก
ยาตามข้อบงใช
ิ าร
่
้ ข้อห้ามใช้ ประวัตก
แพ้ ยาของผู้ ป่ วย ยาอื่น ๆที่ผู้ ป่ วยใช้ อยู่
การสั่ งใช้ ยาซ้ า ซ้ อน การสั่ งใช้ ยาที่
เกิดปฏิกริ ย
ิ าระหวางกั
น และปัจจัยอืน
่ ๆ)
่
การเลือ กขนาดยาผิด การเลือ กรูป แบบ
ยาผิด การสั่ งยาในจ านวนที่ผ ิด การ
เลือ กวิถ ีท างให้ ยาผิด การเลือ กความ
เข้มข้นของยาผิด การเลือกอัตราเร็ วใน
การให้ ยาผิด หรือ การให้ ค าแนะน าใน
Transcribing Error
ความคลาดเคลือ
่ นของการส่งตอหรื
อ
่
ถายทอดข
อมู
่
้ ลคาสั่ งใช้ยา โดยผาน
่
บุคคลกลางตางวิ
่ ชาชีพ อาจเป็ นการ
คัดลอกคาสั่ งใช้ยาจากคาสั่ งใช้ยา
ตนฉบั
บทีผ
่ ้สั
ู ่ งใช้ยาเขียนหรือการรับ
้
คาสั่ งทางวาจา โดยแบงเป็
่ น 2
ประเภท คือ ไมได
่ คั
้ ดลอก และ
คัดลอกผิด
Dispensing Error
ความคลาดเคลือ
่ นในกระบวนการจาย
่
ยาของฝ่ายเภสั ชกรรม ทีจ
่ ายยาไม
่
่
ถูกตองตามที
ร่ ะบุในคาสั่ งใช้ยา ไดแก
้
้ ่
ผิดชนิดยา รูปแบบยา ความแรงของ
ยา ขนาดยา วิธใี ช้ยา จานวนยาที่
สั่ งจาย
จายผิ
ดตัวผู้ป่วย จายยาที
่
่
่
่
เสื่ อมสภาพหรือหมดอายุ จายยาที
ไ่ มมี
่
่
คาสั่ งใช้ยา (Unauthorized drug) เตรียม
ยาผิด เช่นเจือจาง/ผสมผิด ใช้ภาชนะ
Administration Error
เกิดในขัน
้ ตอนการให้ยาแก่
ผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล (ไม่
รวมทีเ่ กิดจากผูป
้ ่ วยใช้ยาเองที่
บาน)
โดยเป็ นผลให้ไมเป็
้
่ นไป
ตามหลักการให้ยาทีถ
่ ก
ู ตอง
6R
้
รวมทัง้ การทีผ
่ ป
ู้ ่ วยไมได
่ รั
้ บยา
ตามทีแ
่ พทยสั์ ่ ง หรือไดรั
้ บยาที่
ประเภทของ
Administration Error
แบงตามขั
น
้ ตอน ดังนี้
่
การตัดสิ นใจทางคลินิกกอนให
่
้ยา
และการเตรียมยา
 การให้ยา
 หลังการให้ยา

การตัดสิ นใจทางคลินิกกอนให
่
้ยา
และการเตรียมยา
Dispensing กอน

1)
่
Administration
การให้ยาทีท
่ ราบว
าแพ
่
้
่ ป
ี ฏิกริ ย
ิ า
การให้ยาทีม
ระหวางกั
นของยา
่
3) การเตรียมยา
2)

การให้ยา
1)
การให้ยาไมครบ
(omission
่
error)
* ยกเว้น ผป. สมัครใจ หรือได้
ข้อมูลวาไม
ควรใช
่
่
้
2) การให้ยาผิดชนิด (wrong drug
error)
3)
การให้ยาทีผ
่ สั
ู้ ่ งใช้ยาไมได
่ สั
้ ่ง

การให้ยา (ตอ)
่
4) การให้ยาผิดคน (wrong
patients)
5) การให้ยาผิดขนาด
dose error)
(wrong
* การกาหนดช่วงความตาง
่
ขึน
้ กับชนิดของยา

การให้ยา (ตอ)
่
7)
การให้ยาผิดเวลา (wrong time
error)
8)
การให้ยามากกวาจ
่ ่ั ง
่ านวนครัง้ ทีส
(extra dose error)
* รวมทัง้ ให้ยาทีส
่ ่ ั ง off แลว
้ หรือ
9)
ชะลอการใช้
การให้ยาผิดเทคนิค
•
อัตราเร็วทีผ
่ ด
ิ (wrong rate of
ระยะเวลาทีผ
่ ้ป
ู ่ วยควรไดรั
้ บยา
 Emergency
ควรไดรั
้ บยาหลังจากแพทย ์
สั่ งยาทันที
 Stat dose ควรไดรั
้ บยาภายในเวลา 30
นาที
ฉุ กเฉิน /
◦ Definition (เฉพาะยาเรงด
่
่ วน
ไมใช
่ ่ Loading dose)
◦ กาหนดรายการยา-ขอบ
้ งใช
่
้สาหรับ
Stat order
 General

MMS
การให้ยา (ตอ)
่
10)การให้ยาผิดรูปแบบ
dosage form error)
(wrong

หลังให้ยา
ขาดการติดตามผล หรือ
อาการผิดปกติ จากการให้ยา
เช่น
 อาการอันไมพึ
่ งประสงคจาก
์
การใช้ยา
 ผูป
่ ป
ี ระวัตแ
ิ พยาแต
้ ่ วยทีม
้
่
จาเป็ นตองใช
้
้ยานั้น
MMS
Medication Error
2. ความเสี่ยงทางคลินิก (Clinic)
เหตุการณ์หรื อการดูแลรักษาที่อาจเกิด
อันตรายหรื อเหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์
กับผู้ป่วยผู้ป่วย
2.1ความเสี่ ยงทางคลินิกทัว่ ไป( Common
Clinical Risk)
ตัวอย่าง
1.การระบุตวั ผู้ป่วยผิดคน
2.ความคลาดเคลื่อนทางยา
3.ผู้ป่วยที่ได้ รับการวินิจฉัยว่ามีการติดเชื ้อในโรงพยาบาล
4.ผู้ป่วยพลัดตก ลื่น ล้ ม
5.ผ่าตัดผิดข้ าง ผิดคน ผิดตาแหน่ง
6.อาการไม่พงึ ประสงค์จากการใช้ ยา สารน ้า เลือด
7.ET tube/Catheter/drain เลื่อน หลุด
8.CPR ล่าช้ า ไม่ถกู ต้ องตามแนวทาง
9.ตามทีม Refer ล่าช้ า
การแบ่งระดับความรุนแรง
Clinical
แบ่ งเป็ น 9 ระดับ ดังนีค้ อื
Level A เหตุการณ์ ซึ่งมีโอกาสทีจ่ ะก่ อให้ เกิดความคลาดเคลือ่ น เกิดทีน่ ี่
Level B เกิดความคลาดเคลือ่ นขึน้ แต่ ยงั ไม่ ถึงผู้ป่วย เกิดทีไ่ หน
Level C เกิดความคลาดเคลือ่ นกับผู้ป่วยแต่ ไม่ ทาให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับอันตราย เกิดกับใคร
Level D เกิดความคลาดเคลือ่ นกับผู้ป่วยส่ งผลให้ มกี ารเฝ้ าระวังเพือ่ ให้ มนั่ ใจว่ าไม่ เกิด
อันตรายแก่ ผ้ ปู ่ วย ให้ ระวัง
Level E เกิดความคลาดเคลือ่ นกับผู้ป่วยส่ งผลให้ เกิดอันตรายชั่วคราว และต้ องมีการ
บาบัดรักษา ต้ องรักษา
การแบ่งระดับความรุนแรง
Clinical
แบ่ งเป็ น 9 ระดับ ดังนีค้ อื
Level F เกิดความคลาดเคลือ่ นกับผู้ป่วยส่ งผลให้ เกิดอันตรายชั่วคราวและต้ องนอน
โรงพยาบาลหรืออยู่โรงพยาบาลนานขึน้ เยียวยานาน
Level G เกิดความคลาดเคลือ่ นกับผู้ป่วยส่ งผลให้ เกิดอันตรายถาวรแก่ ผ้ ูป่วย
พิการถาวร
Level H เกิดความคลาดเคลือ่ นกับผู้ป่วยส่ งผลให้ ต้องทาการช่ วยชีวติ จาจรไปปั้ม
Level I เกิดความคลาดเคลือ่ นกับผู้ป่วยซึ่งอาจเป็ นสาเหตุของการเสี ยชีวิตทาใจลาโลก
Flow Chart ขัน้ ตอนการรายงานความเสี่ยงตามระดับความรุ นแรง
1.อุบตั ิการณ์ความเสี่ยง
ผู้พบเหตุการณ์ แก้ ไข
แจ้ งหัวหน้ าหน่วยงาน
2.บันทึกอุบตั ิการณ์ประเมินระดับความรุ นแรง
4.ระดับ E,F,G,H,I/1,2
3.ระดับ A,B,C,D,/3,4รุนแรงน้ อย
รุนแรงมาก
จัดเก็บเป็ นบัญชีความเสี่ยง/ PDCA ในหน่วยงาน
รายงานภายใน 1 เดือน
5.RM
(เลขาความ
เสี่ยง)
3.Sentinel
event
รายงานภายใน 1วัน
ทันที
6.Sentinel event ทีม RMเข้ าไปเพื่อแก้ ไข ไกล่เกลี่ย ลดผลกระทบภายใน 24 ชัว่ โมง
7. เฉพาะโปรแกรม ระดับ E,F,G,H,I/1,2และ Sentinel event ทารายงาน RCA
ภายใน 21 วัน RM/ทีม/หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
8.สรุปแนวทางการแก้ ไข
9.นโยบาย มาตรฐาน
RM/ทีม/หน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง
RM กกบ.
จัดเก็บเป็ นบัญชีความ
เสี่ยง/ PDCA ใน
หน่ วยงาน
ติดตาม ประเมิน ปรับเปลีย่ น
ช่ องทางการรายงาน online
ช่ องทางการรายงาน online
ส่ งเภสั ชกรณัฐพล ผลโยน ทุกสิ้นเดือน ทีห่ ้ องยาผู้ป่วยนอก
Medication Error ; ME
LASA
กาหนดรายการยาชื่อพ้ อง(Sound Alike)
1.Dopamine inj. และ Dobutamine inj. (ใช้ DOBU-tamine inj.)
2.Ranitidin tab. และ Rulid tab. (ใช้ ROXI-thromycin)
3.Hydralazine และ Hydoxyzine(ใช้ Atarax) และHyoscine (ใช้ Buscopan)
4.Aldomet และ Adalat (ใช้ Nifedipine)
5.Lasix inj. และ Losec inj. (ใช้ Omeplazone; LO-sec)
6.Ceftriazone และ Ceftazidime (ใช้ CEF-tazidime;Fortum)
7.Chlopromazine;CPZ และCarbamazipine;CBZ (ใช้ CARBA-mazipine ห้ ามย่อ)
8.Metformin และ Metfenamic acid (ใช้ Ponstan)
9.Nifedipine และ Nicardipine (ใช้ NICAR-dipine inj.)
Medication Error ; ME
LASA
กาหนดรายการยามองคล้ าย (Look Alike)
กลุ่มยานา้ ขวด GPO คือ Parcetamol, Salbutamol, Sodiumbicarb, GG,
M.Tussis
กลุ่มยาขวด Dry powder คือ Amoxycillin, Penicillin, MTV
กลุ่มยาฉีด
Ceftriazone และ Fortum
Vit B.co และ Vit B1-6-12
Gentamycin และ Metocloplamide
กลุ่มยาเม็ดสี ขาวกลม คือ CPZ, INH, Sodamint
ยาเม็ดสี เหลืองกลม คือ Folic acid, B.complex, Amitrip
ยาเม็ดสี เหลืองแบน คือ CPM, Bromhexine
ยาเม็ดสี ส้ม, Diclofenac, Dextromethophan
ยาในแผงสี เงินแบบ Blister pack คือ Omeplazone, Augmentin
ยาในแผงสี น้ าตาลแบบ Blister pack คือGLI-pizide, Thyroxine, HYDRA-lazine
กลุ่มยาเม็ด 2 ความแรง
10.1 Nifedipine 5, 10 mg.
10.2 Benzhexol 2, 5 mg
10.3 Nortrip 10, 25 mg
10.4 Dicloxacilline 250, 500 mg
10.5 Amoxicilline 250, 500 mg
Medication Error ; ME
LASA
กาหนดรายการยามองคล้ าย(Look Alike)
Ranitidinine inj. กับ Diclofenac inj.
พบอุบตั ิการณ์ที่ ER มีการคืนยาผิดช่อง ดาเนินการ
โดยไม่ Stock ยาที่ ER ทุกครั้งที่จะต้องฉี ดยา
diclofenac inj. พยาบาล Er จะขอจากห้องยา
Amiodarone tab. กับ Theophyline tab
พบอุบตั ิการณ์ที่ ห้องยาในมีการคืนยาผิดช่อง ขนาดยา 1 เม็ด
ดาเนินการโดย
theophyline ใส่ ซองสี ชา
Amiodaron ใส่ ซองสี ใส
Medication Error ; ME
LASA
กาหนดรายการยามองคล้ าย(Look Alike)
Augmentin inj. กับ Vancomycin inj.
พบอุบตั ิการณ์ที่ หอผูป้ ่ วยหญิงมีการจ่ายาผิดชนิด คือแพทย์สงั่ Augmentin inj.
และห้องยาจ่ายยาเป็ น Vancomycin inj. แต่ผสมยาไปแล้วจึงแจ้งว่าของยาใหม่
ห้องยาประสานงานจัดซื้อเปลี่ยนบริ ษทั ยาใหม่
Medication Error ; ME
LASA
กาหนดรายการยามองคล้ าย(Look Alike)
ชั้นวางยาติดสติ๊กเกอร์ชื่อLook A like
Medication Error ; ME
Drug Reconciliation
เภสัชกรดาเนินกิจกรรม Drug Reconciliation ก่อนแพทย์สงั่ ยา ผู้ป่วย
ในอกในคลินิกพิเศษปี 2555 ได้ แก่ Asthma ,COPD,คลินิกรักษ์ หวั ใจ ,
และปี 2556 ได้ แก่คลินิกรักษ์ ไต และแจกกระเป๋ าผ้ าผู้ป่วยเพื่อนายากลับมาด้ วย
ทุกครัง้
Medication Error ; ME
Drug Reconciliation
เภสัชกรดาเนินกิจกรรม Drug Reconciliation ก่อน Admit ผู้ป่วย
หากไม่มีประวัติหรื อมียาที่บ้านเมื่อญาตินามาพยาบาลจะนามาให้ เภสัชกร
ตรวจสอบ และคัดลอกลงใน chart
Medication Error ; ME
การบริหารยาผู้ป่วยใน
กาหนดรายการยาที่ต้องให้ ค่กู บั สารน ้าและห้ องยาจัดยาคู่กบั สารน ้าขนาด 100 ml ให้ เลย
Ceftriazone 2 g iv drip
Gentamycin
Amikacin
Phenytoin
Meropemam
Augmentin
Tranxamic acid
Clindamycin
Cloxacilin
Norepinephrin
Amiodarone
Medication Error ; ME
การบริหารยาผู้ป่วยใน
การบันทึกใบ MAR หากมีการสัง่ ให้ ค่กู บั สารน ้าจะบันทึกไป
สรุ ปอัตราการเกิด
Administration error ผู้ป่วยนอก
(ต่อพันใบสัง่ ยา)
สรุ ปอัตราการเกิด
Administration error ผู้ป่วยใน
ต่อพันวันนอน
สรุ ป จานวน Administration error
สรุ ป จานวน Administration error
สรุ ป Administration error THCP
แนวทางการจัดการ Administration Error
 ให้ ยาในอัตราเร็ วที่ผิด มีแนวโน้ มเพิ่มขึน
้ ดาเนินการจัดทา
การนิเทศทางการพยาบาล ณ หน้ างานทัง้ หัวหน้ างาน
กาหนดรายการยาที่ต้องมีการกาหนดอัตราเร็วในการให้ ยา
 ให้ ยาผิดเวลามีแนวโน้ มลดลง จากการดาเนินการให้ ทุก
หน่ วยงานบันทึกเวลาการให้ ยาในใบ MAR แบบ real
time
แนวทางการจัดการ Administration Error
พบการให้ ยาผิดคนในผู้ป่วยนอกในปี 2556 ดาเนินการโดย
ตรวจสอบการให้ ยาทุกครัง้ ใน ระบบ Hos XP และติดตาม
อาการหลังให้ ยาที่ OPD

การให้ ยาที่ไม่ ได้ ส่ ัง ให้ ยาไม่ ครบมีแนวโน้ มเพิ่มขึน้ ,การให้ ยา
ผิดชนิดมีแนวโน้ มคงที่ ดาเนินการตรวจสอบการให้ ยาด้ วยใบ
MAR ก่ อนให้ ยาทุกครัง้ ลดการ stock ยาที่หอผู้ป่วยและที่
ER ที่ ER ไม่ stock รายการยา Diclofenac inj.ที่ทา
ให้ เกิดความคลาดเคลื่อน จัดทาคู่ยาที่มักให้ ยาผิดทุก 6 เดือน

การประเมินการใช้ยา
( Drug Use Evaluation,DUE )
การประเมินการใช้ยา เป็ น
กระบวนการประกันคุณภาพการใช้ยาที่
ตองไปเป็
นอยางมี
ระบบ และตองท
า
้
่
้
อยางต
อเนื
่ ให้มีการใช้ยาอยาง
่
่ ่องเพือ
่
เหมาะสม ปลอดภัย และมี
ประสิ ทธิภาพ
แนวทางในการคัดเลือกยาเพือ
่ จัดทา DUE
1. เป็ นยาทีม
่ ค
ี วามถีข
่ องการสั่ งใช้สูง
2. เป็ นยาทีม
่ รี าคาแพง
3. เป็ นยาทีม
่ แ
ี นวโน้มทีจ
่ ะกอให
่
้เกิดอาการไมพึ
่ งประสงค ์
หรือ เกิดปฏิกริ ย
ิ ากับยา กับอาหารหรือกับการตรวจวินจ
ิ ฉัย
4. เป็ นยาทีใ่ ช้กับผู้ป่วยทีม
่ อ
ี ต
ั ราเสี่ ยงทีจ
่ ะเกิดอาการไมพึ
่ ง
ประสงค ์
5. เป็ นยาทีต
่ องใช
เช่น ยาที่
้
้ตามวิธเี ฉพาะเทานั
่ ้นจึงจะไดผล
้
ตองใช
่ งมือพิเศษ เป็ นตน
้
้เครือ
้
6. เป็ นยาทีก
่ าหนดในสถานพยาบาล นั้น ๆ เช่น ยาใน
บัญชี ง. ในบัญชียาหลักแหงชาติ
เป็ นตน
่
้
7. เป็ นยาทีม
่ แ
ี นวโน้มวาจะเป็
นพิษ ไดแก
่
้ ่ ยาที่
มี therapeutic index ตา่ เช่น theophylline, phenytoin,
lithium เป็ นตน
้
รายการยาทีท
่ า DUE
คณะกรรมการประเมินการใช้ยา พิจารณาจากรายการตามบัญชียา
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ธาตุพนม
เทียบกับรายการบัญชีกลุม
่ ง.และ จ(2) ของบัญชียาหลักแหงชาติ
่
และขอมู
้ ลปริมาณ(มูลคา)
่ การใช้ยา
ไดก
้ าหนดให้มีการทาDUE ตามรายการ โดยการรับรองจากมติ
คณะกรรมการเภสั ชกรรมและการบาบัด คือ
1. Meropenam
2. Imipenam/Cilastatin
3. Ciprofloxacin injection
4. Vancomycin
5. Augmentin injection
6. Losartan
7. Ceftaxidime
ขัน้ ตอนการปฏิบัติ
เมือ
่ แพทยสั์ ่ งใช้ยาตามรายการ DUE เภสั ชกรผู้รับคาสั่ งการใช้ยาจะเป็ นคน
เขียนใบ
ติดตามการสั่ งใช้ดังกลาวและแนบเอกสารลงในแฟ
่
้ มขอมู
้ ลของผู้ป่วยแตละราย
่
หาก
พบวาการสั
่ งใช้ไมตรงตาม
เกณฑมาตรฐานก็
จะทาการปรึกษากับแพทยที
่ ่ั ง
่
่
์
์ ส
ยานั้นๆ
Gold ของ DUE
 กระตุนให
้
้มีการใช้ยาอยางเหมาะสม
่
ไดการรั
กษาทีม
่ ค
ี ุณภาพและราคาของการ
้
รักษาเหมาะสมไมแพงเกิ
นไป
่
 ป้องกันและแกไขปั
ญหา DRPs ทีเ่ กิดขึน
้
้
 ปลอดภัยและมีประสิ ทธิภาพ
 ไดมาตรฐานตามที
ย
่ อมรับ
้
