สอนASU - โรงพยาบาลท่ายาง

Download Report

Transcript สอนASU - โรงพยาบาลท่ายาง

การใช้ ยาปฏิชีวนะสมเหตุผลใน 3 โรค
โครงการ Antibiotics Smart Use
โรงพยาบาลท่ ายาง
หยุดเรียก“ยาปฏิชวี นะ”ว่า“ยาแก้อ ักเสบ”
การอ ักเสบ
้ื
การอ ักเสบแบบติดเชอ
้ื แบคทีเรีย
ติดเชอ
้ื ไวร ัส
ติดเชอ
้ื
การอ ักเสบแบบไม่ตด
ิ เชอ
่ กล ้ามเนือ
เชน
้ อักเสบ ภูมแ
ิ พ ้ โรค SLE
• ยาสเตียรอยด์ (Steriods)
่ เตียรอยด์
• ยาแก ้อักเสบทีไ่ ม่ใชส
(NSAIDs)
ยาปฏิชวี นะ
้
ไม่ใชยาปฏิ
ชวี นะ
2
ยาปฏิชวี นะเป็น “ยาอ ันตราย”
ความหมายที่ 1:
ยาปฏิชวี นะเป็ นยาอันตราย
ตาม พรบ. ยา
4
ยาปฏิชวี นะเป็น “ยาอ ันตราย”
้
ความหมายที่ 2: อันตรายจากผลกระทบทีเ่ กิดขึน
้ จากการใชยาปฏิ
ชวี นะพร่า
เพรือ
่
• แพ ้ยา
้
• อาการข ้างเคียงจากการใชยา
ื้ ดือ
• เชอ
้ ยา
5
Antibiotic associated colitis (AAC)
• เกิดจาก Clostridium difficle toxin
• อาการ: ท้ องเสีย,ปวดท้ อง
• สาเหตุ: overgrowth ของเชื ้อ Clostridium difficle
• ยาที่เกิด: ampicillin,clindamycin,cephalosporin
• การรักษา: Vancomycin
Antibiotic Associated Colitis (AAC)
7
Antibiotic associated colitis (AAC)
Antibiotic associated colitis (AAC)
Antibiotic associated colitis (AAC)
อาการไม่พงึ
ประสงค์




11
Stevens-Johnson syndrome
• เกิดจากการแพ้ ยา
• ยาที่พบบ่อย: penicillin, sulfonamides
• มีผื่นแดงทัว่ ร่างกายร่วมกับการอักเสบของเยื่อบุใน
ช่องปาก,ตา
• ทาให้ ตาบอดได้
Stevens-Johnson syndrome
Toxic-epidermal necrolysis
• มีการหลุดลอกของผิวหนังเป็ นตุม่ พองน ้า
• ยาที่พบบ่อย: penicillin, sulfonamides
• เสียชีวิตจากภาวะติดเชื ้อแทรกซ้ อน
Toxic-epidermal necrolysis
Toxic-epidermal necrolysis
ANAPHYLAXIS
• Rash, angioedema
• Bronchospasm
• Shock
• การใช้ ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ าเพรื่ อ
ทาให้ เชื ้อดื ้อยาอย่างรวดเร็ว
• การดื ้อยาทาให้ ประชาชนทุกคนอยูใ่ น
อันตราย
18
Methicillin-Resistant Staphylococus aureus ( MRSA )
Penicillin-Resistant Streptococus pneumoniae ( PRSP )
Vancomycin-Resistant Enterococci (VRE)
Extended Spectrum Beta-lactamase producing bacteria (
ESBL )
• Multidrug Resistant (MDR) Acinetobacter and
Klebsiella
•
•
•
•
National Antimicrobial Resistance
Surveillance, Thailand ( NARST )
• Acinetobacter
– 1998 : 98% susceptible to imipenem
– 2006 : only 43% susceptible to imipenem
• E.coli
– 1999 : 90% susceptible to ceftriaxone
– 2006 :only 68% susceptible to ceftriaxone
ิ ศก
ั ดิ์ มาศมหิศก
ั ดิ์
ทีม
่ า: Slide บรรยายโดย นพ.เชด
20
การใช้ยาปฏิชีวนะ
อย่างไม่เหมาะสม
เกิดขึน้ บอ่ ยมาก
ทีม
่ า: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล
21
Inappropriate use of antibiotics in
teaching hospitals
ทีม
่ า: Slides บรรยายโดย ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล
Country
Inappropriate
use (%)
Type/department
USA (1978)
41%
All inpatients
Canada (1980)
63%
Pediatric surgical
patients
Australia (1983)
48%
All departments
Australia (1990)
64%
Patients treated
with vancomycin
91%
All departments
Thailand (1990)
22
Hogerzeil HV. Promoting rational prescribing: An international perspective. Br J Clin Pharmac. 1995;39:1-6
้ าปฏิชวี นะพรา
การใชย
่ เพรือ
่ =
การทาร้ายครอบคร ัวและคนรอบข้าง


ื้ ดือ
่ นอืน
เชอ
้ ยาแบ่งตัว และถ่ายทอดจากคนหนึง่ สูค
่ ๆ
ั ผัส
ได ้ ผ่านทางการไอ จาม การกิน และการสม
ี่ งสูงจากการติดเชอ
ื้ ดือ
ผู ้มีความเสย
้ ยา
 เด็ก
 คนแก่
 คนทีเ่ ป็ นเบาหวาน
 คนทีม
่ ภ
ี ม
ู ต
ิ ้านทานโรคตา่ หรือบกพร่อง
23
ิ
Mariana bridi: นางแบบชาวบราซล
24
ั ์ มาศมหิศกดิ
ั ์
ิ ศกดิ
ปร ับปรุงจาก: Slide บรรยายโดย นพ.เชด
ี ชวี ต
ื้ ดือ
เสย
ิ ในวัยเพียง 20 ปี ...เพราะเชอ
้ ยา
แพทย์ตด
ั มือและเท ้าทัง้ สองข ้าง
ิ (พยายาม
ของนางแบบชาวบราซล
ทีจ
่ ะรักษาชวี ต
ิ เธอไว ้ แต่ไม่สาเร็จ)
25
สถานการณ์ยาปฏิชวี นะในประเทศไทย
• มูลค่าการผลิตและนาเข ้าของยาฆ่า
ื้ /ยาปฏิชวี นะสูงเป็ นอันดับ 1
เชอ
้
ติดต่อกัน 3 ปี ซอน
– คิดเป็ น 1.6 หมืน
่ ล ้านบาท หรือเฉลีย
่
เกือบ 1 ใน 4 ของมูลค่ายาทัง้ หมด
้
• คนไทยใชยาปฏิ
ชวี นะพร่าเพรือ
– ต่างจังหวัดกินยาปฏิชวี นะรักษาหวัด
คิดเป็ นร ้อยละ 40-60 และสูงถึงร ้อย
ละ 70-80 ใน กทม.
้
• โรงเรียนแพทย์พบการใชยาปฏิ
ชวี นะ
ไม่สมเหตุผลถึง 30-90%
้
• รายงาน ADR พบปั ญหาจากการใชยา
ื้ /ยาปฏิชวี นะสูงเป็ นอันดับ 1
ฆ่าเชอ
ื้ ดือ
• อัตราเชอ
้ ยาเพิม
่ สูงถึงร ้อยละ 25-50
ื้ ดือ
้ ยาสูงขึน
้ แต่การ
• ขณะทีอ
่ ัตราเชอ
คิดค้นยาปฏิชวี นะใหม่กล ับลดลง
– ตลาดยาปฏิชวี นะไม่คุ ้มทุน เพราะไม่
ื้ ดือ
นานก็เกิดเชอ
้ ยา
วิธท
ี ด
ี่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ ในการแก้ปญ
ั หา คือ
้ าปฏิชวี นะอย่างพรา
หยุดใชย
่ เพรือ
จุดเริม
่ ต ้นของโครงการ
Antibiotics Smart Use
26
เป้าหมายโครงการ Antibiotics Smart Use
้
• เป้าหมายหล ัก: ลดการสงั่ ใชยาปฏิ
ชวี นะของบุคลากรทางการแพทย์ในการ
้
รักษาผูป
้ ่ วยนอกทีป
่ ่ วยด ้วย 3 โรคเป้าหมาย ทีพ
่ บบ่อยซงึ่ เป็ นโรคทีไ่ ม่ต ้องใชยา
ปฏิชวี นะ
– โรค URI (หวัด-เจ็บคอ)
– ท ้องร่วงเฉียบพลัน
– แผลเลือดออก
• เหตุผล
้
– บุคลากรทางการแพทย์ – เพราะเป็ นผู ้สงั่ ใชยาโดยตรง
และเป็ นแบบอย่างของการใช ้
ยาทีผ
่ ู ้ป่ วยและคนรอบข ้างมักจดจาไปทาตาม
้
– ผูป
้ ่ วยนอก – ผู ้ป่ วยนอกทีส
่ ข
ุ ภาพทั่วไปแข็งแรง และอายุ 2 ปี ขน
ึ้ ไป จึงไม่ต ้องใชยา
ปฏิชวี นะ
้
– 3 โรคเป้าหมาย – เพราะเป็ นโรคทีพ
่ บบ่อย หายได ้เองไม่ต ้องใชยาปฏิ
ชวี นะ
• เป้าหมายอีกชุด คือ:
้
– พัฒนาเป็ นนโยบายระด ับประเทศเกีย
่ วกับการใชยาปฏิ
ชวี นะ ซงึ่ เป็ นนโยบายทีป
่ ฏิบต
ั ิ
ได ้จริงในพืน
้ ที่ (bottom-up policy development)
้
– ปลูกฝั งฐานความคิดเกีย
่ วกับการใชยาที
ส
่ มเหตุผล
27
ั ยภาพเครือข่ายด ้านการใชยาอย่
้
– พัฒนาและเพิม
่ ศก
างสมเหตุผล
้ าปฏิชวี นะอย่างสมเหตุผล
เกณฑ์การประเมินด้านการใชย
แบบที่ 2 (สปสช)
ระดับ 5
ระดับ 4
มีการดําเนินการในระดับ 4
ครบถ วน และ
 มีการนําผลการประเมิน
ที่ได้ ไปใช้ ในการปรับปรุ ง
และพัฒนาระเบียบ ข้ อ
ปฏิบัตใิ นการควบคุมการสั่ง
ใช้ ยาปฏิชีวนะ
 มีการทํากิจกรรมใน
ระดับที่ 3-5 อย่ างต่ อเนื่อง
และยัง่ ยืน
ดําเนินการในระดับ 3
อย างครบถ วน
และ
 มีการจัดกิจกรรม
รณรงค์ในชุมชน
เกีย่ วกับการใช้ ยา
ปฏิชีวนะใน 3 โรค
 มีผลการประเมิน
ปริมาณและมูลค่าการใช้
ยาปฏิชีวนะในโรคทั้ง 3
เป็ นประจําในแต่ ละ
เดือน
ระดับ 3
มีการดําเนินการ ในระดับ 2 และ
 มีคณะกรรมการหรือ
หน่ วยงานหรือบุคคลที่ควบคุม
กํากับให้ มีการสั่งใช้ ยาปฏิชีวนะที่
สําคัญอย่ างเหมาะสม
 มีนโยบายให้ มีการสั่งใช้ ยาใน
บัญชียาหลักแห่ งชาติก่อน
ระดับ 0
ยังไม่ได้ ดาเนินการ
ระดับ 2
ระดับ 1
 มีการกําหนด
ระเบียบข้ อปฏิบัตใิ น
การควบคุมการสั่งใช้
ยาปฏิชีวนะใน 3 โรค
ได้ แก่
URI
 ท้ องเสี ย
เฉียบพลัน
 แผลเลือดออก
อย่ างชัดเจน
มีการ
ดําเนิน
การบาง
ข้ อ
28
บุคลากรทางการแพทย์
คนไข้ และประชาชนทั่วไป
29
URI
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่ วนบน
Sinusitis
กรณีที่อาจให้ ยาปฏิชีวนะ : หูช้ันกลางอักเสบ และไซนัสอักเสบ
•การมีไข้ ปวดหู โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากมีอาการหลังจากการเป็ นหวัด
บ่งชี้ถึงการติดเชื้อในหูช้ นั กลาง ซึ่งอาการต่างๆ ดีข้ ึนได้ภายใน 72
ชัว่ โมง ในผูป้ ่ วยเด็กส่ วนใหญ่โดยไม่ได้รับยาปฏิชีวนะ
• หากอาการไม่ดีข้ ึนภายใน 72 ชัว่ โมง
- ให้กิน amoxicillin นาน 5 วัน
- ให้ Erythromycin (Roxithromycin) หากแพ้เพนิซิลลิน
ถ้ าไม่ สามารถเพาะเชื้อ GAS ได้ จะวินิจฉัยอย่างไร และต้ องรักษานานถึง 14 วันหรือไม่
ต่ อมทอนซิลอักเสบหรือคอหอยอักเสบ
จากเชื้อ Group A beta hemolytic streptococcus (GABSH)
 มีไข้สูงเช่น 38๐C ร่ วมกับอาการเจ็บคอมาก
มีจุดขาวที่ต่อมทอนซิ ล ลิ้นไก่บวมแดง มีฝ้าขาวที่ลิ้น
อาจมีจุดเลือดออกที่เพดานปาก
ไม่มีอาการของโรคหวัด (เช่น น้ ามูก ไอ จาม ที่เด่นชัด)
*****รักษานาน 10 วันเพื่อป้ องกัน rheumatic fever*****
ยาปฏิชีวนะที่ใช้
• Penicillin V
– 500 mg tid ac ×10 วัน
– เด็ก: 250 mg tid ac ×10 วัน (เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครัง้ )
• Amoxicillin
– 500 mg tid pc ×10-14 วัน
– เด็ก: 25-50 mg/kg/day tid ac ×10-14 วัน หากเป็ นไซนัสอักเสบให้ 8090 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครัง้
• Roxithromycin
– 150 mg bid pc or 300 mg od pc ×10-14 วัน
– เด็ก: 100 mg bid pc ×10-14 วัน หรื อใช้ Erythromycin 30-50 mg/kg/day qid ac
URI
ไม่ให้ยาปฏิชวี นะ
ื้
• เกิดจากการติดเชอ
ไวรัส
• มีน้ ามูกมาก จาม
ี งแหบ ตา
บ่อย เสย
แดง มีผน
ื่ ตามตัว มี
่ งปาก
แผลในชอ
ถ่ายเหลว ไอมาก
etc.
• หวัดในระยะใกล ้
หายนา้ มูกจะ
เปลีย
่ นเป็นสเี ขียว
เหลือง
44
URI
ให้ยาปฏิชวี นะ
ื้
• เกิดจากการติดเชอ
Group A Beta
hemolytic
Streptococcus
• มีไข ้สูงร่วมกับ
อาการเจ็บคอมาก
มีจด
ุ ขาวทีต
่ อ
่ ม
ิ มีตอ
ทอนซล
่ ม
น้ าเหลืองใต ้คอโต
ลิน
้ ไก่บวมแดง มี
จุดเลือดออกที่
เพดานปาก
45
ไข้สง
ู 39๐C
ิ
หนองทีต
่ อ
่ มทอนซล
จุดเลือดออกทีเ่ พดานปาก
ั
ไม่มอ
ี าการหว ัด (นา้ มูก ไอ) ทีเ่ ด่นชด
46
Group A Strep
Rheumatic fever
Impetigo
ข้อควรรู้
• การมีน ้ามูกหรื อเสมหะข้ น หรื อสีเขียวเหลืองไม่ได้ บง่ ชี ้ว่าต้ องทานยาฆ่า
เชื ้อ
• อาการไข้ สงู เพียงอย่างเดียวไม่ใช่ข้อบ่งชี ้ว่าต้ องทานยาฆ่าเชื ้อ เพราะ
อาจเป็ นโรคอื่นได้ เช่น ไข้ หวัดใหญ่ ไข้ เลือดออก
Acute Diarrhea
ท้ องเสี ยเฉียบพลัน
ท้องร่วง
• จากตัวอย่าง 1.4 ล ้านรายทีก
่ รมควบคุมโรคได ้รับรายงาน พบว่า
ื้ แบคทีเรียได ้จากอุจจาระ
โรคท ้องร่วงเฉียบพลันทีส
่ ามารถเพาะเชอ
มีเพียง 5.6 % และมีเพียง 0.3% ทีเ่ ข ้าข่ายต ้องได ้ยาปฏิชวี นะ
(98.7% ไม ้ต ้องได ้ยาปฏิชวี นะ)
• ไม่ให ้ยาปฏิชวี นะใน อาหารเป็ นพิษ หรือ viral infection
• ให ้ยาปฏิชวี นะในผู ้ป่ วยทีม
่ อ
ี าการต่อไปนี้
– ไข ้ 38ºC ขึน
้ ไป และ
– อุจจาระมีเลือดปนเห็นได ้ด ้วยตาเปล่าหรือตรวจพบเม็ด
เลือดแดงและเม็ดเลือดขาวในอุจจาระ
52
โรคท้องร่ วงเฉี ยบพลัน
• การให้ ยาฆ่าเชื ้อควรให้ เฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการร่วมดังนี ้
– ไข้ สงู > 38๐c
– อุจจาระเป็ นมูกหรื อมีเลือดปนเห็นได้ ด้วยตาเปล่า หรื อ ตรวจพบWBC,RBCใน
อุจจาระ
• ยาฆ่าเชื ้อที่ควรใช้ คือ norfloxacin
– ผู้ใหญ่ 400 มก. วันละ 2 ครัง้ นาน 3-5 วัน
– เด็ก 15-20 มก./กก./วัน แบ่งวันละ 2 ครัง้ นาน 5 วัน (หากเป็ นเด็กที่ต่ากว่า 5
ปี ให้ ตามแพทย์เสมอ)
ข้อควรรู้
• เป้าหมายสาคัญที่สดุ ในการรักษาไม่ใช่ยาฆ่าเชื ้อ แต่เป็ นการให้ สารน ้า
และเกลือแร่ทดแทนที่สญ
ู เสียไปกับอุจจาระ
• ยาบางตัวไม่แนะนาให้ ใช้ ในกรณีท้องร่วง ได้ แก่ buscopan, imodium,
lomotil เป็ นต้ น
• การให้ activated charcoal หรื อ ultracarbon สามารถให้ ได้ ไม่เป็ นพิษ
ราคาถูกและช่วยลดความกังวลใจแก่ผ้ ปู ่ วย โดยทาน 1-2 เม็ด วันละ 2-4
ครัง้
แผลเลือดออก
บาดแผลฉี กขาด
•บาดแผลฉีกขาดที่ผิวหนังที่มาถึง
หน่วยบริ การภายใน 6 ชัว่ โมง และ
ไม่ได้ เกิดจากการผ่าตัดหรื อสัตว์กดั
บาดแผลสะอาด(ไม่ให้ antibiotic)
• บาดแผลเปิ ดที่มีขอบเรี ยบสามารถล้ างทาความสะอาดได้ งา่ ย
• บาดแผลที่ไม่มีเนื ้อตาย
• บาดแผลที่ไม่มีสิ่งสกปรกติดอยูภ่ ายในเช่น เศษดิน หากมีก็
สามารถล้ างออกได้ โดยง่าย
• บาดแผลที่ไม่ปนเปื อ้ นกับสิง่ ที่มีแบคทีเรี ยจานวนมากเช่น
อุจจาระ, มูลสัตว์, น ้าครา
• ไม่ใช่บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื อ้ น
บาดแผลทีม่ โี อกาสติดเชื้อได้ มากกว่ าปกติ (ให้ antibiotic)
•
•
•
•
•
บาดแผลที่มีสงิ่ ปนเปื อ้ น
บาดแผลจากการบดอัด เช่น โดนประตูหนีบอย่างแรง
แผลที่เท้ า
แผลที่มีขอบหยึกหยัก
บาดแผลในผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื อ้ รัง,
ผู้ป่วยหลอดเลือดส่วนปลายตีบ, ผู้ป่วยที่มีภมู ิต้านทาน
โรคต่า รวมถึงผู้ป่วยที่ทานยากดภูมิต้านทานเช่น ยา
steroid
บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้ อน
• บาดแผลถูกวัตถุทิ่มเป็ นรูซงึ่ ยากต่อการทาความสะอาด
ได้ ทวั่ ถึง
• บาดแผลซึง่ มีเนื ้อตายเป็ นบริ เวณกว้ าง
• บาดแผลซึง่ มีสงิ่ สกปรกติดอยูใ่ นบาดแผล เช่น เศษดิน
• บาดแผลที่ปนเปื อ้ นกับสิง่ ที่มีแบคทีเรี ยจานวนมากเช่น
อุจจาระ, มูลสัตว์, น ้าครา
• ให้ Antibiotic= Amoxicillin/clavulonic acid
หลักการให้ ยาปฏิชีวนะในการป้องกันการติด
เชื้อของบาดแผลฉีกขาด
• การให้ ยาปฏิชีวนะในกรณีนี ้เป็ นการให้ ยาเพื่อ
ป้องกันการติดเชื ้อ จึงให้ ยานานแค่ 48 ชัว่ โมง
• เมื่อครบ 48 ชัว่ โมง หากบาดแผลมีการอักเสบ
ให้ ยาต่อไปได้
ให้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสะอาดเมื่อ
•
•
•
•
แผลที่เท้ า
แผลที่มีขอบหยึกหยัก
บาดแผลจากการบดอัด
บาดแผลในผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื อ้ รัง, ผู้ป่วย
หลอดเลือดส่วนปลายตีบ, ผู้ป่วยที่มีภมู ิต้านทานโรคต่า รวมถึง
ผู้ป่วยที่ทานยากดภูมิต้านทานเช่น ยา steroid
• ยาที่ใช้ คือ Dicloxacillin
Dose : 250 mg qid ac × 2 วัน
เด็ก : 125 mg qid ac or 25-50 mg/kg/day × 2 วัน
บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้ อน
• ให้ ยาปฏิชีวนะแก่ผ้ ป
ู ่ วยทุกราย
Amoxicillin/clavulonic acid (Augmentin)
: 375 mg tid pc or 625 mg bid pc × 2 วัน
เด็ก: 156 mg tid pc × 2 วัน
แผลเลือดออก
บาดแผลที่
ไม่ตอ
้ งให้ antibiotic
• บาดแผลเปิ ดทีม
่ ข
ี อบเรียบ
ล ้างทาความสะอาดได ้ง่าย
• บาดแผลทีไ่ ม่มเี นือ
้ ตาย
• บาดแผลทีไ่ ม่มส
ี งิ่ สกปรกติด
่ เศษดิน หากมีก็
อยูภ
่ ายในเชน
สามารถล ้างออกได ้โดยง่าย
• บาดแผลทีไ่ ม่ปนเปื้ อนกับสงิ่ ที่
่
มีแบคทีเรียจานวนมากเชน
ั ว์, น้ าครา
อุจจาระ, มูลสต
่ าดแผลทีม
• ไม่ใชบ
่ ส
ี งิ่ ปนเปื้ อน
ให ้เพือ
่ ป้ องกัน
Dicloxacillin 2 วัน
(8 เม็ด)
บาดแผลทีต
่ อ
้ งให้
antibiotic เพือ
่ ป้องก ัน





บาดแผลทีม
่ ส
ี งิ่ ปนเปื้ อน
่
บาดแผลจากการบดอัด เชน
โดนประตูหนีบอย่างแรง
แผลทีเ่ ท ้า
แผลทีม
่ ข
ี อบหยึกหยัก
บาดแผลในผู ้ป่ วยเบาหวาน,
ผู ้ป่ วยโรคพิษสุราเรือ
้ รัง, ผู ้ป่ วย
หลอดเลือดสว่ นปลายตีบ, ผู ้ป่ วย
ทีม
่ ภ
ี ม
ู ต
ิ ้านทานโรคตา่ รวมถึง
ผู ้ป่ วยทีท
่ านยากดภูมต
ิ ้าน
77
่ ยา steroid
ทาน เชน
Antibiotics Smart Use เพือ
่ ใคร
• สงั คม ลูกหลาน และประเทศชาติ
• คนไข ้
• บุคลากรทางการแพทย์ – พรบ. พิจารณาคดี
ผู ้บริโภค
78
79
ประเมินผล
ตัวชวี้ ด
ั
1.
2.
3.
4.
้ ABO
ปริมาณการใชยา
ื่ มัน
้
ความรู ้ ความเชอ
่ ความตัง้ ใจ ก่อนและหลังอบรมของผู ้สงั่ ใชยา
สุขภาพและความพึงพอใจของคนไข ้ทีไ่ ม่ได ้ยา ABO
ร ้อยละคนไข ้ทีไ่ ม่ได ้ยา ABO ใน 3 โรคเป้ าหมาย
81
Source: Green & Krenter, 1999
่ ประดิษฐ์ และคณะ (2552)
ทีม
่ า: นิธม
ิ า สุม
้
โครงการสง่ เสริมการใชยาอย่
างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use: การนาร่องในจังหวัดสระบุร ี (working manuscript)
กรอบแนวคิดของ ASU ตาม Precede-Proceed Planning Model
#
อนและ
ขนที
ั้ 2 ความรู
่ 5 ้ ความเชื่อมัน่ ความตั้งใจขก่นที
ั้ ่ 4
อบรมของผูส้ ั่งใช้ยา
วินจ
ิ หลั
ฉ งัยนโยบาย
วินจ
ิ ฉ ัยสาเหตุ
และการบริหาร
มาตรการ
่ เสริมสุขภาพ
สง
การให้ ความรู้
Health
education
มาตรการอื่นๆ:
- นโยบายหรื อ
การควบคุม
- บริ หารจัดการ
- การจูงใจ
ขนที
ั้ ่ 3
วินจ
ิ ฉ ัยพฤติกรรม
& สงิ่ แวดล้อม
# 1 ปริ มาณการใช้ยา ABO
# 4 ร้อยละคนไข้ที่ไม่ได้ยา
ABO ใน 3 โรคเป้ าหมาย
ปั จจัยนา
ความรู้ ทัศนคติ
ความเชื่อมัน่ ความตังใจ
้
ปั จจัยเสริม
การร้ องขอยาจากคนไข้
ปั จจัยเอือ้
การมียาทดแทนยา ABO
อุปกรณ์ตรวจโรค
พฤติกรรม
การสั่งใช้ ยา
ปฏิชีวนะ
สิ่งแวดล้ อม
ใน รพ.
(และชุมชน)
ขนที
ั้ ่ 6
การลงมือ
ปฏิบ ัติ
ขนที
ั้ ่ 7
ประเมินกระบวนการ
(Process evaluation)
ขนที
ั้ ่ 1
วินจ
ิ ฉ ัยด้าน
ั
สงคม
ขนที
ั้ ่ 2
วินจ
ิ ฉ ัยด้าน
ระบาดวิทยา
ขนที
ั้ ่ 8
ประเมินผลกระทบ
(Impact evaluation)
สุขภาพ
ของคนไข้
คุณภาพชวี ต
ิ
# 3 สุขภาพและความพึงพอใจ
ของคนไข ้ทีไ่ ม่ได ้ยา ABO
ขนที
ั้ ่ 9
ประเมินผลล ัพธ์ 82
(Outcome evaluation)