การส่ งเสริมการอ่ านให้ เป็ นวาระแห่ งชาติเพือ่ สร้ างสั งคมแห่ งการเรียนรู้ แห่ งตลอดชีวติ.

Download Report

Transcript การส่ งเสริมการอ่ านให้ เป็ นวาระแห่ งชาติเพือ่ สร้ างสั งคมแห่ งการเรียนรู้ แห่ งตลอดชีวติ.

การส่ งเสริมการอ่ านให้ เป็ นวาระแห่ งชาติเพือ่
สร้ างสั งคมแห่ งการเรียนรู้ แห่ งตลอดชีวติ
“การอ่านเป็ นทักษะหรือเครือ่ งมือที่สาคัญ
ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์”
“นิสยั รักการอ่านไม่ข้ นึ อยู่กบั อาชีพ
แต่ข้ นึ กับความสนใจ”
รัฐบาลให้ความสาคัญในการรณรงค์ให้
เด็กไทยรักการอ่าน โดยถือเป็นวาระแห่งชาติ
รายงานจากสานักสถิติแห่งชาติพบว่า
การอ่านหนังสือของเด็กไทยอ่านหนังสือวัน
ละไม่เกิน 8 บรรทัด หรือจากเดิม 52 นาที
ต่อวัน เหลือเพียง 39 นาที เนื่องจากเด็ก
และเยาวชน ส่วนใหญ่ใช้เวลาไปกับการเล่น
คอมพิวเตอร์และด ูโทรทัศน์มากขึ้น
เมื่อ 5 สิงหาคม 2552
1. การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ
2. วันที่ 2 เมษายน ของท ุกปีเป็นวันรักการอ่าน
3. ปี 2552-2561 เป็นทศวรรษแห่งการอ่าน
4. ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการอ่านเพื่อ
สร้างสังคมแห่งการเรียนรูอ้ ย่างเป็นรูปธรรม
คนไทยท ุกคนได้รบั การพัฒนา
ความสามารถและปล ูกฝังนิสยั รัก
การอ่านเพิ่มขึ้น ด้วยบรรยากาศและ
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านเพื่อ
สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการ
เรียนรูต้ ลอดชีวิต
1. ปล ูกฝังค ุณค่าการอ่านท ุกร ูปแบบ
2. พัฒนาความสามารถในการอ่าน
3. พัฒนาสื่อ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
4. ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของท ุกภาคส่วน
1. ประชากรวัยแรงงานมีการอ่านเพิม่ ขึน้ จากร้ อย
ละ 97.21 เป็ นร้ อยละ 99.00
2. เด็กไทย อายุ 15 ปี ขึน้ ไปมีการอ่านเพิม่ ขึน้ จาก
ร้ อนละ 92.64 เป็ นร้ อยละ 95.00
3. ค่ าเฉลีย่ การอ่านหนังสื อของคนไทยเพิม่ ขึน้ จาก
ปี ละ 5 เล่ม เป็ น 10 เล่ม
4. แหล่งการอ่านครอบคลุมทุกพืน้ ทีอ่ ย่ างทั่วถึง
5. สร้ างภาคีเครือข่ ายการอ่าน/การเรียนรู้ตลอดชีวติ
อย่ างยัง่ ยืน
3 ย ุทธศาสตร์หลักในการส่งเสริมการอ่าน
1. พัฒนาคนไทยให้มีความสามารถในการอ่าน
2. พัฒนาคนไทยให้มีนิสยั รักการ่าน
3. สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการอ่านให้ยงั่ ยืน
5 แผนงาน 20 โครงการ
แผนงานที่ 1 รณรงค์สร้างนิสยั รักการอ่าน
 ประชาสั มพันธ์ จูงใจรักการอ่ าน
 อัศจรรย์ การอ่ าน-อ่ านสะสมแต้ ม
 รณรงค์ ส่งเสริมการอ่ านเพือ่ ชีวติ
 ส่ งเสริมการอ่ านในวาระสาคัญๆ
 คาระวานการอ่ าน
5 แผนงาน 20 โครงการ
แผนงานที่ 2 เพิ่มสมรรถนะการอ่าน
 Bookstart “แรกรักอ่าน”
 พัฒนาทักษะการอ่านวัยเรียน
 พัฒนาการอ่านตามอัธยาศัย
 เสริมทักษะการอ่าน e-Book
 คลินิกภาษาไทย
 อบรมครูภาษาไทย
5 แผนงาน 20 โครงการ
แผนงานที่ 3 สร้างบรรยากาศและ
สิ่งแวดล้อมการอ่าน
 พัฒนาบุคลากร
 ส่ งเสริมการพัฒนาและผลิตหนังสื อ
 แนะนาหนังสื อดีที่ควรอ่าน
 พัฒนาเว็ปไซต์ ส่งเสริมการอ่าน
 ห้ องสมุด 3 ดี
5 แผนงาน 20 โครงการ
แผนงานที่ 4 เครือข่ายความร่วมมือการอ่าน
 สร้ างเอกภาพและความเข้ มแข็ง
ของเครือข่ ายส่ งเสริมการอ่าน
 อาสาสมัครส่ งเสริมการอ่าน
5 แผนงาน 20 โครงการ
แผนงานที่ 5 วิจยั และพัฒนาส่งเสริมการอ่าน
 รวบรวม สรุปงานวิจัยส่ งเสริมการอ่าน
 พัฒนาให้ บรรลุเป้าหมาย “ทศวรรษการอ่าน”
1.นิสยั รักการอ่าน
2.ความสามารถในการอ่าน
3.บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการอ่าน
บ้าน ที่ทางาน ที่สาธารณะ และ
สถานศึกษาต้องร่วมกันสร้างบรรยากาศ
เพื่อส่งเสริมการรักการอ่านให้เด็กในระบบ
และนอกระบบ รวมถึงผูใ้ หญ่ดว้ ย เป็ นการ
ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิต
ประกอบด้วย
“หนังสือดี”
หมายถึง หนังสือ และสือ่ การเรียนรูด้ ี มีคุณภาพ
มีเนื้อหาสาระถูกต้อง ไม่เป็ นพิษเป็ นภัย และตรงใจ
ผูอ้ ่านในรูปสือ่ สิง่ พิมพ์ สือ่ อิเล็กทรอนิกส์และสือ่ อืน่ ๆ
เพือ่ ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรูข้ องประชาชน
ทุกกลุ่มเป้าหมาย
“บรรยากาศดี”
หมายถึง ห้องสมุดประชาชนที่เอื้อต่อการอ่าน
การเรียนรู ้ การค้นคว้า อุดมไปด้วยความรู ้ ความบันเทิง
และเชื้อเชิญให้ทุกคนเข้ามาใช้บริการเสมือนหนึง่
เป็ นบ้านหลังที่สอง สะอาด ร่มรืน่ ปลอดโปร่งและ
ปลอดภัย
ภายนอกห้องสมุด
ตัวอาคาร-สวยงาม,สะอาด
สะอาด,สวยงาม
มุมความรูเ้ ศรษฐกิจ
พอพียง
ร่มไม้,ไม้ยืนต้น
สวนหย่อม
สวนหย่อม
สวนหย่อม,
มุมความร ้ ู
สวนหย่อม
สวนหย่อม,น้าพุ
สวนหย่อม,
ป้ายยินดีตอ้ นรับ
ผักสวนครัว
ในกระถาง
2.บรรยากาศภายใน
แสงสว่าง---แสงตามธรรมชาติ,แสงไฟฟ้า
ฝ้าเพดาน
ผนัง---สีสวย,สบายตา
ที่นงั ---ที่นงั่ เตียง,ที่นงั่ กลมุ่ ,กึ่งนัง่ กึ่งนอน
การแบ่งโซน---เงียบกริบ,สงบพอค ุยได้บา้ ง,ส่วนกิจกรรม
กลิ่น---ห้องน้า,ส่วนติดต่อ,ส่วนอ่านหนังสือ
อ ุณหภูมิ---ห้ามร้อนเด็ดขาด
บรรยากาศ
ภายใน
บรรยากาศ
ภายใน
บรรยากาศ
ภายใน
บรรยากาศ
ภายใน
บรรยากาศ
ภายใน
บรรยากาศ
ภายใน
“บรรณารักษ์ดี”
หมายถึง บรรณารักษ์และบุคลากรผูป้ ฏิบตั ิงาน
ห้องสมุด บุคลิกต้อนรับ,เป็ นกันเอง,ยิ้มแย้มแจ่มใส,พูด
เก่งพอดี,มีจติ บริการ,มีความรูล้ กึ รูร้ อบ รูก้ ว้าง รูไ้ กล
ทันสมัย ทันความเปลีย่ นแปลงของสังคม เป็ นนักจัด
กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู ้ เป็ นผูบ้ ริหาร
จัดการความรูท้ ่ีดี และเป็ นผูป้ ฏิบตั ิงานอย่างมีความสุข
กิจกรรมภายใน
ห้องสมุด
กิจกรรมภายใน
ห้องสมุด
กิจกรรม
นอกสถานที่
นิทรรศการ,
ห้องสมุด
เคลื่อนที่
กิจกรรม
นอกสถานที่
นิทรรศการ,
ห้องสมุด
เคลื่อนที่
จัดกิจกรรม
นอกสถานที่
จัดกิจกรรม
1. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเน้นทักษะการอ่าน
- เล่านิทาน
- แข่งขันตอบปั ญหา
- ห้องสมุดเคลื่อนที่
- ค่ายรักการอ่าน
- ยอดนักอ่าน
2. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เน้นการ
เผยแพร่ขา่ วสาร
- เสียงตามสาย
- วันสาคัญ
- ย่ามหนังสือสูช่ มุ ชน
- แหล่งความรูใ้ นท้องถิ่น
- นิทรรศการ
3. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เน้นการ
แก้ไข และพัฒนา
- คลินกิ หมอน้อย
- พี่ชว่ ยน้อง
- ให้ความรูก้ ารใช้หอ้ งสมุด
- แข่งขันเปิ ดพจนานุกรม
4. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เน้นพัฒนา
ทักษะอันต่อเนื่อง
- หนูนอ้ ยนักล่า
- เล่าเรื่องจากภาพ
- โต้วาที
- เรียงความยุวทูตความดี
วิธีที่ 1.ใช้เวลาสบายๆของครอบครัว เพื่อส่งเสริมการอ่าน
- ใช้เวลาว่างพ่อแม่อ่านหนังสือให้ล ูกฟัง
วิธีที่ 2.เลือกหนังสือดีที่เด็กสน ุก
- เลือกหนังสือดีที่มีค ุณภาพ เป็นการผูกพันให้
เด็กรักการอ่าน
วิธีที่ 3.ให้เด็กได้รเ้ ู รื่องราวหลากหลาย
- หนังสือเกี่ยวกับนิทานชาดก,เรื่องประวัติศาสตร์,
ประวัติบ ุคคลสาคัญ
วิธีที่ 4.มีกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิด
- ระดับต้น จาเข้าประย ุกต์ใช้
- ระดับสูง วิเคราะห์สังเคราะห์ประเมิน
วิธีที่ 5.ใช้ทกั ษะนาฏการในการเล่า
- มีศิลปะในการเล่า เช่น แยกเสียงบรรยาย,
เล่าอย่างมีชีวิตชีวา,ออกเสียงชัดเจน,มีความส ุขในการเล่า
วิธีที่ 6.ใช้กิจกรรมศิลปะเชื่อมโยงกับการอ่าน
- เช่น วาดร ูประบายสี ทาละคร ร้องเพลง
วิธีที่ 7.สอนให้รจ้ ู กั สกัดความรแ้ ู ละจับใจความสาคัญ
- เช่น การจับใจความสาคัญในการอ่าน
วิธีที่ 8.ต่อยอดจากประสบการณ์เดิมของผูเ้ รียน
- เช่น จัดกระบวนการเรียนร ้ ู ปล ูกฝังนิสยั
รักการอ่าน
วิธีที่ 9.นาเด็กสูโ่ ลกแห่งวรรณคดี
- ส่งเสริมให้เด็กอ่านหนังสือวรรณกรรม เช่น
พระอภัยมณี นิทานชาดก รามเกียรติ์ พระราชพิธีสิบสอง
เดือน กาพย์เห่เรือ (เจ้าฟ้ากง้ ุ ) อิเหนา
วิธีที่ 10.พัฒนาทักษะภาษาสูโ่ ลกกว้าง
- การอ่านทาให้รจ้ ู กั ตนเอง และรจ้ ู กั โลก
“สวนด ุสิตโพล” สารวจความคิดเห็นของ
นักเรียน ครูอาจารย์ ผูป้ กครอง
และประชาชนทัว่ ไป
1. ความถี่ในการใช้บริการห้องสมุดประชาชน
ภาพรวม
อันดับ 1 มากกว่า 4 ครัง้ ต่อเดือน 32.61%
อันดับ 2 น้อยกว่าเดือนละครัง้
21.74%
อันดับ 3 เดือนละ 1-2 ครัง้
19.56%
อันดับ 4 เดือนละ 3-4 ครัง้
18.48%
อันดับ 5 ท ุกวัน
7.61%
2. ค ุณลักษณะของบรรณารักษ์ที่ดี/น่าประทับใจ
ภาพรวม
อันดับ 1 ยิ้มแย้ม แจ่มใส เป็นมิตร อารมณ์ดี มน ุษยสัมพันธ์ 27.62%
อันดับ 2 มีจิตวิญญาณในการให้บริการ รักงานบริการ เต็มใจบริการ
และชอบช่วยเหลือผูใ้ ช้บริการ
22.65%
อันดับ 3 รอบรใ้ ู นงานที่ตนรับผิดชอบ ตัง้ ใจทางาน/ใส่ใจในงาน
สามารถให้ขอ้ มูลกับผูใ้ ช้บริการได้อย่างถ ูกต้อง
19.89%
อันดับ 4 สื่อสารชัดเจน อัธยาศัยดี พูดจาไพเราะ ไม่จจ้ ู ้ ี ขี้บ่น ไม่พดู
เสียงดัง
16.57%
อันดับ 5 มีมารยาทดี นิสยั ดี มีน้าใจ รก้ ู าลเทศะ ใจเย็น สขุ ุม
และตรงต่อเวลา
4.97%
2. ค ุณลักษณะของบรรณารักษ์ที่ดี/น่าประทับใจ (ต่อ)
ภาพรวม
อันดับ 6 บ ุคลิกลักษณะดี ชวนมอง หน้าตาดี/สวย
2.76%
อันดับ 7 รักอาชีพบรรณารักษ์ รักการอ่านหนังสือ
2.21%
อันดับ 8 มีความคิดทันสมัย สร้างสรรค์ และเฉลียวฉลาด 1.65%
อันดับ 9 มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ รักษากฎระเบียบ
1.10%
อันดับ 10 หมัน่ ทาความสะอาด และด ูแลรักษาอ ุปกรณ์อานวยความ
สะดวกภายในห้องสมุด
0.58%
3. ความคาดหวังของผูใ้ ช้บริการที่มีต่อการให้บริการห้องสมุด
ภาพรวม
อันดับ 1 มีหนังสือหรือสื่อการอ่านต่างๆที่หลากหลาย ทันสมัย ใหม่
และครบช ุด
23.13%
อันดับ 2 มีบรรณารักษ์/เจ้าหน้าที่นิสยั ดี มารยาทดี และเต็มใจ
ให้บริการ/มีความรท้ ู างบรรณารักษ์ศาสตร์
17.91%
อันดับ 3 ห้องสมุดต้องทันสมัย สะอาด เงียบ และบรรยากาศดี/จัด
แสดงแผนผังห้องสมุด
13.43%
อันดับ 4 มีคอมพิวเตอร์ให้สืบค้นข้อมูลอย่างพอเพียง/ระบบยืม-คืน
ทันสมัย/มีเครือ่ งตรวจจับการขโมยหนังสือ
11.94%
อันดับ 5 มีสิ่งอานวยความสะดวกครบครัน สภาพดี และพอเพียง เช่น
3. ความคาดหวังของผูใ้ ช้บริการที่มีต่อการให้บริการห้องสมุด
ภาพรวม
อันดับ 6 หนังสือจัดเป็นหมวดหมู่ สามารถหาหรือหยิบ
อ่านได้สะดวก
8.96%
อันดับ 7 มีหอ้ งสมุดกระจายทัว่ ท ุกช ุมชน
5.22%
อันดับ 8 รักษากฎระเบียบการใช้บริการห้องสมุดกับผูใ้ ช้บริการอย่าง
เสมอภาค
4.49%อันดับ 9 มีหนังสือสาหรับผูพ
้ ิการ
2.98%อันดับ10 เปิดให้บริการท ุกวัน และมีเวลาให้บริการที่ยาวนาน
2.24%