โครงสร้างสภาเยาวชนเขต - สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน

Download Report

Transcript โครงสร้างสภาเยาวชนเขต - สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน

การขับเคลือ่ นและเงือ่ นไขสู่ ความสาเร็จ
ของ
สภาเด็กและเยาวชนกรุ งเทพมหานคร
โดย... สุ ภาวดี บุญแก้วล้อม
นักวิชาการศูนย์ เยาวชน 7 ว
ศูนย์ เยาวชนกรุงเทพมหานคร(ไทย-ญีป่ ุ่ น)
สานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่ องเที่ยว
กรุงเทพมหานคร
องค์ ประกอบที่สาคัญ
ข้อ 1. เยาวชนเป็ นกระบอกเสียงในฐานะคณะทางานเขตฯ
1. นโยบาย
ด้านเยาวชน
(วาระแห่งเมือง)
ข้อ 2. จัดสรรพืน้ ที่เพื่อเป็ นเวทีสร้างสรรค์ กิจกรรมสาธารณประโยชน์
ข้อ 3. สภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร
2. ระเบียบกทม. ว่ าด้ วยสภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539
สภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร
โครงสร้าง
สภาเยาวนเขต 50 เขต
3. มีหน่ วยงานที่มีหน้ าที่ในการดูแลและสนับสนุน
กิจกรรมของสภาเยาวชนกทม. และสภาเยาวชนเขต
อื่นๆ
4. ได้รบั การจัดสรรงบประมาณในการดาเนินโครงการ
/กิจกรรม
5.เปิดโอกาสให้เยาวชนสามารถแสดงความคิดเห็นต่อ
กรุงเทพมหานครในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเยาวชน
โครงสร้ างสภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร
สานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่ องเที่ยว
สานักงานเขต
ศู นย์ เยาวชนกรุงเทพมหานคร(ไทย-ญี่ปน)
ุ่
ผู้อานวยการเขต
สมาชิกสภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร 100 คน
ประธานคณะกรรมการ
สภาเยาวชนเขต
50 เขต
สมาชิกสภาเยาวชนเขต
ยืน่ ใบสมัครและ
ได้ รับการอนุมตั จิ าก
ผู้อานวยการเขต
ผู้แทนกลุ่มเยาวชน
50 คน
ผู้แทนจากสถาบันการศึกษา
ในพืน้ ที่ กทม. 24 คน
ผู้แทนจากศู นย์
เยาวชน 10 คน
ผู้แทนจากกลุ่ม
กิจกรรม 12 คน
ผู้แทนจากกลุ่มผู้พกิ าร
และผู้ด้อยโอกาส
4 คน
จัดทาทะเบียนเป็ น
สมาชิกสภาเยาวชนเขต
คณะกรรมการสภาเยาวชน
เขต ไม่ เกิน 15 คน
ประธานคณะกรรมการสภา
เยาวชนเขต 1 คน
รองประธานคณะกรรมการ
สภาเยาวชนเขต 2 คน
เลขานุการสภาเยาวชนเขต
1 คน
ตาแหน่ งอืน่ ๆ ตามมติสภา
เยาวชนเขต ไม่ เกิน 11 คน
โครงสร้ างสภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร
ตามข้อ 10 ประกอบด้วย สมาชิกสภาเยาวชนกรุ งเพทมหานคร จานวน 100 คน ได้แก่
1. ประธานคณะกรรมการสภาเยาวชนเขต 50 เขตๆละ 1 คน รวม
50 คน
2. ผูแ้ ทนกลุ่มเยาวชน จานวน 50 คน ประกอบด้วย
2.1 ผูแ้ ทนจากสถาบันการศึกษาในพื้นที่กรุ งเทพมหานคร จานวน 24 คน
2.2 ผูแ้ ทนจากกลุ่มกิจกรรม
จานวน 12 คน
2.3 ผูแ้ ทนจากศูนย์เยาวชนในสังกัดกรุ งเทพมหานคร
จานวน 10 คน
2.4 ผูแ้ ทนจากผูพ้ ิการและผูด้ อ้ ยโอกาส
จานวน 4 คน
รวม 100 คน
โดยให้สภาเยาวชน มีประธานสภาเยาวชน 1 คน รองประธานสภาเยาวชน 2 คน
และเลขานุการสภาเยาวชน 1 คน โดยมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2553
มีวาระการดารงตาแหน่ง 3 ปี
โครงสร้ างสภาเยาวชนเขต
ตามข้อ 28,29 และ 34 ประกอบด้วย เยาวชนจากชุมชน ศูนย์เยาวชน สถาบันการศึกษา ผูแ้ ทนกลุ่ม
กิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่เขตนั้นโดยไม่จากัดจานวน ซึ่งได้ยนื่ ขอสมัครเป็ นสมาชิกสภาเยาวชนเขต
และต้องได้รับการอนุมตั ิจากผูอ้ านวยการเขต ซึ่งผูอ้ านวยการเขต หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมายจะต้อง
ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการเลือกตั้งคณะกรรมการสภาเยาวชนเขตกันเอง (ดารงตาแหน่ง
3 ปี ไม่เกิน 2 วาระ) จานวนไม่เกิน 15 คน ประกอบด้วย
1. ประธานสภาเยาวชนเขต
จานวน
1 คน
2. รองประธานสภาเยาวชนเขต
จานวน
2 คน
3. เลขานุการสภาเยาวชนเขต
จานวน
1 คน
4. ตาแหน่งอื่นๆ ตามมติของสภาเยาวชนเขต จานวนไม่เกิน
11 คน
ทั้งนี้เมื่อมีการเลือกตั้งคณะกรรมการสภาเยาวชนเขตกันเอง ผูอ้ านวยการเขตจะต้องลงนามในคาสัง่
แต่งตั้งคณะกรรมการฯ และส่ งสาเนาคาสัง่ ให้ สวท. เพื่อรวบรวมรายชื่อประธานสภาเยาวชนเขต 50 คน
เพือ่ นาเรียนผู้ว่า ราชการกรุงเทพมหานครลงนามในคาสั่ งแต่ งตั้งสมาชิกสภาเยาวชน กทม. รวม 100 คน
อานาจหน้ าทีข่ องสภาเยาวชน
สภาเยาวชนกรุงเทพมหานคร
1. อานาจหน้าที่ ตามข้อ 8 ดังนี้
(1) เสนอแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อ
กรุ งเทพมหานคร ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเยาวชน
(2) ประสานงานระหว่างเยาวชน กลุ่มเยาวชน
หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อดาเนินงานให้เป็ นไป
ตามวัตถุประสงค์ของสภาเยาวชน
(3) เลือกและตั้งคณะกรรมกรรมด้านต่าง ๆ
เพื่อดาเนินกิจกรรมตามมติของสภาเยาวชน
(4) ส่ งเสริ ม สนับสนุน และจัดกิจกรรมเพื่อเยาวชน
(5) ศึกษา รวบรวม ติดตามและประเมินผลการ
ดาเนินงานของสภาเยาวชน และเครื อข่ายสภาเยาวชน
(6) จัดการประชุมสภาเยาวชนและเครื อข่าย
สภาเยาวชน
(7) จัดทาแผนงานประจาปี เสนอต่อ กทม.
สภาเยาวชนเขต
1. อานาจหน้าที่ ตามข้อ 37 ดังนี้
(1) เสนอแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อ
ผูอ้ านวยการเขต สภาเยาวชนกรุ งเทพมหานคร หรื อ
หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ
เยาวชน
(2) ดาเนินกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อเยาวชนและ
สังคม
(3) ร่ วมกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อดาเนินการแก้ไข
ปัญหาเยาวชนในขอบเขตที่สามารถกระทาได้
(4) แต่งตั้งคณะทางานเพื่อดาเนินกิจกรรม หรื อศึกษา
เรื่ องใด ๆ ตามที่คณะกรรมการสภาเยาวชนเขตเห็นสมควร
(5) รับฟังความคิดเห็นของสมาชิกสภาเยาวชนเขตเพื่อ
ใช้ประกอบการดาเนินงาน
(6) จัดการประชุมสมาชิกสภาเยาวชนเขต
โครงการมหกรรม TEEN TOWN
(เวทีสาธารณะเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม
ของคนกรุงเทพมหานคร)
กระบวนการทางานในโครงการ Teen Town
4
3
2
1
ศึกษาข้อมูล
เยาวชน
จัดประชุมทา
ความเข้าใจ
ตัวแทน
เยาวชน
ค้นหาข้อมูลจาก
เอกสารต่างๆ
จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์
สถานการณ์เยาวชน
โดยวิทยากรที่มีประสบการณ์
3.1
ประชุม
เตรียมการ
ประชุม
เตรียมการ
3.2
เวที
สาธารณะ
เวที
สาธารณะ
ประชุม
เตรียมการ
เวที
สาธารณะ
ประชุม
เตรียมการ
เวที
สาธารณะ
ประชุม
เตรียมการ
ประชุม
เตรียมการ
สรุปเพื่อร่าง
นโยบายเยาวชน
และจัดมหกรรม
Teen Town
เวที
สาธารณะ
เวที
สาธารณะ
จัดประชุมเพื่อจัดทา
ยุทธศาสตร์ในการ
ดาเนินงานเยาวชน
จัดมหกรรม Teen Town
และจัดประชาสัมพันธ์
ยุทธศาสตร์การดาเนินงาน
เยาวชน
จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ เยาวชน
“ยุทธศาสตร์ด้านเยาวชน
กรุงเทพมหานคร”
(3 ยุทธศาสตร์ 10 ยุทธวิธี)
“กรุงเทพฯ...มหานครแห่งพลังเยาวชน”
(BANGKOK : CITY OF YOUTH)
เพื่อให้ การพัฒ นาให้ กรุงเทพฯ เป็ นมหานคร
แห่ ง การสร้างสรรค์ และหนุ น เสริมพลัง ของเยาวชน
อย่ างแท้ จริง โดยการกาหนดนโยบายการผลักดัน
“CITY OF YOUTH” ให้ เป็ นวาระของกรุงเทพมหานคร
3 ยุทธศาสตร์ 10 ยุทธวิธี
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พลังเยาวชน (POWER Of YOUTH) :
เพื่อแปรเปลี่ยนทุกพลังเยาวชนในทุกมิติ และหนุน
เสริมศักยภาพของเยาวชน ให้เป็ นพลังสร้างสรรค์สิ่งดี
งามในสังคม โดยมียทุ ธวิธีในการขับเคลื่อนดังนี้
- สโมสรเยาวชน (Youth Club)
: ส่งเสริมให้เกิดชมรม กลุ่มกิจกรรมต่างๆ ของเยาวชน
ไม่น้อยกว่า ๓,๐๐๐ ชมรม ภายใน ๓ ปี
: ส่งเสริมให้เกิดชมรม “เพื่อนวัยรุน่ ”
- พืน้ ที่สร้างสรรค์สาหรับเยาวชน (Youth Space)
: เพิ่มพืน้ ที่ดี สร้างสรรค์สาหรับเยาวชน อาทิ พืน้ ที่สาหรับ
การทากิจกรรมที่หลากหลาย เป็ นพืน้ ที่ในการเรียนรู้
พืน้ ที่นันทนาการ พืน้ ที่ในการพัฒนาความคิดและ
บุคลิกภาพ รวมถึงพืน้ ที่ทางสารสนเทศ (Cyber Space)
: ให้หน่ วยงานของกรุงเทพมหานคร หน่ วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เปิดกว้างในการให้บริการ
ที่รองรับต่อความสนใจ เพื่อให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม
มากยิ่งขึน้ อาทิ บ้านหนังสือ ลานกีฬา โรงเรียนดนตรี
: สนับสนุนสื่อ อุปกรณ์ที่ทนั สมัยให้เพียงพอกับความสนใจ
ของเยาวชน
- สร้างประสบการณ์เยาวชน (Youth Experience)
: เปิดโอกาสให้เยาวชนมีประสบการณ์ตรงในกิจกรรมที่
หลากมิติ วัย ความสนใจ และ Life style
- สร้างสรรค์การเรียนรูส้ าหรับเยาวชน (Youth Learning)
: เพิ่มกิจกรรมในระบบการศึกษาตามความสนใจที่
หลากหลายของเยาวชน ในโรงเรียน สถาบันการศึกษา
มหาวิทยาลัย โดยเพิ่มเวลา สื่ออุปกรณ์การเรียนที่
ครบถ้วน เพียงพอ
: มีหลักสูตรการฝึ กอบรม ค่ายเยาวชน เพื่อพัฒนา
บุคลิกภาพ ความคิด อย่างทัวถึ
่ งทุกเขต เพื่อให้เกิดการ
เห็นคุณค่าในตนเอง
- มิติทางการสื่อสารสาหรับเยาวชน (Youth Channel)
: เพิ่มพืน้ ที่ในการสื่อสารเรือ่ งราวต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ
เยาวชนผ่านช่องทางต่างๆ อาทิ Internet
: เปิดโอกาสให้เยาวชนมีบทบาทในการสื่อสารเรือ่ งราวของ
เยาวชนผ่านช่องที่หลากหลาย อาทิ วิทยุ โทรทัศน์ Internet
- เครือข่ายเยาวชน (Youth Social Network)
: พัฒนาระบบการส่งเสริม สนับสนุนงานเยาวชนที่เชื่อมโยง
จากสภาเยาวชนเขตสู่สภาเยาวชนกทม. พร้อมมีระบบ
การดูแลสวัสดิการที่เหมาะสม
: เชื่อมโยง สร้างเครือข่ายสภาเยาวชนกรุงเทพมหานครกับสภา
เยาวชนจังหวัดอื่นๆภายในประเทศ และสภาเยาวชนต่างประเทศ
- เยาวชนอาสา (Youth Volunteer)
: แก้ไขระเบียบกรุงเทพมหานคร ให้เยาวชนสามารถ
มีบทบาทและมีส่วนร่วมในคณะกรรมการชุมชนได้
: ส่งเสริมสนับสนุนให้เยาวชนรวมกลุ่มทากิจกรรม
เพื่อสาธารณะประโยชน์ จิตอาสา
: ส่งเสริมให้เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน เขต
มูลนิธิ องค์กรเอกชน อาทิ ชมรมสิ่งแวดล้อม
ศูนย์เฝ้ าระวังยาเสพติด โดยมีการอบรมให้ความรู้
อย่างต่อเนื่ อง
- วัฒนธรรมแห่งเยาวชน (Youth Culture)
: ส่งเสริมให้เยาวชนสร้างวัฒนธรรมในการใช้ชีวิตใน
รูปแบบเมืองที่เหมาะสม ภายใต้โครงการดังนี้
1) ค่ายเยาวชนเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ
2) การจัดมหกรรมพลังเยาวชนสร้างสรรค์เมือง เช่น
- โครงการ KIDS ปล่อยของ
- โครงการ “Road Center”
- โครงการมหกรรมเยาวชน (Youth Festival)
เนื่ องในสัปดาห์วนั เยาวชนแห่งชาติ
3) มิติทางการสื่อสารสาหรับเยาวชน (Youth Channel)
เช่น
- โครงการวิทยุกระจายเสียงเยาวชนเพื่อเยาวชน
กรุงเทพใต้ (DJ Youth) ของกลุ่มเขตกรุงเทพใต้
- โครงการเว็บไซด์สร้างสรรค์สาหรับเยาวชน
กรุงเทพมหานครของกลุ่มเขตกรุงธนใต้
- โครงการ Open house Bangkok youth council
ของกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง
ยุทธศาสตร์ 2 พลังสนับสนุนเยาวชน (ENRICHED
YOUTH ENVIRONMENT) สนับสนุนให้กทม. เป็ น
“City of Youth” ด้วยการสนับสนุนให้ทกุ ฝ่ ายมีส่วนร่วม
ในการสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในทุกระดับ
ตัง้ แต่ครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และสังคม
ภายใต้โครงการดังนี้
1) โครงการเยาวชนต่อต้านยาเสพติดและความรุนแรง
(นาร่องที่สนข. ภาษี เจริญ) ของกลุ่มเขตกรุงธนใต้
2) โครงการค่ายเยาวชนกทม. พัฒนาสิ่งแวดล้อมของกลุ่ม
เขตกรุงเทพตะวันออก
ยุทธศาสตร์ 3 ทรัพยากรกทม. เพื่อเยาวชน
(RESOURCE FOR YOUTH) สนับสนุนการพัฒนา
เยาวชนด้วยสรรพทรัพยากรที่มีในกรุงเทพมหานคร
อย่างเต็มที่ โดยมียทุ ธวิธีในการขับเคลื่อนดังนี้
- เชื่ อ มโยงการทางานทุ ก ภาคส่ ว น ทรัพ ยากรทุ ก ด้ า น
ของกรุง เทพมหานคร เพื่ อ สนั บ สนุ น งานเยาวชนอย่ า ง
เป็ นระบบ
- พัฒนาบุคลากรที่ทางานด้านเยาวชนของกทม. ภาคี
เครือข่ายด้านเด็กและเยาวชนให้เป็ นบุคลากรที่อยู่ในระดับ
แนวหน้ า
ภายใต้โครงการดังนี้
1) โครงการ Rally เพื่อเยาวชนผูด้ ้อยโอกาสของกลุ่มเขต
กรุงธนเหนื อ
2) โครงการ Youth Idol หรือ Leader youth Idol ของ
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
3) โครงการแนวร่วมก๊วนเยาวชนของกลุ่มเขตกรุงเทพ
ตะวันออก
4) โครงการสวัสดิการเยาวชนและเสริมสร้างสัมพันธภาพใน
ครอบครัวของกลุ่มเขตกรุงเทพเหนื อ
5) โครงการจ้างเอกชนติดตามและประเมินผลสภาเยาวชน
กทม.
ธง=เพือ่ พัฒนาเยาวชน ผลักดันให้เกิดTEEN TOWN = เมืองโอกาสสาหรับเยาวชน
• มีส่วนร่วมจริง
• มีพนื้ ที่
• พัฒนา Youth Culture
พืน้ ทีด่ ี
-เรียนรู้
-สันทนาการ
-พัฒนาความคิด
-พืน้ ที่ทางสังคม
ชมรมเยาวชน
(กายภาพ/สังคม
/สื่อ)
บูรณาการ• เกิดนโยบายต่อเนื่ อง
หน่ วยงาน• สภาเยาวชนที่เข็มแข็ง
การมีส่วนร่วม
ประกวด
กิจกรรมเยาวชน
- ระเบียบชุมชนให้มีเยาวชนเป็ น
- ชุมชน
คณะกรรมการ
- สิง่ แวดล้อม
- จัดองค์กรเยาวชนกทม.ให้ชดั เจน
- ประชาธิปไตย
- ขยายกลุ่มเยาวชนอาสาให้กว้างขึน้
- ฯลฯ
- พัฒนาจากระดับกลุ่ม,ชุมชนสู่เขต
∂ เขต มีฝ่ายดูแลงานเด็ก เยาวชน
เพื่อบูรณาการทุกหน่ วยงาน
∂ ส่งเสียงสะท้อน Outside In
กทม.
เขต
มีชีวิต –มีกิจกรรม
หลากหลาย/
พืน้ ที่
หลากมิติ
ครอบคลุมทุกกลุ่ม
- เด็กพิเศษ
- ในระบบ/
นอกระบบ
- พืน้ ที่เขต/ศูนย์เยาวชน ฯลฯ
- สนง.เขตให้ความสาคัญ
- เชื่อมกับงานชุมชนของกทม.ที่
กาลังเดินอยู่
คุณลักษณะพึงประสงค์ของ
เยาวชนในกทม.
1. มีจิตอาสา
2. เห็นคุณค่าในตัวเอง
3. ร่วมพัฒนาสังคม
4. ใช้ความดีเป็ นฐานของชีวิต
5. ฝ่ าวิกฤติด้วยความเข้มแข็ง
* Setting ทีต่ ้ องสนใจ
• ครอบครัว
• โรงเรียน
• ชุมชน
• สังคมวงกว้าง
KEY WORD
Nurture
Opportunity
Knowledge
Participation
Appreciation
Continuity
MAPPING
ภาครัฐ
เอกชน
กองทุนสวัสดิการ
เด็กและเยาวชน
ระดมมาจากทุกภาคส่วน
กทม.เชื่อม
องค์กร/
บุคคล ที่
ทางานด้าน
เด็ก เครือข่าย
ภาคี
บุคคล
NGOs
สร้างตัวชี้วดั ของ กทม.
เช่น – สร้างพืน้ ที่ดี
ลดพืน้ ที่เสี่ยง ฯลฯ
เน้ นการเรียนรู้ด้วยการปฏิบตั ิ มากขึน้
มีความเข้าใจเรื่องเยาวชน- ชุมชนใส่ใจ / แผนชุมชนมีเรื่องเยาวชน
- ประชุมเยาวชน/บทบาทเยาวชนในชุมชน
พืน้ ที่ที่เยาวชนมา
- ลานกีฬา ลานกิจกรรม ฯลฯ มีชีวิต
รวมตัวกัน
“Youth BKK Model”
วาระ
กทม.
* สานักงานเขต
* ชุมชนเข้าใจ
คน
ทางาน
พัฒนาคนทางาน
ด้านเด็ก
แสวงหา
คนทางานด้าน
เด็ก
สร้างแกนนา
พัฒนา
แกนนา
แกนนา
พัฒนา
แนวคิด
เยาวชน
ฝึ กอบรม
เพิม่ พืน้ ที่
ทางสั งคม
ให้ โอกาส
ทางานด้ าน
เด็ก
เชิดชู
เยาวชน
สร้ างสรรค์
ลงมือ
ทา
นาเสนอ
ผลงาน
-ฝึ กอบรมแกนนา -ความถนัด กีฬา
-จิตอาสา ดนตรี
-พบ Idol
วิชาการ
มีส่วน
ร่ วมกับ
ปัญหา
การเมือง
จริงๆ
มีส่วน
ร่ วมกับ
ปัญหา
สั งคมจริงๆ
จัดเวที
ให้ ทุน
สร้ าง
เครือข่ าย
การเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
Event
สื่ออื่นๆ :
TV ,Web,
วิทยุ