บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา

Download Report

Transcript บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา

ทฤษฎี
และหล ักการพ ัฒนาชุมชน
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิง์ าม
บทที่ 1
้ งต้นเกีย
ความรูเ้ บือ
่ วก ับการพ ัฒนา
•
•
•
•
ความหมายของการพัฒนา
ลักษณะของการพัฒนา
ความเป็ นมาของการพัฒนา
แนวความคิดเกีย
่ วกับการพัฒนา
ความหมายของการพ ัฒนา
ั
1. ความหมายตามรูปศพท์
การพัฒนา มาจากคาภาษาอังกฤษว่า “Development”
แปลว่า การเปลีย
่ นแปลงผ่านลาดับขัน
้ ตอนต่าง ๆ ไปสูร่ ะดับที่
สามารถขยายตัว เติบโต มีการปรับปรุงให ้ดีขน
ึ้ และเหมาะสม
กว่าเดิม
2. ความหมายโดยทว่ ั ไป
หมายถึง การกระทาให ้เกิดการเปลีย
่ นแปลงจากสภาพหนึง่
่ ภาพหนึง่ ทีด
ไปสูส
่ ก
ี ว่าอย่างเป็ นระบบ โดยเน ้นความหมายถึง
การเปลีย
่ นแปลงในเชงิ คุณภาพ
ความหมายของการพ ัฒนา
• 3. ความหมายทางเศรษฐศาสตร์
่
การพัฒนา หมายถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เชน
ผลผลิตมวลรวมของประเทศเพิม
่ ขึน
้ รายได ้ประชาชาติเพิม
่ ขึน
้
• 4. ความหมายทางพ ัฒนบริหารศาสตร์
การพัฒนามีความหมาย 2 ระดับ คือความหมายอย่างกว ้างกับ
อย่างแคบ
อย่างแคบ
หมายถึง การเปลีย
่ นแปลงในระบบให ้ดีขน
ึ้
อย่างกว้าง หมายถึง กระบวนการของการเปลีย
่ นแปลง
ในตัวระบบทัง้ ในด ้านคุณภาพ ปริมาณ และสงิ่ แวดล ้อม ในสมัย
ปั จจุบน
ั เรียกกระบวนการนีว้ า่ การเปลีย
่ นแปลงอย่างมีบรู ณาการ
ความหมายของการพ ัฒนา
• 5. ความหมายทางเทคโนโลยี
การพัฒนา หมายถึง การเปลีย
่ นแปลงระบบอุตสาหกรรม
และการผลิตด ้วยเทคโนโลยีทท
ี่ น
ั สมัย หรืออาจเรียกว่า การ
เปลีย
่ นแปลงสภาพแวดล ้อมมนุษย์ด ้วยเทคโนโลยี
6. ความหมายทางการวางแผน
ั ชวน การ
ในการวางแผน การพัฒนา หมายถึง การชก
กระตุ ้นให ้เกิดการเปลีย
่ นแปลง ด ้วยการปฏิบต
ั ก
ิ ารตามแผนและ
โครงการอย่างจริงจัง เป็ นไปตามลาดับขัน
้ ตอนต่อเนือ
่ งกันเป็ น
ิ้ สุด
วงจร โดยไม่มก
ี ารสน
ความหมายของการพ ัฒนา
• 7. ความหมายทางพุทธศาสนา
การพัฒนา มาจากภาษาบาลีวา่ “วัฒนะ” แปลว่า เจริญ
ซงึ่ แบ่งออกได ้เป็ น 2 สว่ น คือ
่ น เชน
่
การพัฒนาคน และการพัฒนาสงิ่ อืน
่ ๆ ทีไ่ ม่ใชค
การสร ้างถนน บ่อน้ า อ่างเก็บน้ า เขือ
่ น เป็ นต ้น
ั
• 8. ความหมายทางสงคมวิ
ทยา
การพัฒนา หมายถึง การเปลีย
่ นแปลงโครงสร ้างทาง
ั พันธ์ทาง
สงั คม ซงึ่ ได ้แก่ คน กลุม
่ คน การจัดระเบียบความสม
สงั คม ทีเ่ รียกว่า “การจัดระเบียบสงั คม”
ความหมายของการพ ัฒนา
• 9. ความหมายทางด้านการพ ัฒนาชุมชน
นักพัฒนาชุมชนให ้ความหมายไว ้ว่า การพัฒนา หมายถึง
การทีค
่ นในชุมชนและสงั คมโดยสว่ นรวมได ้ร่วมกันดาเนินกิจกรรม
เพือ
่ ปรับปรุงความรู ้ความสามารถของตนเอง และร่วมกัน
เปลีย
่ นแปลงคุณภาพชวี ต
ิ ของตนเอง ชุมชน และสงั คมให ้ดีขน
ึ้
โดยสรุป
การพัฒนามีความหมายทัง้ ทีค
่ ล ้ายคลึงและ
แตกต่างกันไป จึงอาจสรุปในภาพรวมได ้ว่า การพัฒนา
หมายถึง กระบวนการเปลีย
่ นแปลงของสงิ่ ใดสงิ่ หนึง่ ให ้ดีขน
ึ้ ทัง้
ทางด ้านคุณภาพ ปริมาณ และสงิ่ แวดล ้อม ด ้วยการวางแผน
โครงการและดาเนินงานโดยมนุษย์ เพือ
่ ประโยชน์แก่ตวั มนุษย์เอง
ล ักษณะของการพ ัฒนา
่ ด ้านคุณภาพ
• 1. เป็นการเปลีย
่ นแปลงด้านต่าง ๆ เชน
ปริมาณ และสงิ่ แวดล ้อมของสงิ่ ใดสงิ่ หนึง่ ให ้เหมาะสม
• 2. มีล ักษณะเป็นกระบวนการ (Process) คือ เป็ นการ
เปลีย
่ นแปลงทีเ่ กิดขึน
้ ตามลาดับขัน
้ ตอนและอย่างต่อเนือ
่ ง
• 3. เป็นพลว ัต (Dynamic) คือ เป็ นการเปลีย
่ นแปลงทีเ่ กิดขึน
้
ตลอดเวลาไม่หยุดนิง่
• 4. เป็นแผนและโครงการ คือ เกิดขึน
้ จากการเตรียมการไว ้
ล่วงหน ้า ว่าจะเปลีย
่ นแปลงใคร ด ้านใด ด ้วยวิธก
ี ารใด เมือ
่ ไร ใช ้
งบประมาณเท่าใด ใครรับผิดชอบ เป็ นต ้น
ล ักษณะของการพ ัฒนา
้ ้
• 5. เป็นวิธก
ี าร การพัฒนาเป็ นมรรควิธ ี หรือกลวิธท
ี น
ี่ ามาใชให
เกิดการเปลีย
่ นแปลงตามเป้ าหมายทีก
่ าหนดไว ้
• 6. เป็นปฏิบ ัติการ คือ เป็ นสงิ่ ทีเ่ กิดขึน
้ จริง ไม่เป็ นเพียงแนวคิด
้ บต
เพราะการพัฒนาต ้องนามาใชปฏิ
ั จ
ิ ริงจึงจะเกิดผลตามที่
ต ้องการ
้ จากการกระทาของมนุษย์ เพือ
• 7. เป็นสงิ่ ทีเ่ กิดขึน
่ ประโยชน์
ของมนุษย์
้ มีความเหมาะสมหรือพึงพอใจ ทาให ้มนุษย์
• 8. ผลทีเ่ กิดขึน
และสงั คมมีความสุข
ล ักษณะของการพ ัฒนา
• 9. มีเกณฑ์หรือเครือ
่ งชว้ี ัด คือ สามารถบอกได ้ว่าลักษณะที่
เกิดขึน
้ จากการเปลีย
่ นแปลงนัน
้ เป็ นการพัฒนาหรือไม่ โดยอาจ
เปรียบเทียบกับสภาพเดิมก่อนทีจ
่ ะเกิดการเปลีย
่ นแปลง
• 10. สามารถเปลีย
่ นแปลงได้ การพัฒนา นอกจากจะทาให ้
เกิดการเปลีย
่ นแปลงต่อมนุษย์ สงั คม และสงิ่ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้อง
กับมนุษย์แล ้ว
รูปแบบ กระบวนการ และวิธก
ี ารพัฒนาเองก็สามารถ
เปลีย
่ นแปลงได ้ ทัง้ นีย
้ อ
่ มยืดหยุน
่ และเป็ นไปเพือ
่ ให ้เหมาะสม
และสอดคล ้องกับสภาพความเป็ นจริงทางสงั คมนั่นเอง
ความเป็นมาของการพ ัฒนา
•
“การพัฒนา” เป็ นคาทีถ
่ ก
ู จุดประกายขึน
้ ในชุมชนโลก และใชกั้ นกว ้างขวางภายหลัง
สงครามโลกครัง้ ที่ 2 โดยเมือ
่ วันที่ 20 มกราคม ค.ศ.1949 ประธานาธิบดีแฮรี เอส.
ี โลกทางใต ้
ทรูแมน แห่งสหรัฐอเมริกา ประกาศเป็ นครัง้ แรกว่า ประเทศต่าง ๆ ทางซก
นั น
้ เป็ นเขตด ้อยพัฒนา (underdeveloped areas)
• ต่อมาคาว่า “การพัฒนา” แพร่หลายมากยิง่ ขึน
้
ในปี ค.ศ.1960 จอห์ เอฟ. เคเนดี ประธานาธิบดี
แห่งสหรัฐอเมริกา ได ้เสนอให ้องค์การ
สหประชาชาติ (The United Nations) ประกาศ
ปี ค.ศ.1960-1969 เป็ นทศวรรษแห่งการพัฒนา
และประกาศปี ค.ศ.1970-1979 เป็ นทศวรรษที่
2 ของการพัฒนาโลกต่อไป
แนวคิดเกีย
่ วก ับการพ ัฒนา
• 1. แนวคิดแบบวิว ัฒนาการ (Evolution) เป็ นการนาการ
้ บายประวัตศ
พัฒนามาใชอธิ
ิ าสตร์ของมนุษย์ทเี่ คลือ
่ นยายจาก
้
่ ก
ภาวะหนึง่ ไปสูอ
ี ภาวะหนึง่ ทีส
่ งู กว่า
ั
• 2. แนวความคิดแบบการเปลีย
่ นแปลงทางสงคม
(Social
Change) เป็ นแนวความคิดทีเ่ กิดขึน
้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่
อธิบายว่า การเปลีย
่ นแปลงมี 3 รูปแบบ คือ การเปลีย
่ นแปลงใน
ลักษณะวิวฒ
ั นาการ (Evolution) ปฏิรป
ู (Reformation) และ
ปฏิวต
ั ิ (Revolution)
แนวคิดเกีย
่ วก ับการพ ัฒนา
• 3. แนวความคิดแบบเศรษฐศาสตร์ (Economic) นัก
เศรษฐศาสตร์นาการพัฒนาไปใชจ้ าแนกประเภทต่าง ๆ ตามที่
่ รายได ้ จานวนผู ้รู ้หนังสอ
ื การมีงานทา เป็ นต ้น
กาหนด เชน
ออกเป็ นประเทศพัฒนาแล ้ว (Developed Country) กาลัง
พัฒนา (Developing Country) และด ้อยพัฒนา (Un-develop
Country)
ั
• 4. แนวความคิดแบบปฏิบ ัติการทางสงคม
(Social
Action) เป็ นแนวความคิดทีเ่ กิดจากรัฐบาลของประเทศต่าง ๆ
พยายามปรับปรุงแก ้ไขปั ญหาเศรษฐกิจและสงั คมในรูปของการ
่ การปฏิรป
วางแผนปฏิบต
ั ก
ิ าร เชน
ู ทีด
่ น
ิ การพักชาระหนี้
เกษตรกร กองทุนหมูบ
่ ้าน ธนาคารคนจน และ OTOP เป็ นต ้น
แนวคิดเกีย
่ วก ับการพ ัฒนา
ั
• 5. แนวความคิดแบบความข ัดแย้งทางสงคม
(Social
Conflict) เป็ นแนวความคิดของการพัฒนาประเทศด ้วยระบอบ
้ นแนวทางในการ
สงั คมนิยม ทีน
่ าทฤษฎีความขัดแย ้งมาใชเป็
่ รัสเซย
ี จีน
เปลีย
่ นแปลงโครงสร ้างและระบบสงั คม เชน
เวียดนาม เป็ นต ้น
• 6. แนวความคิดแบบการพ ัฒนาชุมชน (Community
Development) เป็ นแนวความคิดทีอ
่ งค์การสหประชาชาติ
้ นแนวทางการพัฒนาในประเทศด ้อยพัฒนาทัว่ โลก
นาไปใชเป็
เพือ
่ ให ้เกิดภาวะทันสมัย (Modernization) ตามอย่างประเทศ
ตะวันตก (Westernization)
Model ของการพ ัฒนา
วิวัฒนาการ
การเปลีย
่ นแปลง
ทางสงั คม
เศรษฐศาสตร์
ปฏิบต
ั ก
ิ าร
ทางสงั คม
การพัฒนา
ชุมชน
ความขัดแย ้ง
ทางสงั คม