เอกสาร การบาดเจ็บจากความร้อน จากการ

Download Report

Transcript เอกสาร การบาดเจ็บจากความร้อน จากการ

การบาดเจ็บจากความรอน
้
จากการออกกาลัง
พ.อ.ผศ.ราม
รังสิ นธุ ์
ภาควิชาเวชศาสตรทหารแลชุ
มชน
์
วิทยาลัยแพทยศษสตรพระมงกุ
ฎเกลา้
์
25 พฤษภาคม 2557
โรคลมรอน
้
ป้องกันได้ !!!!!
3
จานวนการป่วยและเสี ยชีวต
ิ จากโรคลม
รอน
้
ในการฝึ กทหารกองประจาการ ผลัดที่
1/57
• จานวนรวม
10 นาย
• เสี ยชีวต
ิ
• ไมเสี
ิ
่ ยชีวต
2 นาย
8
นาย
4
จานวนการป่วยและเสี ยชีวต
ิ จากโรคลมรอนในการ
้
ฝึ กทหารกองประจาการ
จานวนการป่วยและเสี ยชีวต
ิ จากโรคลมรอน
้
ในการฝึ กทหารกองประจาการ ผลัดที่ 1
และ 2
จานวนผู้ป่วยและผู้เสี ยชีวต
ิ จากการบาดเจ็บจากความรอนใน
้
ห้วงการฝึ กทหารใหม่
ผลัดที่ 1/57 จาแนกตามสั ปดาหการฝึ
ก
์
จานวนผู้ป่วยและผู้เสี ยชีวต
ิ จากการบาดเจ็บจากความรอนใน
้
ห้วงการฝึ กทหารใหม่
ผลัดที่ 1/57 จาแนกตามวันของการฝึ ก
จานวนผู้ป่วยและผู้เสี ยชีวต
ิ จากการบาดเจ็บจาก
ความรอน
้
ในห้วงการฝึ กทหารใหม่
ผลัดที่ 1/57 จาแนกจังหวัดทีต
่ ง้ั ของหน่วยฝึ ก
• กรุงเทพมหานคร
(50%)
• สุรน
ิ ทร ์
• กาญจนบุร ี
• ชุมพร
• ปราจีนบุร ี
• รวม
5
2
1
10
1
1
9
ขอสั
้ งเกต และขอเสนอแนะใหม
้
่
ผลัด 2/57
• เริม
่ พบผู้ป่วยลมรอนในผลั
ดที่ 2 หน่วยต้องไม่
้
ลดหยอน
มาตรการป้องกันและการรักษา ของหน่วย
่
ฝึ กฯ ลง
• เกิดผู้ป่วยโรคลมรอน
ในห้วงการฝึ ก ใน หน่วยฝึ ก
้
ทีไ่ มมี
่ “ระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน และการให้การ
ดูแล ผู้บาดเจ็บจากความรอน”
้
• ในผลัด 2 ช่วงฤดูหนาว จะพบการระบาดของโรค
ระบบทางเดินหายใจ อยางมาก
ส่งผลให้ทหารมีไข้
่
ไดรั
ดโรคลมรอนได
้ บยา ขาดน้า ส่งผลตอการเกิ
่
้
้ 10
ขอสั
้ งเกต และขอเสนอแนะใหม
้
่ ผลัด
2/57
• พบการเกิดโรคลมรอนในการเดิ
นทางไกล ฝึ ก
้
พิเศษ ทดสอบกาลังใจตางๆ
ซึง่ ต้องระวังใน
่
ผู้ป่วยทีอ
่ วนมาก
มีไข้ กินยา และการปฐม
้
พยาบาลจะทาไดไม
่ ง้ั
้ เต็
่ มทีเ่ พราะออกไปนอกทีต
ปกติ
• หน่วยฝึ กฯ ต้องวางแผน
– การคัดกรอง ติดสั ญลักษณ ์ กลุมเสี
่ ่ ยง อ้วน มี
ไข้ ไดรั
ก สวมชุดทีไ่ ม่
้ บยา ลดความเขมข
้ นการฝึ
้
อบอ้าว จัดน้าดืม
่ กอน
ระหวางและภายหลั
ง
่
่
อยางเต็
มที่
่
11
ขอมู
้ ลใหม่ 2557
• พบโรค กลามเนื
้อสลายตัวจากความรอน
เพิม
่
้
้
มากขึน
้ และรุนแรง ควรเพิม
่ การรายงาน
• พบผู้ป่วย ลมร้อน (Heat stroke) ช่วงการวิง่
และ ออกกาลังช่วงเช้า
• พบผู้ป่วย ลมร้อน (Heat Stroke) ในทหารที่
ท้วมหรืออวน
กลับมามากขึน
้ ตางจากที
ป
่ ระสบ
้
่
ความสาเร็จในการลดจานวนลงในปี ทแ
ี่ ลว
้
• พบผู้ป่วย ลมร้อน (Heat Stroke) สูงสุดใน
สั ปดาหที
์ ่ 5 ซึง่ ตามปกติจะพบมากในสั ปดาหที
์ 12่
2–3
ขอมู
้ ล 2013
• พบผู้ป่วย ลมร้อน (Heat stroke) หลังจาก
การจาหน่ายออกจากโรงพยาบาล หลังเขารั
้ บ
การรักษาโรคตางๆ
โดยเฉพาะจาก โรคออน
่
่
เปลีย
้ จากความรอน
(Heat exhaust)
้
• ความเสี่ ยงจากการออกกาลัง ทีส
่ ่ งผลตอการ
่
เกิด โรคลมรอน
Heat Stroke สูงสุดทีก
่ าร
้
ออกกาลัง ตอนเย็น และการปรับปรุงวินย
ั
ทหารช่วงกลางคืน
13
ขอมู
้ ล 2557
• ระวังกลุมนี
่ ้
(อวน
ทวม
้
้
ตัน) เป็ นอยาง
่
ยิง่
• ติดสั ญลักษณ ์
• สื่ อสารความ
เสี่ ยง
• ใหเพือ
่ นชวย
14
เวลาเริ่มแสดงอาการของผู้ป่วยโรคลมร้ อนและอาการอ่อนเปลีย้ จากความร้ อน
18
16
Heat exhaustion
Heat stroke
14
10
8
6
4
2
0
0000
0100
0200
0300
0400
0500
0600
0700
0800
0900
1000
1100
1200
1300
1400
1500
1600
1700
1800
1900
2000
2100
2200
2300
จำนวน
12
เวลำ
15
ขอมู
้ ลใหม่
• การวัดอุณหภูมก
ิ าย โดยการใช้ปรอท “ส่วน
บุคคล” อมใตลิ
้ หรือ ใตรั
้ น
้ กแร้ จะให้ผล
อุณหภูมก
ิ าย ใกลความเป็
นจริงกับอุณหภูม ิ
้
แกนกาย
• เครือ
่ งวัดอุณหภมิ ทางช่องหู ใช้ไดดี
้ แตจะมี
่
ปัญหาในกรณีทอ
ี่ ุณหภูมแ
ิ วดลอมสู
ง 35 องศา
้
ขึน
้ ไป
• เครือ
่ งวัดอุณภูมแ
ิ บบ แบบอินฟาเรด ยิง
หน้าผาก ต้องระวังวาจะอ
านผลได
ต
่
่
้ า่ กวาความ
่
16
จริงอยางมาก
เมื
อ
่
มี
เ
หงื
อ
่
ออก
มี
ล
มพั
ด
ในร
ม
่
่
การฝึ กซ้อม
• ควรฝึ กการปฏิบต
ั ิ
เมือ
่ ลมลง
้
• นาเขาที
้ ร่ ม
่
• ถอดเลือ
้ ผา้
• เช็ดตัว
17
18
ช่วงถึงโรงพยาบาล
• ขาดการวัดอุณหภูมท
ิ างทวารหนัก
• ผู้ป่วยส่วนหนึ่งถูกส่งไปยัง รพ สาธารณสุข
ไมเข
อ
่ งการลดอุณหภูมอ
ิ ยางทั
นทวงที
่ าใจเรื
้
่
่
ให้ตา่ กวา่ 40 องศา ใน 30 นาที
• เมือ
่ มี ผู้ป่วย เข้าพรอมๆ
กันรับมือไมทั
้
่ น
• รู้สึ กกลัวทีจ
่ ะวินิจฉัย Heat Stroke
ได
• เมือ
่ ผูป
้ กระบวนการติดตาม
่ มี
้
้ ่ วยกลับไปแลวไม
ให้เกิดการพักอยางแท
จริ
่
้ งผูป
้ ่ วยเกลียแดดบาง
รายกลับมาใหมเป็
่ น Heat Stroke
19
ช่วงถึงโรงพยาบาล
• การตัดสิ นใจในการส่งตอ
้ ที่
่ รพ. ในพืน
หรือ รพ.รร.6
• ขากการฝึ กซ้อมรับผู้ป่วยลมรอน
ที่
้
ตองการการด
าเนินการทีร่ วดเร็วและไม่
้
สะดุดติดขัด
• ขาดการคนหาผู
้
้ป่วยเชิงรุก คอยแตตั
่ ง้ รับ
บางครัง้ มีผป
่ น่วย ทาให้
ู้ ่ วยนอนอยูที
่ ห
ลาช
่ ้า
20
การวินิฉัยอยางทั
นทวงที
่
่
• การตรวจพบผู้ป่วยโรคลมรอนแบบ
Exertional อยางทั
นทวงที
้
่
่
และดาเนินการลดอุณหภูมล
ิ งอยางรวดเร็
วทีส
่ ุดเทาที
่ ะทาได้ จะ
่
่ จ
ทาให้เพิม
่ อัตราการรอดชีพ และลดผลกระทบขางเคี
ยงจากโรค
้
ดังกลาว
่
ลดการตาย
การรูว้ า
่ เกิดโรคแล้ว
่
การนาต ัวสง
โรงพยาบาล
ลดอุณหภูมไิ ด้ท ัน
ได้ร ับการพ ักอย่าง
ท ันท่วงที
เพิม
่ โอกาสทีจ
่ ะ
ทาให้อว ัยวะ
ต่างๆ รวมถึง
สมองกล ับมา
เป็นปกติ
21
การป้องกันแนะนาใหมเพิ
่ เติม
่ ม
• การถอดเสื้ อ เช็ดตัวดวยผ
าชุ
ก
้
้ บน้า ระหวางพั
่
การฝึ ก
• การใช้กระติกน้าประจากาย
• ระมัดระวังการวิง่ เย็นเป็ นพิเศษ ผู้ทีม
่ อ
ี าการป่วย
ใดๆ งดวิง่ เย็น
• การซ่อมทหาร
• การงดการฝึ กหลังการเจ็บป่วยจากลมรอน
้
• พักอาบน้าในช่วงบ่าย
22
การบาดเจ็บจากลมรอน
้
ในห้วงการฝึ ก ของกองทัพบก
พ.อ.ผศ.ราม
รังสิ นธุ ์
ภาควิชาเวชศาสตรทหารและชุ
มชน
์
วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุ
ฎเกลา้
์
โรคลมร้อนคืออะไร
• โรคลมรอนหรื
อ Heat Stroke เป็ นโรคทีม
่ ก
ี าร
้
ผิดปกติของรางกายหลายระบบจากการได
รั
่
้ บ
ความรอนทั
ง้ จากภายนอกและจากการออกกาลัง
้
กาย แลวร
อนออกไม
ทั
้ างกายระบายความร
่
้
่ น
ซึง่ ความรอนจะท
าลายระบบตางๆจนอาจท
าให้
้
่
เสี ยชีวต
ิ ได้
– อุณหภูมแ
ิ กนกายสูงกวา่ 40◦C และ
– มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางเช่น
การพูดจาสั บสน ชัก หรือถึงขัน
้ หมดสติ
25
โรคลมร้อนป้องก ันได้
โลกร้อนขึน
้
ความอดทนของคนเปลีย
่ นไป
คนไทยอวนขึ
น
้
้
27
ภาวะโลกร้อน
1993
2000
ความอดทนของคนเปลีย
่ นไป
มนุ ษย ์ ไมทนความร
อน
เหมือนเดิมอีก
่
้
29
คนไทยอวนขึ
น
้
้
30
จานวนผูป้ ่ วยโรคลมร้อนในทหารกองประจาการ
60
50
40
30
20
10
0
2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553
31
จานวนการป่วยและเสี ยชีวต
ิ จากโรคลมรอนในการ
้
ฝึ กทหารกองประจาการ
ปัจจ ัยบุคคล
• การค ัดกรอง
• BMI
• การบาดเจ็ บ
• การป่วยก่อนเป็นทหาร
• ยา ยาแก้หว ัดต่างๆ
• เหล้า และสารเสพติด
ิ จากความร้อน
• ความคุน
้ ชน
การเฝ้าระว ังตนเองซงึ่ ร ับรูโ้ ดย
(Self-monitor Perceived by)
• ทหารกองประจาการ
• ผู ้ฝึ ก/ครูฝึก
AGENT=ความร ้อน
•การฝึ ก
•การระบายความร ้อน
•เครือ
่ งแบบ
สงิ่ แวดล้อม
•เวลาทีอ
่ อกกาลัง
ื้ สม
ั พัทธ์
•ความชน
•อุณหภูมภ
ิ ายนอก
•พืน
้ ผิวของสนาม
33
มาตรการ การป้องกัน
• สั ญญาณ ธง
– อุณหภูมอ
ิ ากาศ ความชืน
้ ในอากาศ
– วงรอบการฝึ ก การพัก ใน 1 ชัว
่ โมง
– จานวนน้าทีต
่ องดื
ม
่ ในแตละชั
ว
่ โมง
้
่
• คัดแยกกลุมเสี
่ ตน
่ ่ ยง ตัง้ แตเริ
่ ม
้ ติด
สั ญลักษณ์ แยกการฝึ ก
– อ้วน ท้วม ตัน
– เจ็บป่วย
34
กอนรั
บการฝึ ก
่
• การคัดกรองผู้ทีม
่ ค
ี วาม
เสี่ ยง (กรรมวิธท
ี าง
ธุรการ)
– คัดแยกผู้ทีม
่ ค
ี วาเสี่ ยงโดย
การซักประวัต ิ ตรวจ
รางกาย
โดย ส.เสนารักษ์
่
– แบบสอบถาม (ซักประวัต)ิ
• ยาบ้า, ยาแกคั
้ ดจมูก, ยาคลาย
เครียด
• ดืม
่ alcohol; ถูกเลีย
้ งส่งมา/
เมามารายงานตัว
• ขาดการพักผอนที
เ่ พียงพอ;
่
เดินทางนาน, ทางานกลางคืน
• โรคประจาตัว / การเจ็บปวย
35
แยกกลุมเสี
่ โี รคประจาตัว เพือ
่ งาย
่ ่ ยงทีม
่
ปัจจัยเสี่ ยงของโรคลมรอน
้
1. อายุมากกวา่ 40 ปี
2. ยา:
– anticholinergics: Dramamine Dextrometrophan
Benadryl
– antihistamines
– ACEI
3. โรคผิวหนังตางๆ
(eczema, poison ivy, skin graft, burns)
่
4. โรคเฉียบพลันตางๆ
ไข้หวัด ทางเดินหายใจอักเสบ
่
ท้องเสี ย เป็ นไข้
5. การขาดน้า
6. การขาดการฝึ กเพือ
่ เพิม
่ ความคุ้นชินกับความรอน
้
7. มี BMI ทีส
่ ูง
8. สารเสพติด ยาม้า (Methamphetamine)
9. การบริโภคอัลกอฮอลอย
ก
่
์ างหนั
10. การอดนอน
กลุมโรค
การป่วยจากความ
่
รอน
(heat illness)
้
• ผดหรือโรคผืน
่ รอน
– มีอาการผืน
่ คันตามรางกายจาก
้
่
การอักเสบของตอมเหงื
อ
่
่
• Hyperventilation
• การบวมจากความรอน
– มีการบวมบริเวณเทา้ ขา
้
มือ เริม
่ ใน 1 – 2 วันแรก
• โรคลมแดด – หน้ามืดเป็ นลม หมดสติไป
• โรคตะคริวแดด – ปวดเกร็งบริเวณน่อง ต้นขา หรือ
ไหล่
• โรคเพลียแดด – มีอาการออนเพลี
ย, วิงเวียน, มึนงง,
่
ปวดศี รษะ, คลืน
่ ไส้, อาเจียน, ปวดกลามเนื
้อ แตยั
้
่ ง 39
รู้สึ กตัวตามปกติ อุณหภูมแ
ิ กนกายสูงขึน
้ เล็กน้อย
40
ผดหรือโรคผืน
่ รอน
้
• เกิดจากการอุดกัน
้ อักเสบของต่อมเหงือ
่
ทีก
่ าลังทางานอย่างหนั ก
่ ลเสย
ี ของความร ้อนโดยตรง
• ไม่ใชผ
41
เกร็งแดด หายใจเร็วหอบเกร็ง
Hyperventilation
42
การบวมจากความรอน
้
•
•
•
•
•
พบในระยะการปรับตัวของ
ร่างกายต่อการทนความร้อน
ไม่ได้เกิดจากการกินน้ามาก
เกิน
อาจเกี่ยวข้องกับการขับเกลือ
ออกลดลง
ไม่ต้องให้ยาขับปัสสาวะ
ไม่ใช่ผลเสียของความร้อน
โดยตรง
43
ลมแดด
44
โรคตะคริวแดด (Heat
Cramps)
45
เพลียแดด Heat
exhaustion
หยุดฝึ กอยางน
่
้ อย
• เหงือ
่ ออกมาก
• ออนล
่ า้ หมดกาลัง
อยางมาก
่
• เวียนหัว สั บสน
• คลืน
่ ไส้
• ปวดศี รษะ, คลืน
่ ไส้,
อาเจียน, ปวดกลามเนื
้อ
้
• ยังรู้สึ กตัว
3• อุวัณนหภูมแิ กนกายสูงขึน้
เล็กน้อย
46
• หายใจเร็ว ตืน
้
เพลียแดด Heat exhaustion
•
•
•
•
ลมลง
้
ทรุดลง
ไมไหว
่
อุณหภูมแ
ิ กนกาย
สูงขึน
้ แตยั
่ งไมถึ
่ ง
40 องศา
• เรงด
ด
่ วนในการหยุ
่
การออกกาลัง !!!!!!
• เรงด
่ วนในการระบาย
่
ความรอน
!!!!!!
้
47
โรคลมร้อนคืออะไร
• โรคลมรอนหรื
อ Heat Stroke เป็ นโรคทีม
่ ก
ี าร
้
ผิดปกติของรางกายหลายระบบจากการได
รั
่
้ บ
ความรอนทั
ง้ จากภายนอกและจากการออกกาลัง
้
กาย แลวร
อนออกไม
ทั
้ างกายระบายความร
่
้
่ น
ซึง่ ความรอนจะท
าลายระบบตางๆจนอาจท
าให้
้
่
เสี ยชีวต
ิ ได้
– อุณหภูมแ
ิ กนกายสูงกวา่ 40◦C และ
– มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางเช่น
การพูดจาสั บสน ชัก หรือถึงขัน
้ หมดสติ
48
Heat Stroke
Classical heat stroke
ผูส
้ ง
ู อายุโดนคลืน
่ ความร้อน
Exertional heat stroke
ฝึ กทหาร
นักกีฬา
49
• การออกกาลัง
• ความรอนจากภา
้
• ความชืน
้ ในอากา
50
Cardiovascular Responses
• เมือ
่ อกกาลัง อุณหภูมส
ิ ูงขึน
้ เกิน 37 องศา จาก
– ภายใน โดยกลามเนื
้อ
้
– ภายนอก อุณหภูมอิ ากาศ ความชืน
้ และ ความ
แตกตางของอุ
ณหภูมก
ิ ารกับอากาศภายนอก
่
• เลือด เคลือ
่ นตัว shift จาก อวัยวะภายใน ไปเลีย
้ ง
ผิวหนัง
– เพิม
่ จาก 250 ML/min  8 L/min
51
างกายระบายความรอนด
วยเหงื
อ
่
้
้
•
•
•
อาศั ยการระเหยดูดความรอนออกไป
้
หากความชืน
้ อากาศสูงเหงือ
่ ไมระบายความร
อน
่
้
หากผิวหนังผิดปกติ เหงือ
่ จะไมระบาย
่
52
42 องศา เซลเซียส
54
Heat Injured Liver 3-days Post-Exposure
Non-Heated Control
Leon, Progress Brain Research 2007
Heated Survivor
กลไกระบายความรอนออกจาก
้
รางกาย
่
 ในสภาพอากาศแห้ง การระบายความรอน
้
ออกจากรางกายอาศั
ยเหงือ
่ อาจทาไดถึ
่
้ ง
~600 kcal/hr (มีเหงือ
่ ออก 1020 cc/ช.ม.)
 คนแข็งแรงปกติอาจมีเหงือ
่ ไดสู
้ งสุดถึง 3
ลิตร ตอ
่ ช.ม.
 การระเหยของเหงือ
่ ลมเหลวถ
าความชื
น
้
้
้
สั มพัทธสู
์ งถึง 75%
แนวทางการป้ องกัน
•
•
•
•
•
การคัดกรอง ผูท้ ี่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคลมร้อน ออกจากทหาร
กองประจาการอื่นๆ เพื่อเฝ้ าระวังเป็ นพิเศษ
มีขนั ้ ตอนการฝึ กทหารใหม่ที่ค่อยๆ เพิ่มความหนักขึน้ เพื่อให้เกิด
ความคุ้นชินกับความร้อน ในช่วงสองสัปดาห์แรกของการฝึ ก
มีการปรับความหนักของการฝึ กตามสภาพความร้อนและความชื้น
ในอากาศ
มีการเฝ้ าระวังติดตามอาการ การชังน
่ ้าหนัก และวัดอุณหภูมิ
ร่างกายทหารที่รบั การฝึ กเป็ นประจาทุกวัน
มีการเตรียมพร้อมการช่วยเหลือผูป้ ่ วยเบือ้ งต้นที่รวดเร็ว และ
ถูกต้อง และนาส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สดุ
57
การดืม
่ น้าให
58
สั งเกตสี น้าปัสสาวะดวยตนเอง
้
ต้องรีบแจ้งครูฝึก/ ผู้ช่วยครูฝึก
และต้องถูกนาส่งพบแพทยทั
์ นที
ต้องดืม
่ น้าให้มากขึน
้ กวาปกติ
่
และรอสั งเกตสี น้าปัสสาวะ
ต้องดืม
่ น้าทุกครัง้ ทีพ
่ ก
ั การฝึ กและ
พยายามดืม
่ ให้มากขึน
้ เทาที
่ ะดืม
่
่ จ
ได้
ควรรักษาการดืม
่ น้าในปริมาณเดิม
ให้ไดตลอดทั
ง้ วัน
้
เครื่องแต่งกาย
• เครือ
่ งป้องกันตางๆ
่
ทีท
่ หารหรือนักกีฬา
สวมใส่ จะมีส่วนใน
การลดศักยภาพใน
การระบายความรอน
้
จากรางกายของ
่
บุคคลทาการฝึ กได้
60
โรงนอน
•
•
•
•
•
•
•
ช่วงกลางคืนเป็ นเวลาที่ ความร้อนในร่างกายควรจะได้ลดลง
จากความร้อนที่ฝึกมาทัง้ วัน
โรงนอนทหาร ไม่มีอากาศระบายเพียงพอ
ร้อนอบอ้าว
มีความหนาแน่ นมาก
บางครัง้ ปิดหน้ าต่าง
ระบายความร้อนไม่ได้ ความร้อนละสม
อดนอน ร่วมด้วย
61
การอดนอน
• การอดนอนเป็ นปัจจัยเสี่ ยงทีส
่ าคัญมากประการหนึ่งของการเกิด
การเจ็บป่วยจากความรอน
้
• ตามปกติของรางกายของเรานั
้น อุณหภูมแ
ิ กนกายขณะพักจะ
่
เปลีย
่ นแปลงไปตามห้วงเวลาของวันโดยจะตา่ สุดในตอนกลางคืน
และสูงเพิม
่ ขึน
้ 0.5°C to 1°C ในช่วงบายและค
า่
่
• การอดนอนจะส่งผลตอสมดุ
ลยของการเปลี
ย
่ นแปลงอุณภูมก
ิ าย
่
์
ตามวงรอบวันดังกลาว
่
• โดยจะทาให้รางกายปรั
บอุณหภูมเิ ขาสู
่
้ ่ จุดกาหนดขณะพัก (set
point at rest) ไดช
้ ้าลง
• และจะไปเปลีย
่ นแปลงกลไกการปรับอุณหภมิในช่วงการออก
กาลังกาย
• ผลของการอดนอนจะรวมไปถึงการทนความรอนที
ล
่ ดลงของ 62
้
รางกาย
และทาให้ขัน
้ ตอนการฝึ กแบบคอยเป็
นคอยไปเพื
อ
่
่
่
่
ความรอนในร
างกายนั
้นสะสมได้
้
่
• การฝึ กจะลดความเสี่ ยงจากการปรับเครือ
่ งแตง่
กาย
• การลดความเขมข
ก
้ นของการฝึ
้
• การลดระยะเวลาการฝึ ก และเพิม
่ ช่วงการพัก
• และการลดอุณหภูมจ
ิ ากสิ่ งแวดลอม
้
• การเคงครั
ดตอวงรอบการฝึ
กการพัก
่
่
• การปฏิบต
ั ต
ิ ามตารางการฝึ กทีค
่ อยๆเพิ
ม
่ ความ
่
เข้มขนเพื
อ
่ ให้เกิดความคุนชิ
้
้ นจากความร้อน
และ
63
ใครเสี่ ยงอีก
• การปฏิบต
ั ต
ิ นแบบมีระเบียบวินย
ั อยางเต็
มที่
่
– โดยบุคคลดังกลาวหากมี
ปจ
ั จัยเสี่ ยงเพิม
่ เติม ไมว่ าจะเป็
น
่
่
ดานสิ
่ งแวดลอม
ระบบองคกร
หรือในระดับบุคคล ก็จะ
้
้
์
เป็ นเหตุสาคัญทีจ
่ ะนาไปสู่การเกิด โรคลมรอนแบบ
้
Exertional ขึน
้ ได้
• มีการออกกาลังทีไ่ มสอดคล
องกั
บระดับความ
่
้
พร้อมของแตละบุ
คคล
่
• การมีระบบการคักแยกผูป
้ ่ วยทีไ่ มมี
่ ประสิ ทธิภาพ
หรือไมมี
่ ระบบเลย
• การไมสนใจค
าแนะนาในเรือ
่ งความปลอดภัยใน
่
64
การฝึ กของหนวยฝึ กตางๆ
การวัดอุณหภูม ิ
• การวัดอุหภูมท
ิ าง
ทวารหนักเป็ นการวัด
อุณหภูมก
ิ ายเพียง
อยางเดี
ยวทีส
่ ามารถ
่
วัด core
temperature ที่
ถูกต้องและเชือ
่ ถือได้
• หากใช้แบบอืน
่ ต้อง
เข้าใจวาจะได
่
้
อุณหภูมท
ิ ต
ี่ า่ กวาแกน
่
กาย อาจถึง 1
องศาเซลเซียส
• นอกจะวัดไดต
้ า่ จาก
ความเป็ นจริงแลวค
้ า่
ดังทีไ่ ดจากการวั
ด
้
อุณหภูมจ
ิ ากรางกาย
่
ภายนอกดังกลายั
่ งท า
ให้เกิดความรูสึ้ ก
ปลอดภัยจากภาวะโรค
จากความรอนแบบผิ
ดๆ
้
(false sense of
security) ดังนั้นการวัด
อุณหภมิในผู้ป่วยกลุมนี
่ 65้
ในมือของแพทยและที
่
์
การลดอุณหภูมิ ที่ไม่มีประสิทธิภาพ
• ทีส
่ าคัญคือระยะเวลา
ทีใ่ ช้ในการลด
อุณหภูม ิ ตัง้ แตล
่ ้ม
ลงจะกระทัง่ อุณหภูม ิ
แกนกายลดลงถึงตา่
กวา่ 40◦C วาจะ
่
สามารถทาไดใน
้
30 นาทีหรือไม่ จะ
เป็ นตัวกาหนดความ
เสี่ ยงตอการเสี
ยชีวต
ิ
่
ทีส
่ าคัญ หากทาได้
พบวาจะไม
ท
่
่ าให้
66
การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น
• เป้าหมายการลดอุณหภูม ิ
• ลดลงให้ อุณหภูมแ
ิ กนกายตา่ กวา่ 40
องศา ภายใน 30 นาที
• ถอดเสื้ อผ้า แลวรี
้ บลดอุณหภูม ิ
– แช่น้าแข็ง
– เช็ดตัว ดวยน
ิ กติ เป่าให้น้า
้าอุณหภูมป
้
ระเหย
67
• วิธท
ี ด
ี่ ท
ี ส
ี่ ุดการนา
ผู้ป่วยทีถ
่ อดเสื้ อผ้า
ออกแลวนอนแช
้
่ ลง
ในอางน
้าแข็ง และ
่
ทาการคนน้าแข็งและ
น้าเย็นอยางต
อเนื
่
่ ่ อง
เพือ
่ ให้นาความรอน
้
ออกจากผิวหนัง
ผู้ป่วยโดยเร็วทีส
่ ุด
และทารวมกั
บการฝช้
่
ผ้าชุบน้าเย็นจัดบน
ศรีษะผู้ป่วยทีอ
่ ยูพ
่ ้น
68
Temperature - duration area
temperature
The severity of the illness is a function of the temperatureduration area above a critical temperature (40.5oC ; 105oF), not so
much the absolute max temperature
critica l
temperatur e
37
time
ข้อแนะนาในการป้ องกันเพิ่มเติม
•
•
•
•
•
•
คัดแยก คนอ้วน เจ็บป่ วย มีไข้ ท้องเสีย กินยา ออกแยกเป็ น
กลุ่มฝึ กแยก
เค่งครัดวงรอบการฝึ กรายชัวโมง
่
ฝึ ก พัก ดื่มน้า ตาม
สัญญาณธง
มีการเช็ดตัวระบายความร้อน ในช่วงการพักทุกชัวโมง
่
พักอาบน้าในช่วงบ่าย
ผูท้ ี่เจ็บป่ วยจากความร้อนงดการฝึ กอย่างน้ อย 3 วัน
สังเกตสีปัสสาวะตลอดเวลา เพิ่มการดื่มน้าหากสีเข้ม
70
การปฐมพยาบาล
•
•
•
•
ถอดเสื้อผ้าออก
แช่น้าแข็ง
พ่นละออง เช็ดตัว
พัด เป่ าลม
ส่งโรงพยาบาล
โดยเร็วที่สดุ
71
หลักการดูแลผูป้ ่ วย
•
•
กรณี โรคลมร้อนจากการฝึ ก ในบุคคลที่อายุน้อย
ลดอุณหภูมิร่างกายให้ตา่ กว่า 40 องศา ภายใน 30 นาที
72
ถอดเสื้อผ้าออก ทาการลดอุณหภูมิทนั ที !!
73
ข้อแนะนาเพิ่มเติม
•
•
•
•
ทาการประชุมเชิงปฏิบตั ิ การแบบมีส่วนร่วม
ผูฝ้ ึ กทหารใหม่ นายสิบพยาบาล หน่ วยฝึ กทหารใหม่
แพทย์ โรงพยาบาลค่าย
แพทย์ โรงพยาบาลชุมชนในพืน้ ที่ใหล้เคียงกับหน่ วยฝึ กทหาร
ใหม่
74
ทหารแต่ละคน ทนความร้อนได้ไม่เท่ากัน
75
กล้าที่จะหยุดการฝึก !
76
Assume Heatstroke in any collapsed athlete
in hot conditions; COOL FAST!
หากพบวา่ ทหารลมลง
สั บสน หรือ
้
หมดสติ
สงสั ยวาเป็
่ น
โรคลมรอน
ทุกราย !!!
้
ลดอุณหภูมิรา่ งกายเร็วที่สุด และส่งต่อทันที
77
ข้อพิจารณาจากข้อมูล ผลัด 1/56
•
•
•
•
การฝึ ก
การวินิจฉัย ปฐมพยาบาล การส่งผูป้ ่ วย
การรับการรักษาที่โรงพยาบาล
การให้ออกจากโรงพยาบาลและทุเลาฝึ ก
78
ช่วงการฝึ ก
• เวลาทีเ่ กิดส่วนใหญเกิ
่ ดขณะหรือหลังจากการ
ออกกาลังช่วงเย็นกอนรั
บประทานอาหาร
่
• ผู้ทีม
่ ค
ี วามเสี่ ยงไดแก
้ ่
– BMI > 28
– การศึ กษาสูง สมัครมาเป็ นทหาร ไมเคยท
างาน
่
หนักมากอน
ทางานในห้องแอร ์
่
– มีประวัตต
ิ ด
ิ สารเสพติด
79
ช่วงการฝึ ก
• การถึงโรงพยาบาลลาช
่ ้า ส่วนหนึ่งเกิดจากการไม่
แน่ใจวาจะส
่
่ งดีหรือไม่ เป็ นมากจริงหรือเปลา่
• เมือ
่ ลมลง
ไมได
โดย
้
่ ฝึ
้ กการปฐมพยาบาลทันทวงที
่
การถอดเสื้ อผ้า และลดความรอน
้
• การอดนอนเป็ นปัจจัยสาคัญ สภาพโรงนอน การ
ปรับปรุงวินย
ั ตอนกลางคืน
• ทหารกลับจากโรงพยาบาลไมได
จริ
่ พั
้ กอยางแท
่
้ ง
กลับไปฝึ กและเกิดโรคทีร่ ุนแรงขึน
้
• สี ปส
ั สาวะเป็ นสิ่ งบงบอกอาการที
ด
่ ท
ี ง้ั heat injury และ
่
Rhabdomyolysis
80
• เกิดโรคลมรอนได
แม
้
้ ้สี ธงจะเป็ นสี ขาว เหลือง หรือ
ช่วงการฝึ ก
• หน่วยบางหน่วยไมให
่ ้ความสนใจการดูแลโรคลมรอน
้
อยางจริ
งจังคิดวาการฝึ
กสาคัญกวาและการด
าเนินการ
่
่
่
ป้องกันเป็ นเรือ
่ งยุงยาก
และรบกวนการฝึ ก
่
• การฝึ ก กับการเอาใจใส่เรือ
่ งลมรอน
เป็ นเรือ
่ งที่
้
ขัดแย้งกัน
• การตัดสิ นใจพามาโรงพยาบาลผานการตกลงใจหลาย
่
ขัน
้ ตอนจนมาถึงช้า และมีการจัดเตรียมยานพาหนะที่
ใช้ไดจริ
้ ง
• ส พยาบาล ขาดความมัน
่ ใจใจการทาหน้าที่
จานวนไมเพี
าการคัดกรองและจัดทา
่ ยงพอตอการท
่
81
เอกสารการรายงาน
ช่วงการฝึ ก
• หน่วยฝึ กรูสึ้ กวา่ การคัดกรอง การวัดอุณหภูมก
ิ าย การชัง่
น้าหนัก ยุงยากไม
สอดคล
องกั
บการฝึ ก วัดไข้รายวันทาไดจริ
่
่
้
้ ง
เฉพาะผู้ทีป
่ ่ วยมาพบ ส พยาบาลเพือ
่ ขอยา
• การติดสั ญลักษณกลุ
กใดๆ
่ ่ ยง ไมมี
่ ผลตอการฝึ
่
์ มเสี
• การระบาดของโรคระบบทางเดินหายใจเช่นไขหวั
้ ด ส่งผลตอ
่
เกรเกิด Heat stroke ในทีส
่ ุด
• ผู้ป่วยลมรอน
ส่วนหนึ่งมีประวัตเิ จ็บป่วยอืน
่ ๆ มากอน
้
่
นอกจากไขหวั
้ ด แลว
้ บางรายเป็ นโรคทางจิตเวช หอบหืด
เป็ นตน
้
• การเจ็บป่วยของทหารไมได
อน
แตมี
่ ๆ ด้วยอีก
่ มี
้ แตลมร
่
้
่ โรคอืน
มาก แตการเป็
นโรคอืน
่ ๆ ทาให้ทหารเสี่ ยงตอลมร
อนมากขึ
น
้
่
่
้
ดังนั้นการฝึ กในกลุมทหารที
ป
่ ่ วยจะตองระมั
ดระวังอยางยิ
ง่ เช่
่
้
่
82
ยงดวิง่ เย็นเป็ นตน
้
เพลียแดด Heat
exhaustion
หยุดฝึ กอยางน
่
้ อย
• เหงือ
่ ออกมาก
• ออนล
า้ หมดกาลัง
่
อยางมาก
่
• เวียนหัว สั บสน
• คลืน
่ ไส้
• ปวดศี รษะ, คลืน
่ ไส้,
อาเจียน, ปวดกลามเนื
้อ
้
• ยังรู้สึ กตัว
มแ
ิ กนกายสูงขึน
้
3•วัอุนณหภู???
เล็กน้อย
83
• หายใจเร็ว ตืน
้