ภาวะภ ูมิอากาศเปลี่ยนแปลง หรือภาวะ “โลกร้อน” การพัฒนางานผลกระทบต่อส ุขภาพจากโลกร้อน Health - Forecast PH Indicator - MOPH National Report strategy position plan.

Download Report

Transcript ภาวะภ ูมิอากาศเปลี่ยนแปลง หรือภาวะ “โลกร้อน” การพัฒนางานผลกระทบต่อส ุขภาพจากโลกร้อน Health - Forecast PH Indicator - MOPH National Report strategy position plan.

ภาวะภ ูมิอากาศเปลี่ยนแปลง
หรือภาวะ “โลกร้อน”
การพัฒนางานผลกระทบต่อส ุขภาพจากโลกร้อน
Health - Forecast
PH
Indicator - MOPH National
Report strategy
position
plan
ดร.นพ.สมเกียรติ ศิรริ ตั นพฤกษ์
สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
กรมควบค ุมโรค
บทนา
 ภาวะภูมอ
ิ ากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change)
หรือภาวะ “โลกร้อน” เป็ นสถานการณ์ปัญหาทางด้าน
สิ่งแวดล้อมที่สาคัญทัง้ ในระดับประเทศและระดับโลก
 สาเหตุการเกิดมาทัง้ จากธรรมชาติและการกระทาของ
มนุษย์
 ผลกระทบที่เกิดขึน
้ มีผลต่อสุขภาวะทัง้ ทางตรงและ
ทางอ้อม รวมทัง้ ต่อนิเวศวิทยา เศรษฐกิจ สังคมและ
การเมือง ทัง้ ในระดับพื้นที่ ระดับชาติและระดับโลก
ภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงกับผลกระทบทางส ุขภาพ
1.การเจ็บป่ วยจากอุณหภูมทิ ี่เปลี่ยนแปลง (ร้อนหรือหนาว
จัด) (Temperature-related morbidity and
mortality)
2.ผลกระทบจากภาวะภูมอิ ากาศแปรปรวนสุดขัว้ (Health
effects related to extreme weather
events)
3.ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ (Health effects
related to air pollution)
ภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงกับผลกระทบทางส ุขภาพ
(ต่อ)
4.การเจ็บป่ วยจากโรคติดต่อทางนา้ และอาหาร (Waterand food-borne diseases)
5.การเจ็บป่ วยจากโรคติดต่อนาโดยแมลงและหนู (Vectorand rodent-borne diseases)
6.ผลกระทบต่อกระบวนการผลิตอาหารและภาวะทุพ
โภชนาการ (Food productivity and
malnutrition)
7.โรคจากการประกอบอาชีพเหตุความร้อน (Heat related
occupational diseases)
ประชากรกลมุ่ เสี่ยง
 เด็ก โดยเฉพาะทารกและเด็กเล็ก
 ผูส้ งู อายุ
 ผูม
้ โี รคประจาตัวหรือภูมติ า้ นทานตา่ (เช่น โรคหัวใจและหลอด
เลือด โรคปอด โรคมะเร็ง โรคอ้วนและผูท้ ี่มภี าวะไม่สามารถ
ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของภูมอิ ากาศได้)
 ผูม
้ ฐี านะยากจน
 ผูท
้ ี่อยู่โดดเดีย่ ว ขาดคนดูแล
 ผูอ้ ยู่ในเขตเมือง
 ผูป
้ ระกอบอาชีพหรือทางานที่เสี่ยง (ออกแรงมาก ทางาน
กลางแจ้งหรือสัมผัสความร้อน) เช่น เกษตรกร คนงานก่อสร้าง
ผลกระทบต่อส ุขภาพจากภมู ิอากาศ
เปลี่ยนแปลงและสถานการณ์ในประเทศไทย
การเจ็บป่วยจากอ ุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง
(ร้อนหรือหนาวจัด)
ผลกระทบต่อส ุขภาพจากปัญหาอากาศร้อนจัด




ผิวหนังไหม้จากแสงแดด (Sunburn)
อาการตะคริวเนื่องจากความร้อน (Heat cramp)
อาการเพลียแดดเนื่องจากความร้อน (Heat
exhaustion)
อาการลมร้อน (Heat stroke)
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปัญหาส ุขภาพที่เกิดจากอากาศร้อนจัด
 ร่างกายมน ุษย์มีกลไกในการปรับตัวและควบค ุมอ ุณหภ ูมิที่
เปลี่ยนแปลงจากภายนอก เช่น ถ้าอ ุณหภ ูมิสงู ขึ้นจะมีการ
ขยายตัวของหลอดเลือดที่ผิวหนังและมีเหงื่อออก เป็นต้น
 การปรับตัวดังกล่าว มีสว
่ นเกี่ยวข้องกับระบบหัวใจและหลอด
เลือด ซึ่งร่างกายจาเป็นต้องใช้เวลาในการปรับตัว ถ้าเกิด
อ ุณหภ ูมิสงู ขึ้นมากอย่างรวดเร็ว ร่างกายปรับตัวไม่ทนั จึง
เกิดผลทาให้เจ็บป่วยและเสียชีวิตได้
 สาเหต ุของการเสียชีวิต ส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจากภาวะ “Heat
stroke” แต่เกิดจากภาวะล้มเหลวของระบบหัวใจและ
หลอดเลือด หรือระบบหายใจล้มเหลว
 กลมุ่ เสี่ยงที่สาคัญ คือผูส
้ งู อาย ุหรือผูม้ ีโรคประจาตัว ที่มีผล
ทาให้กลไกการปรับตัวต่ออ ุณหภ ูมิที่สงู ขึ้นไม่ดีเท่าที่ควร
กราฟแสดงการกระจายตัวของการเจ็บป่วยจากความ
ร้อนในประเทศไทยในปีพ.ศ.2550-51
ปี 50 รวม 18 ราย
ปี 51 รวม 81 ราย
การกระจายของโรคตามพื้นที่
 จังหวัดมุกดาหารมีผป
ู้ ่ วยด้วยโรคจากความร้อนมาก
ที่สดุ (ปี 51 จานวน 8 ราย และ ปี 52 จานวน 10
ราย) รองลงมาได้แก่ นครสวรรค์ นครราชสีมา และ
กาญจนบุรี
ผลกระทบจากภาวะภูมิอากาศแปรปรวนส ุดขัว้
ผลกระทบทางส ุขภาพจากภูมิอากาศแปรปรวน
 ภูมอ
ิ ากาศแปรปรวนก่อให้เกิดภาวะนา้ ท่วม พายุ ภาวะแห้งแล้ง และ
ไฟไหม้ป่า
 จากข้อมูลเชิงประจักษ์บ่งชีว้ ่าภาวะภูมอ
ิ ากาศเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิด
ภาวะภูมอิ ากาศแปรปรวนสุดขัว้ เกิดบ่อยมากขึน้ และรุนแรงขึน้
 ในช่วงเวลา 20 ปี ที่ผา่ นมา มีประชาชนหลายล้านคนทัว่ โลกที่เสียชีวิต
และได้รบั ผลกระทบต่ออุบตั ภิ ยั ทางธรรมชาติ รวมทัง้ สูญเสีย
ทรัพย์สินนับเป็ นมูลค่ามากกว่าหลายหมืน่ ล้านบาท
 โดยเฉลี่ยในแต่ละปี จะมีคนเสียชีวิตทัว่ โลกจากอุบต
ั ภิ ยั ทางธรรมชาติ
ประมาณ 123,000 คน โดยอุบตั กิ ารณ์จะพบมากที่สดุ ในทวีป
แอฟริกา ทัง้ ๆที่ 80% ของการเกิดจะพบมากที่สดุ ในทวีปเอเชีย
 ในทุก 1 คนที่เสียชีวิต จะมีคนอีก 1,000 คนที่รบ
ั ผลกระทบไปด้วย
ซึ่งผลกระทบมีทงั้ ทางกาย จิตใจ รวมทัง้ เศรษฐกิจและสังคม
สถิติความเสียหายจากอ ุทกภัยในประเทศไทย
ปีพ.ศ. 2532 - 2549
 ปี
2532-2549 มีอทุ กภัยเกิดขึน้ ทุกปี โดยมีพื้นที่ที่ได้รบั
ผลกระทบจานวน 42-74 จังหวัด ปี ที่เกิดความเสียหายมาก
ที่สดุ คือปี 2545 พื้นที่ที่ประสบปั ญหาเกิดขึน้ ถึง 72 จังหวัด
จานวน 18,510 หมูบ่ า้ น ครอบคลุมพื้นที่การเกษตร 10.44
ล้านไร่ มูลค่าความเสียหาย 13,385.32 ล้านบาท
 ปี 2549 เกิดปั ญหาอุทกภัยใน 52 จังหวัด ครอบคลุมพื้นที่
การเกษตร 6.76 ล้านไร่ มูลค่าความเสียหาย 11,131.93 ล้าน
บาท
มลพิษทางอากาศ
ไฟป่ า
การเผาขยะ
การเผาจากภาคการเกษตร
มลพิษทางอากาศจากภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง
 ภาวะภูมอ
ิ ากาศเปลี่ยนแปลงมีผลต่อการเกิดมลพิษทาง
อากาศหลายวิธีการ เช่น มีผลต่อการเกิดมลพิษ ช่วยในการ
กระจายมลพิษ หรือทาให้การเกิดผลกระทบรุนแรงขึน้
 ปริมาณโอโซนจะเพิ่มขึน
้ เมือ่ ภูมอิ ากาศมีอณ
ุ หภูมสิ งู ขึน้
 เมือ
่ อากาศร้อนขึน้ จะก่อให้เกิดการเพิ่มขึน้ ของละอองเกสร
ดอกไม้ ซึ่งมีผลต่อสุขภาพ
 มลพิษทางอากาศสามารถเกิดขึน
้ ทางภายในและภายนอก
อาคาร คุณภาพอากาศภายในอาคารจะมีปัญหาในเรื่องการ
เพิ่มขึน้ ของความชืน้ และเชือ้ รา
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
 เพิ่มอัตราการตาย:
การเพิ่มของปริมาณฝุ่นท ุก 10
micro gm./m3
- เพิ่มอัตราการตายทัง้ หมด 4.5%
- เพิ่มอัตราการตายจากโรคระบบหายใจ 9.8%
- เพิ่มอัตราการตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด 3.9%
- เพิ่มอัตราการตายในผูส้ งู อาย ุ (มากกว่า 65 ปี) 5.4%
 ผลกระทบต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด: หัวใจเต้นผิดปกติ
มีการอักเสบของเส้นเลือดไปเลี้ยงหัวใจ เลือดมีความข้น
มากผิดปกติ
 ผลกระทบต่อระบบหายใจ
 เป็นสารก่อมะเร็งและโรคภ ูมิแพ้
สถานการณ์เฝ้าระวังส ุขภาพในปีพ.ศ.2553
 กรมควบคุมโรค ได้วางระบบการเฝ้าระวังโรคเฉพาะพื้นที่
(Sentinel surveillance) โดยเลือกโรงพยาบาล 17
แห่งในพื้นที่เสี่ยง และใช้ขอ้ มูลเฉพาะผูป้ ่ วยนอก
 พบว่า ในช่วงปลายเดือน ก.พ. – มี.ค. มีอบ
ุ ตั กิ ารณ์ของโรค
ระบบหายใจเพิ่มขึน้ มากกว่าช่วงเวลาคุณภาพอากาศปกติถึง
2-3 เท่า
 โดยโรคที่พบมีความสัมพันธ์อย่างชัดเจน คือ โรคติดเชื้อ
ทางเดินหายใจส่วนบน โรคหอบหืด และโรค COPD
 จังหวัดที่พบอุบต
ั กิ ารณ์สงู คือ แม่ฮอ่ งสอน น่าน และพะเยา
 อุบต
ั กิ ารณ์ของโรคจะเพิ่มมากขึน้ ตามปริมาณของฝุ่ นที่สงู ขึน้
โรคติดต่อทางน้าและอาหาร
อ ัตราป่วยด้วยโรคอหิวาตกโรค ปี 2547-2552
4
3.5
3.41
อ ัตราป่วย/แสนประชากร
3
2.5
2
1.57
1.5
1
0.5
0.45
0.39
0.46
0.16
0
2547
2548
2549
ปี พ.ศ.
2550
2551
2552
อ ัตราป่วยด้วยโรคบิด(รวม) ปี 2546-2552
45
41.21
40
36.72
35
33.69
30.77
อ ัตราป่วย/แสนประชากร
30
30.23
26.23
25
23.81
20
15
10
5
0
2546
2547
2548
2549
ปี พ.ศ.
2550
2551
2552
ี ปี 2546-2552
อ ัตราป่วยด้วยโรคท้อ งเสย
2500
2000
1988.11
อ ัตราป่วย/แสนประชากร
1858.21
1500
2050.78
1988.03
2023.64
1837.07
1536.01
1000
500
0
2546
2547
2548
2549
ปี พ.ศ.
2550
2551
2552
โรคติดต่อนาโดยแมลงและหนู
อ ัตราป่วยด้วยโรค Leptospirosis ปี 2546-2552
9
8.57
8
7.88
7
6.66
6.29
อ ัตราป่วย/แสนประชากร
6
5.21
5.12
5
4.61
4
3
2
1
0
2546
2547
2548
2549
ปี พ.ศ.
2550
2551
2552
อ ัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรีย ปี 2546-2552
60
50
49.08
45.23
46.25
45.72
อ ัตราป่วย/แสนประชากร
40
37.83
30
36.61
31.63
20
10
0
2546
2547
2548
2549
ปี พ.ศ.
2550
2551
2552
อ ัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือ ดออก ปี 2546-2552
70
60
57.97
อ ัตราป่วย/แสนประชากร
50
40.43
40
39.7
30
27.79
27.25
24.23
20
17.88
10
0
2546
2547
2548
2549
ปี พ.ศ.
2550
2551
2552
ผลกระทบต่อกระบวนการผลิตอาหาร
และภาวะท ุพโภชนาการ
ผลกระทบต่อกระบวนการผลิตอาหาร



ผลกระทบเกิดจากผลผลิตทางการเกษตร ปศุสตั ว์และประมงที่
ลดลง
สาเหตุโดยตรง คือ อุณหภูมทิ ี่สงู ขึน้ จนพืชเติบโตไม่ดี เกิดความ
แห้งแล้งขาดนา้ ปริมาณ CO2 ที่เพิ่มขึน้ พื้นที่เกษตรกรรม
ลดลงจากระดับนา้ ทะเลที่สงู ขึน้ และอุบตั ภิ ยั ทางธรรมชาติที่
รุนแรง
สาเหตุโดยอ้อม คือ การเพิ่มขึน้ ของแมลงและศัตรูพืช คุณภาพดิน
เสื่อมลง และการใช้สารกาจัดศัตรูพืชที่มากขึน้ จนกระทบต่อ
คุณภาพอาหาร
ภาวะโภชนาการของเด็กไทย
 ข้อมูลจากระบบรายงาน พ.ศ. 2550 พบว่าเด็กอายุ
0-72 เดือน มีภาวะทุพโภชนาการ เพิ่มมากขึน้ และพบ
ในทุกจังหวัด จังหวัดที่มภี าวะทุพโภชนาการมากกว่า
ร้อยละ 10 และเป็ น จังหวัดที่ตอ้ งเฝ้ าระวังมีถึง 41
จังหวัด สูงสุดคือจังหวัดชลบุรีรอ้ ยละ 36.28
ภาวะโภชนาการของเด็กไทย
 ปี
2552 สพฐ.สารวจภาวะโภชนาการจากการวัด
นา้ หนักส่วนสูงของเด็กอนุบาลถึงป.6 พบว่า จาก
นักเรียนทัง้ หมด 4,665,374 คน มีนา้ หนักตา่ กว่า
เกณฑ์อายุ ร้อยละ 8.13 และ มีสว่ นสูงตา่ กว่าเกณฑ์
อายุ ร้อยละ 7.73
โรคจากการประกอบอาชีพ
กราฟแสดงร้อยละของแรงงานใน-นอกระบบ
ปี 2552
มาตรการในการรองรับผลกระทบทางส ุขภาพ
WHO ได้แนะนามาตรการดังนี้
1.การสร้างความตระหนักให้แก่สาธารณชน
2.สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคี
เครือข่ายในทุกระดับ
3.ส่งเสริมการศึกษาทางด้านวิจยั และวิชาการ
4.สร้างความเข้มแข็งของระบบสาธารณสุขในการรองรับ
ผลกระทบที่จะเกิดขึน้ รวมทัง้ ระบบการแพทย์ฉกุ เฉินจาก
อุบตั ภิ ยั ต่างๆ
สร ุป
 ภาวะภูมอ
ิ ากาศเปลี่ยนแปลงนับเป็ นปั ญหาทางด้าน
สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ
 ผลกระทบต่อสุขภาพมีความหลากหลายและกระทบต่อ
ประชาชนเป็ นวงกว้าง
 ประชากรกลุม
่ เสี่ยงที่สาคัญ คือ เด็ก ผูส้ งู อายุ ผูท้ ี่มปี ั ญหา
สุขภาพ ผูท้ ี่มฐี านะยากจน และผูป้ ระกอบอาชีพเสี่ยง
 มาตรการในการป้องกันและลดผลกระทบจาเป็ นต้อง
ดาเนินการอย่างเร่งด่วน
ผลกระทบจากปัญหาโลกร้อน
นายวิฑรู ย์ เรืองเลิศปั ญญากุล
มูลนิธิสายใยแผ่นดิน (Earth Net Foundation)
ภาวะเรือนกระจก
 รังสีดวงอาทิตย์
 รังสีสะท้อนจากเมฆสูบ
่ รรยากาศ
 รังสีสะท้อนจากผิวโลกสูบ
่ รรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
 ผลกระทบต่อภาคการเกษตรเพิ่มขึน
้ เมือ่ อากาศร้อนขึน้
 ด้านดี พืชทุกชนิดเติบโตดีขนึ้ มี metabolism สูงขึน้
 ผลกระทบต่อสุขภาพ
 ทางตรง
○ คลื่นความร้อน/ความเย็น/ลมพายุ/ภัยพิบต
ั จิ ากสภาพอากาศรุนแรง
 ทางอ้อม
○ ผ่านทางสิ่งแวดล้อม/ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น นา้ ท่วม ดินถล่ม
พืชผลการเกษตรเสียหาย โรคระบาด
 ทางอ้อม
○ ผ่านทางเศรษฐกิจ/สังคม/การเมือง เช่น ความขัดแย้ง คนว่างงาน
เพิ่มเติม
 อุณหภูมเิ พิ่มขึน
้ 1 องศาเซลเซียส
อากาศจะร้อนขึน้ ใน
ระดับสูง ประมาณ 154 เมตร
 โครงสร้างสาธารณูปโภคสุขภาพได้รบ
ั ความเสียหายจาก
สภาพอากาศรุนแรง
 Scenario ของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
พันโท ฐิติศักดิ์ กิจทวีสิน
พบ.(เกียรตินิยม อันดับ1),วว.อายุรศาสตร์,วว.อายุรศาสตร์โรคไต, อว.อายุรศาสตร์พษิ วิทยา
คลินิก
หัวหน้าหน่วยเวชพิษวิทยา และ เลขานุการคณะทางานศู นย์ปฏิบัติการโรคลมร้อน
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ปฏิบตั กิ ารทางทหาร
 การฝึ กในที่ตงั้
 การฝึ กนอกที่ตงั้
 การรบ
 ปฏิบต
ั กิ ารอื่นๆ
สมด ุลความร้อนในมน ุษย์
 ความร้อนในร่างกาย
 ความร้อนที่เกิดจากการทางานและการเผาผลาญอาหาร
ของร่างกาย
 ความร้อนจากสิ่งแวดล้อมที่เข้ามาสูร่ ่างกาย
○ โดยการนาความร้อนโดยอาศัยสื่อสัมผัส เช่น ของแข็ง
ของเหลว
○ โดยมีตวั พาความร้อน ได้แก่ อากาศ
○ โดยการแผ่รงั สีความร้อน
○ โดยการระเหยของเหงือ่
กระบวนการถ่ายเทความร้อนสูท่ หาร
รังสี ความร้ อน รังสี ความร้ อนในอากาศ
จากแดด
อุณหภูมอิ ากาศ
ความชื้นในอากาศ
รังสี ความร้ อน การนาความร้ อน
ความร้ อนจากร่ างกาย
สภาพแวดล้อมที่ทาให้เกิดอันตรายจากความร้อน
 อุณหภูมส
ิ งู อากาศร้อน
 ความชืน
้ สัมพัทธ์ในอากาศสูง
 มีแดดแรง อยูก
่ ลางแจ้ง
 ไม่มล
ี มพัด
กลไกการระบายความร้อนออกจากร่างกาย
 การมีเหงือ
่ ออก และเหงือ่ ระเหย.....เป็ นกลไกหลัก
 การระเหยของเหงื่อจะล้มเหลว ถ้าความชื้น
สัมพัทธ์สงู ถึงร้อยละ 75
ผลของการออกกาลังกายต่ออ ุณหภูมิรา่ งกาย
 อุณหภูมภ
ิ ายในร่างกายจะสูงขึน้ 0.2 องศาเซลเซียส
ต่อทุกๆการสูญเสียนา้ 1 % ของนา้ หนักตัว
ตลอดเวลาที่ออกกาลังกาย
แต่อาการกระหายน้า จะเกิดต่อเมื่อมี
การขาดน้ามากถึง 5% ของน้าหนักตัว
ความร้อนที่เกิดจากการออกกาลังกายอย่างหนัก
 คิดเป็ น 15-20 เท่า ของความร้อนที่เกิดขึน
้ ในขณะ
พัก
 สามารถทาให้อณ
ุ หภูมริ ่างกายสูงขึน้ ถึง 0.5-1
องศาเซลเซียสในทุกๆ 5 นาที
 กลไกการระบายความร้อนที่สาคัญอยูท
่ ี่
“…การมีเหงื่อและทาให้เหงื่อระเหยได้…”
ขบวนการปรับสภาพร่างกายต่อความร้อน
การสะสมความร้อน มากกว่า การระบายความร้อน
อุณหภูมิผวิ หนังเพิ่มสู งขึ้น
ดื่มน้ ามากพอ
ปลายประสาทถูกกระตุน้
หลอดเลือดที่ผวิ หนังขยายตัว
ระบายความร้อน
ที่ผวิ หนังมากขึ้น
ปรับตัวให้ปริ มาตร
เลือดเพิม่ มากขึ้น
เหงื่อออก
เหงื่อระเหย
ระบายความร้อน
ปฏิบตั ิงานหรื อฝึ กในที่ร้อนจัด
อุณหภูมิร่างกายสู งขึ้น
หลอดเลือดที่ผวิ หนังไม่ขยายตัว
ไม่มีเหงื่อออก
อุณหภูมิร่างกายสู งขึ้นอย่างรวดเร็ ว
สมองได้รับอันตรายจากความร้อน
ระบบการทางานของอวัยวะต่างๆล้มเหลว
Heat Stroke
ค ุณสมบัติของทหาร
 ความสมบูรณ์ของร่างกาย
 ความเคยชินกับการออกกาลังกายในสภาพอากาศร้อน
 การปรับตัวกับการออกกาลังกายและอากาศร้อน
ปัจจัยเสี่ยง
 เด็กเล็ก
 ทหาร
 คนชรา
 ถูกบังคับให้ออกกาลังกาย
 ผูป
้ ่ วยเคลื่อนไหวด้วย
เกินกว่าที่ทนได้
 ความตัง้ ใจที่จะทาให้ดท
ี ี่สดุ
 เคยเป็ นโรคลมร้อนมาก่อน
ตัวเองไม่ได้
 ผูป
้ ่ วยโรคเรื้อรัง
 ขาดการออกกาลังกาย
 อ้วน
 ไม่มต
ี อ่ มเหงือ่
 ดืม
่ นา้ ไม่เพียงพอ
 ยา
ลักษณะที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคลมร้อน
 ขาดการปรับตัวต่อสภาพอากาศ  รับประทานยาแก้แพ้ ลด
นา้ มูก ยานอนหลับ
ร้อน (10-14วัน)
่ สุรา
 ทาการฝึ ก หรือ ออกกาลังกายใน  ดืม
สภาพอากาศร้อน และกลางแดด  อดนอน
 มีผน
ื่ แพ้แดด
 ขาดนา้
 มีประวัตโิ รคลมร้อน
 สมรรถภาพร่างกายไม่สมบูรณ์
 อายุมากกว่า 40 ปี
 อ้วน นา้ หนักเกิน
 เจ็บป่ วย ไข้หวัด ท้องร่วง อาเจียน
ธงสัญญาณ
สั ญญาณธง
ดัชนีความร้ อน
ความชื้นสั มพัทธ์
(%)
ปริมาณนา้ ดืม่
ลิตรต่ อชม.
เวลาฝึ กหนักที่
ทาได้ ใน 1 ชม.
(oC)
ธงขาว
< 27
55-60
½
ทาได้ต่อเนื่อง
ธงเขียว
27-32
60-65
½
50 นาที
ธงเหลือง
32-40
65-70
1
45 นาที
ธงแดง
41-54
70-75
1
30 นาที
ธงดา
> 54
> 75
1
20 นาที
รูปแบบการเจ็บป่วยจากความร้อน
ผืน
่ ผดแดด
อาการบวมจากความร้อน
ลมแดด
ตะคริวแดด
เพลียแดด
โรคลมร้อน ฮีทสโตรค“Heatstroke”
การวินิจฉัย
 ไข้สงู ...อุณหภูมิ
มากกว่า 40.5 องศาเซลเซียส
 อาการทางสมอง...เป็ นลม หมดสติ กระวนกระวาย
ก้าวร้าว ประสาทหลอน ชัก เป็ นต้น
 กลไกระบายความร้อนล้มเหลว...ทาให้อาจไม่มเี หงือ
่
ได้
Heatstroke

มี 2 แบบ ได้แก่
1. Classical heatstroke
โรคลมร้อนจากคลื่นความร้อน
2. Exertional heatstroke
โรคลมร้อนจากการฝึ กหรือทางานในสภาพอากาศร้อน
Heatstroke
Classical HS
Exertional HS
 เกิดจากคลื่นความร้อน
 พบในคนอาย ุน้อย
ในหน้าร้อน พบมากใน
ประเทศตะวันตก
 เกิดอาการช้า
 คนแก่, เด็กเล็ก, ผูป
้ ่ วย
เรื้อรัง
 ผูท
้ ี่ทางานในที่รอ้ น
กลางแจ้ง
 กรรมกร, ทหารใหม่
Management
 นอกโรงพยาบาล
 เคลื่อนย้ายสูส่ ถานที่ๆอากาศเย็นกว่า
 ลดอุณหภูมริ ่างกายโดย
○ ถอดเสื้อผ้า
○ ประคบเย็นที่คอ รักแร้ ขาหนีบ,
○ พ่นผิวหนังด้วยสเปรย์ ใช้นา้ อุณหภูมิ 25-30 C
○ เป่ าด้วยพัดลม หรือเปิ ดหน้าต่างรถพยาบาล
 หากหมดสติ ให้จดั ท่าให้เหมาะสม
 ออกซิเจน
 นา้ เกลือชนิด NSS
 รีบส่งต่อไปโรงพยาบาลในพื้นที่
คาแนะนาเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากความร้อน
 ภัยอันตรายจากความร้อน เกิดขึน
้ ได้จาก 4 ปั จจัย
 ระดับความร้อน
○ จัดแบ่งตามระดับความรุนแรงหรือธงสัญญาณโดยใช้อณ
ุ หภูม,ิ
ความชืน้ สัมพัทธ์ หรือ ค่าดัชนีความร้อน
 ระดับความหนักของกิจกรรม,การออกกาลังกายหรือ
การฝึ ก
 การปรับตัวต่อการออกกาลังกาย หรือการฝึ ก ใน
อากาศ ร้อน
 เวลาที่สม
ั ผัสกับอากาศร้อน ในแต่ละห้วงเวลา
การควบค ุมป้องกันการเกิดโรคลมร้อน
 ตระหนักถึงความเสี่ยงต่อการเกิดโรคลมร้อน
 ประสานกับหน่วยแพทย์ในพื้นที่เพื่อเตรียมพร้อม
 เตรียมความพร้อมในการป้องกันระดับหน่วย
 ตรวจสอบอุปกรณ์สาหรับวัดอุณหภูมิ – ความชืน้ สัมพัทธ์
 ติดตามค่าดัชนีความร้อนในพื้นที่การฝึ ก
 จัดการฝึ กโดยยึดตามตารางการฝึ กตามระดับความร้อน ให้มี
ระยะพักที่เพียงพอ
 ตรวจสอบให้มีการให้น้าทดแทนที่เพียงพอ
 จัดให้มกี ารให้นา้ ทดแทน โดยยึดตามตาราง
คาแนะนาการให้นา้ ทดแทน
 ตรวจสอบว่าทหารทุกคนมีนา้ เพียงพอในภาชนะ
บรรจุ
 ไม่อนุญาตให้ทหารลดนา้ หนักสัมภาระโดยการเท
นา้ ทิ้งจากภาชนะ
 ตรวจสอบว่าทหารทุกนายไม่อยูใ่ นสภาพขาดนา้
 ตรวจสอบว่ามีหว้ งเวลานอนและรับประทานอาหารที่เพียงพอ
 จัดเวลาการรับประทานอาหารตามมือ้
 จัดห้วงเวลาการนอนให้เพียงพอ
 จัดเครือ
่ งแต่งกายให้เหมาะสม
 การฝึ กในระดับความร้อนที่ 1-2 (ธงขาว-ธงเขียว) ไม่มขี อ้ จากัด
 การฝึ กในระดับความร้อนที่ 3-5 (ธงเหลือง-ธงแดงและธงดา)
 ควรแต่งชุดครึ่งท่อนและถอดหมวก ในการฝึ ก
 จัดให้มีระบบการตรวจสอบภายในหน่วย
 ใช้ระบบ ให้ทหารดูแลกันเอง
 จัดเจ้าหน้าที่รบ
ั ผิดชอบและตรวจความพร้อมในการจัดการป้องกันระดับ
หน่วย
 ประสานหน่วยสายแพทย์หากมีขอ้ สงสัย