การดูดซึมยา

Download Report

Transcript การดูดซึมยา

Slide 1

บทที่ 3
การออกฤทธิ์ของยา
หมายถึงการทีส่ ารเคมีหลังจากเข้ าสู่ ร่างกายแล้ วไปมีผลทาให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในการทาหน้ าทีท่ างสรี รวิทยาของอวัยวะส่ วนต่ างๆ ตลอดจน
ปฏิกริ ยาต่ างๆที่เกิดขึ้นในร่ างกาย บริ เวณ หรื อตาแหน่ งทีย่ าไปออกฤทธิ์
วัตถุประสงค์
เพือ่ ให้ ทราบ
1. ความสั มพันธ์ ระหว่ างยาและการให้ ยาโดยวิธีต่าง ๆ
2. หลังจากได้ รับยาเข้ าไปในร่ างกายแล้วยามีการ
เปลีย่ นแปลงอย่างไร
3. ปัจจัยที่เกีย่ วข้ องกับความเป็ นพิษของยา
การออกฤทธิ์ของยา

1


Slide 2

การบริหารยา (DrugAdministration)
การบริ หารยาคือ วิธีการต่ างๆ ในการให้ ยาเข้ าไปในร่ างกายของผ้ ปู ่ วย
โดยมีวัตถุประสงค์ เพือ่
• 1. ผลเฉพาะที่ (Local effect) คือต้ องการให้ ยาออกฤทธิ์ในบริ เวณที่
ให้ ยา ซึ่งแสดงว่ ายามีการดูดซึมได้ น้อย ตัวอย่ างเช่ น การให้ ยาที่
ผิวหนัง หรือ เยื่อเมือกเพือ่ ลดการอักเสบในบริเวณนั้น
• 2. ผลต่ อระบบอวัยวะต่ างๆ (Systemic effect) คือต้ องการให้ ยามี
การดูดซึมเข้ าสู่ กระแสเลือดและสามารถกระจายไปตาแหน่ งทีอ่ อก
ฤทธิ์ ซึ่งสามารถให้ ได้ หลายวิธี เช่ น ยากิน ยาฉีด
บทนา

2


Slide 3

เมื่อยาเข้ าไปสู่ ร่างกายแล้ วจะออกฤทธิ์ได้ มีความเกีย่ วข้ องกับ
Pharmacokinetics (การเปลีย่ นแปลง 3 ประการ) คือ
• 1. การดูดซึม
• 2. การกระจายของยา
• 3. การกาจัดยาออกจากร่ างกาย

การออกฤทธิ์ของยา

3


Slide 4

• การใช้ ยาให้ ได้ ผลต้ องมีขนาดยาทีใ่ ช้ ซึ่งขึน้ กับ
– ผลิตภัณฑ์ ยา
– วิธีทใี่ ห้ ยา และ
– ระยะเวลานานพอที่จะรักษาโรคได้

• การดูดซึมและการกระจายตัวของยาเป็ นตัวกาหนดปริมาณของยาที่
จะรวมกับตัวรับในบริเวณทีย่ าออกฤทธิ์
• ส่ วนการเปลีย่ นแปลงและการขับออกของยาเป็ นตัวกาหนดการหมด
ฤทธิ์ของยา

การออกฤทธิ์ของยา

4


Slide 5

กลไกการออกฤทธิ์ของยา
• ส่ วนใหญ่ เกิดจากการเกิดปฏิกริ ยาเคมีระหว่ างยากับโมเลกลุ ส่ วน
หนึ่งของเนื้อเยื่อส่ วนต่ างๆทีท่ าหน้ าทีใ่ นร่ างกาย (receptor) ทาให้ มี
การรวมตัวระหว่ างแขนทีเ่ กาะ (bond) ของโมเลกุลซึ่งเป็ น ionic
bonds, hydrogen bonds หรือ Van der Waals forces และการ
รวมตัวนีส้ ามารถแยกจากกันได้
• นอกจากนีเ้ กิดจากยาทาปฎิกริยากับสารทีอ่ ยู่นอกอวัยวะ เช่ น ยาลด
กรด ทาปฏิกริยากับสารพิษที่ได้ รับ หรือ ทาปฏิกริยากับเชื้อโรค

การออกฤทธิ์ของยา

5


Slide 6

รู ปที่ 3-1 แสดงให้เห็นถึง parameter ต่างๆ ของ pharmacokinetic/ bioavailability
เช่น Tmax (ระยะเวลาตั้งแต่เริ่ มให้ยาจนวัดระดับยาในเลือดได้สูงสุ ด), AUC (area
under the curve) เป็ นต้น และแสดงให้เห็นระยะเวลาที่ยาเริ่ มออกฤทธิ์ (onset) จน
หมดฤทธิ์ (duration of action)
การออกฤทธิ์ของยา

6


Slide 7

รู ปที่ 3-2 แสดงถึงระดับยาในเลือดเมื่อให้ยา 1 dose
A:- เมื่อยาถูกดูดซึมในอัตราที่เร็วกว่าการขับออก

a = เร็วกว่า 100 เท่า, b = เร็วกว่า 10 เท่า, c = ดูดซึมเท่ากับขับออก
B:- ระดับยาสูงขึ้นเมื่อเพิ่มขนาดยาเป็ น 2 เท่า
C:- ยาอยูใ่ นร่ างกายนานขึ้น ถ้าอัตราการขับออกช้ากว่าการดูดซึ ม 2 เท่า เช่น 10:1 และ 10:0.5

การออกฤทธิ์ของยา

7


Slide 8

การดูดซึมยา
หมายถึง การทีย่ าสามารถผ่ านจากตาแหน่ งที่ให้ ยาเข้ าสู่ กระแสโลหิตได้
การที่ยาผ่ านจากตาแหน่ งทีใ่ ห้ ยาจะต้ องเคลือ่ นผ่าน biological membrane เช่ น
ผิวหนัง เยือ่ บุหรือผนังเส้ นเลือด membrane เหล่านีเ้ ป็ นชั้นของไขมันชนิด
ฟอสโฟลิปิดซึ่งมีอยู่สองชั้น และ
ล้อมรอบด้ วยชั้นของโปรตีน ทาให้
สารหรือยาทีม่ ีคุณสมบัติละลายได้ ดี
ในไขมันจะซึมผ่ าน
biological membrane ได้ ดีกว่ า
สารทีม่ ีคุณสมบัติละลายได้ ดีในนา้
การออกฤทธิ์ของยา

8


Slide 9

การดูดซึมยา
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อการดูดซึมยา
• ตัวยา: ขนาดโมเลกุล วิธีให้ ยา ความเข้ มข้ นของยา รูปแบบ
ของยา
การละลายตัว การแตกตัว

• ตัวสั ตว์ / ผู้ป่วย: การหมุนเวียนของเลือด พืน้ ทีผ่ วิ ของ
อวัยวะสาหรับดูดซึมยา การทางานของกระเพาะอาหาร การ
ทางานของเอนซัยม์ ต่ างๆ

• อิทธิพลของสิ่ งแวดล้ อม: สภาพอากาศ
ซึ่งมีรายละเอียดดังต่ อไปนี้

การออกฤทธิ์ของยา

9


Slide 10

1. ปัจจัยที่เกีย่ วกับตัวยา
1.1. ลักษณะทางฟิ สิกส์ ของยา
1.1.1 ของแข็ง (solid)
- มีการดูดซึมได้ ช้าเนื่องจากจะต้ องละลายนา้ ก่อนดูดซึม

1.1.2 ของเหลว (solution)
- ดูดซึมได้ เร็วทีส่ ุ ด

1.1.3 ยาเคลือบ
- จะดูดซึมช้ าได้ ช้าเพราะต้ องรอให้ สารทีเ่ คลือบละลายก่อน
การออกฤทธิ์ของยา

10


Slide 11

1.1. ลักษณะทางฟิ สิกส์ ของยา (ต่ อ)
1.1.4. ยาผลึก (suspension)
- จะดูดซึมได้ ช้ากว่ ายาประเภท solution
1.1.5. vehicle ของยา
- นา้ มันจะดูดซึมได้ ช้ากว่ านา้ เช่ น penicillin ในนา้ ดูดซึม
ได้ เร็วกว่ า penicillin ในนา้ มัน

การออกฤทธิ์ของยา

11


Slide 12

1.2. วิธีการ (route) ของการให้ ยา
• การให้ ยากินจะใช้ เวลาดูดซึมนานกว่ าการให้ ยาฉีด เพราะต้ องผ่ าน
ปาก กระเพาะ ลาไส้ ดูดซึมผ่ านเส้ นเลือดเข้ าสู่ หัวใจแล้วจึงกระจาย
ทั่วร่ างกาย
• การฉีดยาสามารถให้ ได้ หลายทาง เช่ น เข้ าเส้ นเลือด เข้ ากล้ามเนือ้
เข้ าใต้ ผวิ หนัง โดยทีก่ ารให้ เข้ าเส้ นเลือด ยาจะออกฤทธิ์เร็วทีส่ ุ ด
ส่ วนการให้ route อืน่ ๆ ต้ องมีการดูดซึมเข้ าสู่ กระแสโลหิต ซึ่งจะ
ดูดซึมช้ าหรือเร็ว

ขึน้ อยู่กบั ว่ าตาแหน่ งนั้น มีเส้ นเลือดมากน้ อยเพียงใด
การออกฤทธิ์ของยา

12


Slide 13

1.3. ขนาดและความเข้ มข้ นของยา
• การให้ยาขนาดสูงหรื อความเข้มข้นสูง จะดูดซึมได้เร็ วกว่ายาขนาดต่า
หรื อความเข้มข้นต่า

1.4. ลักษณะทางเคมีของยา
• ยาส่ วนใหญ่มีคุณสมบัติเป็ นกรดอ่อนหรื อเบสอ่อน ความสามารถใน
การแตกตัวเป็ นสภาพ ion ขึ้นกับ
– ค่ า pKa
– ความเป็ นกรดหรือเบสของสภาพแวดล้ อม (สารทีล่ ะลายยา) และ
– ความสามารถในการละลายของตัวยาในไขมัน
การออกฤทธิ์ของยา

13


Slide 14

ค่ า pKa
• ค่า Ka คือ สัมประสิ ทธิ์ของการแตกตัวของกรด
HA
H+ + A• ค่า p Ka
=
• ดังนั้น ค่า Ka ต่า

-log Ka
ค่า pKa สูง

กรดอ่อน

• ดูดซึมได้ดี
ไม่เกิดประจุ
ยาจะแตกตัวได้ไม่ดี
• เช่น ยา ที่มี Ka = 1.9 x 10-5 จะแตกตัวได้ดีกว่า Ka = 7 x 10-10
การออกฤทธิ์ของยา

14


Slide 15

เมื่ออย่ ใู นสารละลายตัวกลางทีม่ ี pH เท่ ากัน
• ยาที่เป็ นกรดที่มีค่า pKa ต่า จะแตกตัวเป็ นไอออนได้ ดีกว่ากรดที่มี
ค่ า pKa สู ง (เนื่องจากมีความเป็ นกรดที่แรงหรือแก่กว่ า)

• ยาที่เป็ นเบสที่มีค่า pKa สู ง จะแตกตัวเป็ นไอออนได้ ดีกว่าเบสที่มี
ค่ า pKa ต่า (เนื่องจากมีความเป็ นเบสที่แรงหรือแก่กว่ า)

การออกฤทธิ์ของยา

15


Slide 16

ตัวอย่ างการคานวณ
ยา A เป็ นกรดอ่ อน มีค่า pKa =5.5 เมื่ออยู่ในสารละลายทีม่ ี pH =
3.5 จะอยู่ในรู ปทีไ่ ม่ แตกตัว และรู ปทีแ่ ตกตัวเป็ นสั ดส่ วน ?
pH = pKa + log [I]
[UI]
3.5 = 5.5 + log [I]
log [I] = -2.0 [UI]
[UI]
[I] =
[UI]

ยาที่แตกตัว = antilog -2.0 = 10-2
ยาที่ไม่ แตกตัว
ยาทีไ่ ม่ แตกตัว

= 102

16


Slide 17

•ค่า pKa
•ไม่มีประจุ ไม่มีข้วั
•น้ าหนักโมเลกุลต่า
•ละลายในไขมันได้ดี
•สปส.การละลายใน
ไขมันต่อการละลายใน
น้ ามีค่าสูง

• ยาที่สามารถเคลื่อนผ่าน
เซลเมมเบรนได้ตอ้ งมี
คุณสมบัติดงั นี้

การออกฤทธิ์ของยา

คือ การละลายในไขมัน
การละลายได้ในน้ า

17


Slide 18

ยาที่ดูดซึ มได้ดีคือยาที่มีฤทธิ์ เป็ นกรดหรื อเบสอ่อน ซึ่ ง ในสภาพอวัยวะที่มี pH
ใกล้เคียงกัน จะทาให้ยาไม่เกิดการแตกตัว

รู ปที่ 3-3 แสดงถึงอิทธิพลของ pH และ pKa ต่อการไม่ แตกตัวของยาที่มีคุณสมบัติ
เป็ นกรด (HA) และ ด่าง (B)
การออกฤทธิ์ของยา

18


Slide 19

รู ปที่ 3-4 แสดงอิทธิพลของการละลายในไขมัน (lipid solubility) ต่อการดูดซึ ม
ยากลุ่ม Barbiturates 3 ชนิด ที่มี pKa ใกล้เคียงกันจากกระเพาะอาหาร

ยาที่ดูดซึ มผ่านผนังกระเพาะได้ดีที่สุดคือ thiopental
การออกฤทธิ์ของยา

19


Slide 20

2. ปัจจัยที่เกีย่ วกับตัวสั ตว์
2.1. ฤทธิ์ในการขยายตัวหรือหดตัวเส้ นเลือด
ยาที่มีผลขยายเส้นเลือดจะถูกดูดซึมเร็ ว
ในขณะที่ยาที่มีฤทธิ์ทาให้เส้นเลือดหดตัวจะถูกดูดซึมช้า
ตัวอย่าง ยาชา
จะมีฤทธิ์ทาให้เส้นเลือดหดตัว ถูกดูดซึมช้า
และจะออกฤทธิ์เฉพาะที่
ยาชามักใช้ในการผ่าตัดเฉพาะที่
เพื่อระงับความรู้สึกเจ็บปวด
การออกฤทธิ์ของยา

20


Slide 21

2.2. การไหลเวียนเลือด
• ถ้าเลือดมีการไหลเวียนช้า จะทาให้ถูกดูดซึมช้า
– ตัวอย่าง เมื่อใกล้ตายความดันโลหิ ตต่า ดังนั้นการให้ยาทางปาก
หรื อฉีด เข้าใต้ผวิ หนังไม่ทนั ต้องฉีดเข้าเส้นเลือดหรื อบางครั้ง
จาเป็ นต้องฉีดเข้าหัวใจถ้าความดันเลือดต่าจนมองไม่เห็น
ตาแหน่งของเส้นเลือด

การออกฤทธิ์ของยา

21


Slide 22

2.3. อวัยวะต่ างๆ มีการดูดซึมยาได้ ดไี ม่ เท่ ากัน
• อวัยวะที่มีเยือ่ บุช้ นั เดียวยาจะถูกดูดซึมได้ดีกว่าหลายชั้น
• อวัยวะที่มีเซลเยือ่ บุบาง ยาจะถูกดูดซึมได้ดีเช่นกัน
• ยาจะถูกดูดซึมได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยูก่ บั ว่า pH ของยาและของ
อวัยวะนั้นมีความแตกต่างมากน้อยเพียงใด
ถ้ าแตกต่ างมากจะถูกดูดซึ มได้ น้อย

ผนังหลอดเลือดฝอย
ดูดซึ มดีที่สุด
การออกฤทธิ์ของยา

22


Slide 23

บริ เวณต่ างๆ ทีม่ ีการดดู ซึมยา
• 2.3.1. ปาก
– การให้ยากินจะดูดซึมได้นอ้ ย
เพราะอาหารอยูใ่ นปากเป็ นเวลาสั้น แต่การให้ยาอมใต้ ลิน้ จะ
ดูดซึมได้เร็ วมากเพราะเส้นเลือดดาใต้ลิ้นไม่ผา่ นตับ ยาจึงไม่ถูก
metabolized เหมือนการให้ยาด้วยวิธีอื่น แต่ยาจะไปสู่หวั ใจ
โดยตรงทาให้ได้รับยาอย่างรวดเร็ ว (sublingual vein
superior vena cava
หัวใจ)
ตัวอย่างเช่น การให้ยา nitroglycerin รักษาอาการหัวใจขาดเลือด
การออกฤทธิ์ของยา

23


Slide 24

2.3.2. กระเพาะ
– ปกติยาจะถูกดูดซึมได้นอ้ ย เนื่องจากกระเพาะมีฤทธิ์ เป็ น
กรดและมีผนังหลายชั้น แต่ยาบางชนิดจะถูกดูดซึ มได้
เช่นกัน ตัวอย่างเช่น พวกสารละลายในน้ ามัน (non
ionized) และเป็ นยาที่มีฤทธิ์เป็ นกรดอ่อน ๆ เช่น
salicylate, barbiturate

การออกฤทธิ์ของยา

24


Slide 25

2.3.2. กระเพาะ
– การได้รับยาในขณะที่กระเพาะว่ าง จะดูดซึ มดีกว่าใน
ขณะที่มีอาหารในกระเพาะ
ยาบางอย่างถูกทาลายที่กระเพาะ แต่ตอ้ งการให้ดูดซึ มที่ลาไส้
แก้ไขได้โดยให้ในรู ปยาเคลือบ (enteric coated tablet หรือ
capsule)

การออกฤทธิ์ของยา

25


Slide 26

2.3.3. ลาไส้ เล็ก
– ยาส่ วนใหญ่ดูดซึมที่นี่
ในสภาพ lipid nonionized molecule
– ดูดซึมที่นี่มากเพราะ
* ลาไส้ยาว อาหารใช้เวลาเคลื่อนผ่านนาน
* มี Villi มาก ซึ่ งเป็ นเซลที่มีผนังเซลชั้นเดียว
* ลาไส้มีการบีบตัวคละเคล้าตลอดขบวนการดูดซึม
การออกฤทธิ์ของยา

26


Slide 27

2.3.4 ทวารหนัก
• ให้ผลทั้งแบบเฉพาะที่และต่ออวัยวะต่าง ๆ เนื่องจากมีการดูดซึมผ่าน
เส้นเลือดได้ 2 ทาง คือ
* ทวารหนัก
rectal vein
inferior vena cava
heart
superior rectal vein
portal vein
ตับ
• จะใช้ยากรณี ที่ยานั้นทาให้เกิดอาการข้างเคียง คือ คลื่นไส้ อาเจียน
ระคายเคืองทางเดินอาหาร และไม่ตอ้ งการให้ยาถูกทาลายโดยกรดใน
กระเพาะอาหาร
• ใช้ในรู ป Suppository (ยาเหน็บ)
การออกฤทธิ์ของยา

27


Slide 28

2.3.5 ปอด
• alveoli มีเส้นเลือดมาก ดูดซึมได้ดี เช่น
ก๊าซพวกคลอโรฟอร์ม อีเทอร์

2.3.6. โพรงจมูก (nasal septum)
• ดูดซึ มได้เร็ ว เพราะผนังบาง และมีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมาก

2.3.7 ช่ องคลอด
• ดูดซึมได้ไม่ดี เหมาะสาหรับรักษาโรคเฉพาะแห่ง (ที่เกิดขึ้น
ใน reproductive tract)
การออกฤทธิ์ของยา

28


Slide 29

2.3.8 ท่ อทางเดินปัสสาวะ
• ยาไม่ค่อยดูดซึม เพราะผนังหนา จึงเป็ นการให้ยาเพื่อรักษาโรค
เฉพาะแห่ง

2.3.9. เยือ่ เมือกในเต้ านม
• การดูดซึม มีความผันแปร เนื่องจาก
- ชนิดยา
- ความเข้มข้น
- สาเหตุอื่นๆ เช่น สภาพการอักเสบมีฝีหนอง
ทาให้ยาไม่ค่อยเข้า systemic circulation
การออกฤทธิ์ของยา

29


Slide 30

2.3.10 ตา
• หยอดใน conjunctival sac
• ดูดซึมรวดเร็ ว
• ส่ วนใหญ่เป็ นยาพวกยาน้ า, ointment

การออกฤทธิ์ของยา

30


Slide 31

• 2.3.11 ผิวหนัง
• ใช้ในรู ปแบบยาพวก ointment, ยาผง
• ปกติแล้วยาดูดซึมไม่ค่อยดี เนื่องจากเป็ นเซลหลายชั้น ซึ่งยา
จะถูกดูดซึมได้ดี เมื่อสภาพผิวหนังมีบาดแผลเกิดขึ้น
• การดูดซึมจะดีข้ ึน หากเลือกใช้ตวั ทาละลายที่เหมาะสมหรื อ
มีการปิ ดทับตาแหน่งนั้นไม่ให้สูญเสี ย
ความชื้นและตัวยาที่ใช้ทา

การออกฤทธิ์ของยา

31


Slide 32

การดูดซึมยาทีต่ าแหน่ งต่ างๆ

Wartak, J. 1983. Drug dosage
and administration: Modern
Theory and Practice. University
Park Press, Baltimore, p. 113.
การออกฤทธิ์ของยา

32


Slide 33

3. ปัจจัยทีเ่ กีย่ วกับสิ่ งแวดล้ อม
3.1. อากาศ(อณ
ุ หภูมิ)
• อากาศหนาวทาให้เส้นเลือดหดตัว ในขณะที่อากาศร้อนทาให้เส้น
เลือดขยายตัว บริ เวณที่มีเส้นเลือดมาเลี้ยงมาก ยาถูกดูดซึ มเร็ ว

การออกฤทธิ์ของยา

33


Slide 34

การบริ ห ารยาในสั ตว์ แ บ่ งเป็ น 3 วิ ธี ใ หญ่ ๆ
1. การให้ ย ากิ น
2. การให้ ย าฉี ด

กิน หรื อ ฉีด หรื อ ทา ?



ฉี ดเข้ า เส้ น เลื อ ด



ฉี ดเข้ า กล้ า ม



ฉี ดเข้ า ใต้ ผิ ว หนั ง



ฉี ดแบบอื่ น ๆ เช่ น ฉี ดเข้ า ช่ อ งท้ อ ง เป็ นต้ น

3. การให้ ย าแบบอื่ น ๆ เช่ น ฉี ดเข้ า เต้ า นม ทาที่ ผิ ว หนั ง เป็ นต้ น

2 เพื่อให้เกิด systemic effect , 3 เพื่อ local effect, 1 ได้ผลทั้งสองแบบ
การออกฤทธิ์ของยา

34


Slide 35

ก. การให้ ยาทางปาก
• นิยมมากทีส่ ุ ดในคน
• มีหลายสู ตร หลายรูปแบบ เช่ น
Acid labile (ยาไม่ ทนกรด) & acid stable drugs (ยาทนกรด)
• กระเพาะเป็ นอวัยวะสาคัญ มี hydrochloric acid ซึ่งสร้ างจาก
gastric gland และนา้ ย่ อยในการช่ วยย่ อยสิ่ งต่ างๆ ที่กนิ เข้ าไป ดังนั้น
สภาพของกระเพาะจึงเป็ นกรด
• ยาบางชนิดถูกทาลายในกระเพาะอาหาร เรียกว่ า acid labile drug
เช่ น epinephrine, insulin
การออกฤทธิ์ของยา

35


Slide 36

การให้ ยาที่ไม่ ทนกรด
– (1) ในสั ตว์ กระเพาะเดี่ยวให้ 1 ชม. ก่อนอาหารหรือ 2 ชม. หลังอาหาร
เพราะเป็ นช่ วงที่ยงั ไม่ มีการหลัง่ นา้ ย่ อยหรือนา้ ย่ อยหมดไปแล้ว
• ยกเว้ น ไม่ ควรใช้ ในสัตว์ กระเพาะรวมซึ่งมีการหมักเกิดขึ้นใน
กระเพาะตลอดเวลา
– (2) เปลีย่ นรูปยาทางเคมี เช่ น

• Penicillin G + Phenoxymethyl gr. จะมีความทนกรดได้ ดขี นึ้
– (3) Coat เม็ดยา/ ใส่ ใน Capsule ทาให้ ยาถูกย่ อยละลายในลาไส้
– (4) เปลีย่ นวิธีให้ ยา เช่ น จากกินเป็ นฉีด
การออกฤทธิ์ของยา

36


Slide 37

• ยากลุ่มทีไ่ ม่ ได้ รับผลกระทบจากกรดในกระเพาะเรียกว่ า acid stable
drug
• ตัวอย่ างยาทนกรด
Amoxicillin Dicloxacillin Cloxacillin
Ampicillin Griseofulvin Penicillin V
Cephalexin Hetacillin Phenethicillin
Cephaloglycin
oxacillin
Tetracycline
Oxytetracycline
การออกฤทธิ์ของยา

37


Slide 38

DRUG IRRITABILITY ของยาทีใ่ ห้ กนิ
1. เป็ นผลเนื่องมาจากในกระเพาะอาหาร มีนา้ คัดหลัง่
2 จาพวก คือ
– 1. HCl & enzymes ช่ วยในการย่ อยอาหาร
– 2. mucus ป้องกันการย่ อยผนังกระเพาะ

• การให้ ยาเม็ดมักตกอยู่เป็ นจุด ๆ ในกระเพาะซึ่งยาบางชนิดทาให้
เกิดการระคายเคืองมาก อาจถึงขั้นทาให้ เกิดเป็ นแผลหลุมและมี
เลือดออกในกระเพาะได้
การออกฤทธิ์ของยา

38


Slide 39

DRUG IRRITABILITY (ต่ อ)
2. pH ของทางเดินอาหาร
• สภาพ pH ในทางเดินอาหารต่างกันตามส่ วนต่าง ๆ เช่น กระเพาะ
เป็ นกรด ลาไส้เป็ นด่าง ซึ่งมีผลกระทบในการระคายเคืองและการ
ดูดซึม

การออกฤทธิ์ของยา

39


Slide 40

– ยาถูกดูดซึมในทางเดินอาหารได้ ต้องอยูใ่ นรู ป Undissociated
(non-ionized) form คืออยูใ่ นรู ปที่ไม่ มีการแตกตัว
– ยาส่ วนใหญ่มีคุณสมบัติเป็ นกรดอ่อน (pH เกือบถึง 7) หรื อ
ด่างอ่อน (pH เกิน 7 เล็กน้อย) ซึ่งจะไม่ถูกดูดซึมในกระเพาะ
อาหาร เพราะ pH ประมาณ 1-2 แต่ดูดซึมในลาไส้เล็กได้ดีข้ ึน
เพราะ pH เป็ นด่างอ่อนใกล้เคียงกับยา ทาให้อยูใ่ นรู ป nonionized form

การออกฤทธิ์ของยา

40


Slide 41

วิ ธี แ ก้ ไข
(1) ให้ กิ นยาพ ร้ อ มอาหารเพื่ อ ให้ มี ก ารผสมคลุ ก เคล้ า กั บ
อาหาร จะทา ให้ ล ดความระคายเคื อ งได้ แต่ ต้ อ งเป็ น
ยาทนกรด เพราะยาจะอยู่ ใ นกระเพาะนานขึ้ น
(2) อาจให้ antacid ทา ลายกรด เพื่ อ ให้ ก ระเพาะเป็ น
กลางและ ยาจะไม่ ถู ก ทา ลาย
(3)

หรื อให้ ย าพร้ อ มกั บ นม แต่ ห้ ามใช้ กั บ tetracycline

(4)

เคลื อ บด้ ว ยสารทนกรด (enteric coated tablet)

การออกฤทธิ์ของยา

41


Slide 42

สรุป ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการดูดซึมในทางเดินอาหาร






1. สภาพกระเพาะว่ าง
2. ทางเดินอาหารมี การบีบตัวตามปกติ
3. ปริมาณเส้ นเลือดที่ไปเลีย้ ง
4. ขนาดและรูปแบบของยา
5. คุณสมบัติทางเคมีของยา

การออกฤทธิ์ของยา

•Uncharged
•nonpolar
•low molecular weight
•high lipid solubility

42


Slide 43

ข. การให้ ยาฉีด (I/V, I/M, S/C, I/D)
ยาหลายชนิดกาหนดให้ใช้เฉพาะทางเช่น
• ให้ฉีดเข้าเส้นเลือด (I/V) ไม่ให้ฉีดเข้ากล้าม (I/M) หรื อ
• ให้ทาง I/M ไม่ให้ I/V เนื่องจากยาฉีด I/M ที่ตอ้ งการให้ออกฤทธิ์นาน
มักจะใช้น้ ามันเป็ นสื่ อ จึงห้ามฉีด I/V
• ในขณะที่ยาฉีด I/V บางอย่าง ห้ามฉีด I/M เนื่องจากระคายเคืองต่อ
กล้ามเนื้อ เช่น Potassium chloride, diazepam

การออกฤทธิ์ของยา

43


Slide 44

ข. การให้ ยาฉีด (ต่ อ)
• การฉีดวัคซีนมักนิยมให้ท้ งั ทาง I/M
และ เข้าชั้นใต้ผวิ หนัง (S/C)
• ส่ วนการฉีดเข้าในผิวหนัง (I/D)
ส่ วนใหญ่ใช้สาหรับการวินิจฉัยโรค
เช่น allergy testing,
tuberculosis testing
นอกจากนี้พึงระลึกด้วยว่าการให้
ยาฉีดหลายชนิดผสมกัน อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงเนื่องจาก
คุณสมบัติทางเคมีที่ตรงข้ามกัน หรื อยามีฤทธิ์หกั ล้างกันเอง
การออกฤทธิ์ของยา

44


Slide 45

1. Intravenous injection
• ใช้ในกรณี ตอ้ งการให้ยาออกฤทธิ์อย่างรวดเร็ ว
เนื่องจากไม่ตอ้ งใช้เวลาในการดูดซึมหรื อในกรณี ให้
ยาที่ระคายเคืองและยามีความเข้มข้นสูง
• ให้โดยการฉีดเข้า Peripheral Vein เช่น
– ให้เข้า jugular vein ในสัตว์สี่กระเพาะ
– ให้เข้า ear vein ในสุ กร
– ให้เข้า cephalic vein ในสุ นขั แมว
การออกฤทธิ์ของยา

45


Slide 46

1. Intravenous injection (ต่ อ)
• หากให้ยาไม่ดี อาจเกิดการอักเสบของเส้นเลือดใน
บริ เวณนั้น (Phlebitis)
หรื อหากยามีความระคายเคืองมาก ผิวด้านในเส้นเลือด
จากเรี ยบจะกลายเป็ นขรุ ขระ
เมื่อมีการกระทบกระแทกถูกเส้นเลือดแตก ทาให้เลือด
จับเป็ นกลุ่ม/ ลิ่มเลือด (emboli) อาจทาให้ตายเพราะ
emboli ไปอุดตันในเส้นเลือด
การออกฤทธิ์ของยา

46


Slide 47

1. Intravenous injection (ต่ อ)


นอกจากนี้ สิ่ งแปลกปลอมที่เข้าในกระแสเลือด
ก็อาจทาให้เกิด emboli ได้ และหากเป็ นเชื้อจุลชีพ
ก็จะทาให้เกิดการติดเชื้อและแพร่ เชื้อไปสู่ส่วนต่างๆ
ของร่ างกาย ดังนั้นการให้ยาด้วยวิธีน้ ีจะต้องรักษา
ความสะอาดทั้งเครื่ องมือและยาด้วย

การออกฤทธิ์ของยา

47


Slide 48

2. Intramuscular injection
• สามารถให้ยาได้ง่ายและมีความปลอดภัยกว่าการฉีด I/V ควรเลือก
ตาแหน่งที่มีกล้ามเนื้อหนา เช่น ที่คอ ที่สะโพก หรื อ ต้นขา
• การให้ยาฉีดเข้ากล้ามประเภท aqueous solution ดูดซึมเร็ วกว่าการ
ให้ยาฉีด S/C เพราะมีเลือดมาเลี้ยงมากกว่า แต่ปริ มาณยาที่ให้จะ
จากัดกว่า เนื่องจากชั้น S/C มีความ loose มากกว่า

การออกฤทธิ์ของยา

48


Slide 49

2. Intramuscular injection (ต่ อ)
• การฉีดยาน้ าฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ทาให้เกิดช่องว่างแทรกในกล้ามเนื้อ
ซึ่งหากใช้ปริ มาตรมากก็จะดันกล้ามเนื้อจนเกิดอาการเจ็บปวด
• ถ้ายาระคายเคือง จะทาให้ปวดจนกว่ายาจะกระจายไปหมด ดังนั้น
บางครั้งจะผสมยาชาไว้ดว้ ย
• ตัวอย่างขนาดยาที่ใช้ในสัตว์เล็กไม่ควรเกิน 2 ml และในสัตว์ใหญ่
ไม่ควรเกิน 20 ml ถ้าใช้ยาปริ มาณมากกว่านี้ ต้องแบ่งฉีดที่ตาแหน่ง
อื่น
การออกฤทธิ์ของยา

49


Slide 50

2. Intramuscular injection (ต่ อ)
• สามารถทาให้ยาออกฤทธิ์ได้นานโดยการฉีดครั้งเดียว ยามักอยูใ่ น
รู ป suspended particles หรื อในรู ปแบบที่ตวั ทาละลายเป็ นน้ ามัน
ทาให้การดูดซึมเกิดขึ้นช้าๆ ขึ้นกับการละลายของยาในร่ างกายและ
ปริ มาณของเลือดที่มาเลี้ยงบริ เวณนั้น
• อาจเกิดฝี ที่ตาแหน่งที่ฉีดยาได้ หากตัวสัตว์หรื อเครื่ องมือสกปรก

การออกฤทธิ์ของยา

50


Slide 51

3. Subcutaneous injection
• ใช้ในกรณี ใกล้เคียงกับการฉี ดยาเข้ากล้ามเนื้อ คือ สามารถทาให้ยาออกฤทธิ์ ได้
นานโดยการฉี ดครั้งเดียว ให้ได้ท้ งั รู ปแบบ aqueous/ suspension หรื อ ยาที่
ละลายในน้ ามัน แต่วธิ ี น้ ีดูดซึ มได้ชา้ กว่าการฉี ดเข้ากล้ามเนื้อเล็กน้อย หรื ออยู่
ในรู ปของแข็งในลักษณะ Pellet ฝังใต้ผวิ หนัง เช่น ฮอร์ โมน เพื่อให้ออกฤทธิ์
นาน
ในสัตว์จะมีพ้นื ที่ใต้ผวิ หนังมากกว่าในคน
เนื่องจากมีความ loose ทาให้สามารถให้ยา
ในปริ มาณที่มากพอสมควร เช่น กรณี ให้
สารน้ า NSS, D5S เป็ นต้น เนื่องจากการให้
ยาเข้าทางเส้นเลือดในสัตว์ทาได้ลาบาก
การออกฤทธิ์ของยา

51


Slide 52

แสดงการฉีดยา
แบบต่ างๆ

การออกฤทธิ์ของยา

Wartak, J. 1983.
Drug dosage and
administration:
Modern Theory
and Practice.
University Park
Press, Baltimore,
p. 116.
52


Slide 53

สรุป ปัจจัยทีม่ ีผลต่ ออัตราการดูดซึมยาจากตาแหน่ งทีม่ ีการฉีดยา คือ

• 1. ความสามารถของโมเลกุลยาในการแพร่ ไปสู่ เนือ้ เยือ่
• 2. ปริมาณเส้ นเลือดที่มาเลีย้ งในบริเวณที่มีการฉีดยา
• 3. การไหลเวียนของโลหิต

การออกฤทธิ์ของยา

53


Slide 54

หลักทัว่ ไปในการให้ ยาฉีดมากกว่ า 1 ชนิด คือ







1. ยา pH< 7 ไม่ควรรวมกับพวก pH > 7
2. Vitamins ไม่รวมกับ antibiotics
3. ไม่ควรรวม antibiotics คนละกลุ่ม
4. Antifungal drugs ไม่ควรรวมกับยาอื่น
5. Steroidal drugs ไม่ควรรวมกับ antibiotics
การออกฤทธิ์ของยา

54