บทที่ 13 ระบบรับความรู้สึก Sensory system Sensory system เกี่ยวข้องกับระบบรับความรู้สึกในร่ างกาย นักศึกษาควร เข้าใจความสาคัญของการรับความรู้สึกในร่ างกาย อวัยวะที่ เกี่ยวข้องกับการรับความรู้สึกต่างๆ ทั้งการรับความรู้สึกแบบ ทัว่ ๆไป และการรับความรู้สึกพิเศษ ความสาคัญของตัวรับ ความรู้สึก ประเภทของตัวรับความรู้สึก และอวัยวะรับ ความรู้สึกพิเศษต่างๆ ในร่ างกาย เช่น การมองเห็น การได้ ยินเสี.

Download Report

Transcript บทที่ 13 ระบบรับความรู้สึก Sensory system Sensory system เกี่ยวข้องกับระบบรับความรู้สึกในร่ างกาย นักศึกษาควร เข้าใจความสาคัญของการรับความรู้สึกในร่ างกาย อวัยวะที่ เกี่ยวข้องกับการรับความรู้สึกต่างๆ ทั้งการรับความรู้สึกแบบ ทัว่ ๆไป และการรับความรู้สึกพิเศษ ความสาคัญของตัวรับ ความรู้สึก ประเภทของตัวรับความรู้สึก และอวัยวะรับ ความรู้สึกพิเศษต่างๆ ในร่ างกาย เช่น การมองเห็น การได้ ยินเสี.

บทที่ 13 ระบบรับความรู้สึก
Sensory system
Sensory system
เกี่ยวข้องกับระบบรับความรู้สึกในร่ างกาย นักศึกษาควร
เข้าใจความสาคัญของการรับความรู้สึกในร่ างกาย อวัยวะที่
เกี่ยวข้องกับการรับความรู้สึกต่างๆ ทั้งการรับความรู้สึกแบบ
ทัว่ ๆไป และการรับความรู้สึกพิเศษ ความสาคัญของตัวรับ
ความรู้สึก ประเภทของตัวรับความรู้สึก และอวัยวะรับ
ความรู้สึกพิเศษต่างๆ ในร่ างกาย เช่น การมองเห็น การได้
ยินเสี ยง การรับรสชาติ เป็ นต้น
ระบบรับความรู้สึก
ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองต่อสิ่ งเร้า มีผลให้สัตว์สามารถ
มีชีวิตอยูร่ อดได้
อวัยวะรับความรู ้สึกมีลกั ษณะพื้นฐานคือ มีเซลล์รับความรู ้สึก
(sensory cell) เป็ นโครงสร้างที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อรับสัมผัสพิเศษ
เฉพาะอย่าง และสามารถส่ งกระแส ประสาทได้
ระบบรับความรู้สึก (2)
ส่ วนที่ทาหน้าที่ในการรับการกระตุน้ จากสิ่ งเร้าต่างๆ ทั้งภายนอก
และภายในร่ างกาย เรี ยกว่าตัวรับความรู ้สึก (receptor)
ตัวรับความรู ้สึก (receptor) คือ ส่ วนปลายของเส้นประสาทรับความรู ้สึก
ที่เปลี่ยนแปลงรู ปร่ างไป
เพื่อทาหน้าที่รับการกระตุน้ และผลิตกระแสประสาทส่ งไปยังสมอง
หรื อไขสันหลังเพื่อให้แปลความหมาย และทาการตอบสนอง
อวัยวะรับความรู้สึกในร่ างกาย
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. อวัยวะรับความรู้สึกทัว่ ๆไป (General sensory organ) ได้แก่
ผิวหนัง กล้ามเนื้อ ข้อต่อ และอวัยวะภายใน
2. อวัยวะรับความรู้สึกพิเศษ (Special sensory organ) ได้แก่ ตา
จมูก ลิ้น และหู
ชนิดของความรู้สึก
ชนิดของความรู ้สึกที่ร่างกายสัตว์เลี้ยงสามารถรับรู ้ได้ มี 2 ประเภท คือ
1. ความรู้สึกทัว่ ๆไป (General sensation) เช่น ความรู ้สึกเจ็บปวดที่
ผิวหนัง หรื อความรู ้สึกจากอวัยวะภายในร่ างกาย
2. ความรู้สึกพิเศษ (Special sensation) ได้แก่ การมองเห็นภาพ
การได้ยนิ เสี ยง และการสมดุลของร่ างกาย การได้รับรส และการได้
กลิ่นต่างๆ เป็ นต้น
ตัวรับความรู้สึกแบ่ งตามตาแหน่ ง
1. Exteroreceptor หมายถึง ตัวรับความรู ้สึกที่ตอบสนองต่อการ
กระตุน้ จากภายนอกร่ างกาย
2. Interoreceptor หมายถึง ตัวรับความรู ้สึกที่ไวต่อแรงกด การ
เจ็บปวด และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในร่ างกาย
ตัวรับความรู้สึกแบ่ งตามตาแหน่ ง
3. Teloreceptor หมายถึง ตัวรับความรู ้สึกที่ที่รับการกระตุน้ จาก
ภายนอกโดยตัวกระตุน้ มาจากระยะไกล
4. Propioceptor หมายถึง ตัวรับความรู ้สึกที่เกี่ยวกับตาแหน่งของ
ส่ วนต่างๆ ในร่ างกาย
แสดงตัวรับความรู้สึกทีผ่ วิ หนัง
Merkel’s disk
Free nerve ending
การแบ่ งประเภทตัวรับความรู้สึกตามสิ่ งกระตุ้น
1. Mechanoreceptor เป็ นตัวรับความรู ้สึกที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลง
รู ปร่ างพบที่ผวิ หนัง กล้ามเนื้อ และอวัยวะภายใน เช่น meissner’s
corpuscles, paccinian corpuscles,muscle และ spindles
2. Chemoreceptor เป็ นตัวรับความรู ้สึกที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมี พบในโพรงจมูก
3. Photoreceptor เป็ นตัวรับความรู ้สึกที่เปลี่ยนแปลงแสงให้เป็ น
กระแสประสาท พบในเรติน่า
การแบ่ งประเภทตัวรับความรู้ สึกตามสิ่ งกระตุ้น (2)
4. Thermoreceptor เป็ นตัวรับความรู ้สึกที่ตอบสนองต่อการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
5. Baroreceptor เป็ นตัวรับความรู ้สึกที่ตอบสนองต่อการ
เปลี่ยนแปลงความดัน
6. Nociceptor เป็ นตัวรับความรู ้สึกที่ตอบสนองต่อการที่เนื้อเยือ่ ถูก
ทาลาย
อวัยวะที่เกีย่ วข้ องกับการมองเห็นภาพ
ประกอบด้วย ลูกตาและโครงร่ างที่เกี่ยวข้อง
ลูกตา มีรูปร่ างค่อนข้างกลม อยูใ่ นกระบอกตา (orbit) มีกล้ามเนื้อลาย
ยึดอยู่ ทาให้ลูกตากลอกไปมาได้ เนื้อเยือ่ ลูกตาแบ่งออกได้เป็ น 3 ชั้น
1. ชั้นนอก (Sclera) เป็ นชั้นของตาขาวเป็ นส่ วนใหญ่ ส่ วนตาดาเป็ น
ส่ วนที่คลุมตาขาวอยูเ่ รี ยกว่า แก้วตา หรื อกระจกตา (cornea) เป็ น
ทางผ่านของแสงเข้าสู่ตาชั้นใน ตาดา หรื อกระจกตาปกคลุมม่านตา
(iris)ไว้
แสดงส่ วนประกอบของลูกตา
Hyaloid canal
Sclera
Vitreous humor
Optic nerve
Suspensory ligaments
Iris
Cornea
Pupil
Lens
Aqueous humor
Ciliary
body
Fovea centralis
Retina
Choriod coat
อวัยวะที่เกีย่ วข้ องกับการมองเห็นภาพ (2)
2. ชั้นกลาง (Choriod) เป็ นชั้นเยือ่ บางๆ มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยง
ลูกตา แบ่งออกได้เป็ น 3 ชั้น คือ
- ชั้น Choroids อยูถ่ ดั จากชั้นสเกอรา(ชั้นนอก) เข้ามาทางด้านใน
- ชั้น Ciliary body ประกอบด้วยกล้ามเนื้อลูกตา ช่วยในการบีบ
เลนส์ตา เพื่อปรับให้การมองเห็นภาพชัดเจนขึ้น
อวัยวะที่เกีย่ วข้ องกับการมองเห็นภาพ (3)
- ชั้นม่ านตา (Iris) เป็ นส่ วนที่อยูห่ น้าเลนส์ตา มีสีดา น้ าตาล ทา
หน้าที่ในการปรับแสงให้เข้าสู่ตา
3. เรติน่า (Retina) เป็ นชั้นใน ทาหน้าที่รับภาพ และทาให้เกิดภาพ
ประกอบด้วยเซลล์รูปแท่ง (rod cells) และเซลล์รูปกรวย (cone cells)
ซึ่งเป็ นตัวรับความรู ้สึก (receptor cell)
อวัยวะที่เกีย่ วข้ องกับการมองเห็นภาพ (4)
4. เลนส์ (Lens) ทาหน้าที่หกั เหแสงที่ผา่ นเข้ามาในรู ม่านตา เลนส์ตาเป็ นเลนส์นูน
5. ช่ องว่ างในลูกตา
6. กล้ามเนือ้ ลาย ควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตา (ocular muscle)
ในแต่ละข้างจะมีกล้ามเนื้อประมาณ 6 มัด
เรติน่าและตัวรับความรู้สึกของลูกตา
blind spot
lamellae
axons of
ganglion cells
outer
segment
connecting cilia
Light
Rays
mitochindria
virtreous
inner
humor
segment
cell
bodies
optic nerve
fiber layer
ganglionic bipolar
cell layer
cells
nuclei
and
nuclei
fiber
rod and cone
layer
Rod cell
synaptic
ending
Cone cell
โครงสร้ างทีเ่ กีย่ วข้ องกับการมองเห็นของลูกตา
ได้แก่ คิ้ว (eyebrows) หนังตา (eyelids) ขนตา (eyelashes) และ
ระบบน้ าตา (lacrimal apparatus) เป็ นต้น
คิว้ (Eyebrows) ทาหน้าที่ช่วยป้ องกันไม่ให้มีสิ่งแปลกปลอมเข้าไป
ในส่ วนของลูกตา
หนังตา (Eyelids) ทาหน้าที่ปิดลูกตาเพื่อป้ องกันไม่ให้แสงเข้าลูกตา
มากเกินไป ป้ องกันลูกตาจากสิ่ งแปลกปลอม และปิ ดลูกตาขณะทีส่ ัตว์
หลับ
ระบบน้าตา (Lacrimal apparatus)
ประกอบด้วยต่อมน้ าตา (lacrimal glands) ท่อน้ าตา (excretory
lacrimal ducts) ทางไหลของน้ าตา (lacrimal canals) ถุงเก็บน้ าตา
(lacrimal sacs) และ nasolacrimal ducts
ต่อมน้ าตา ทาหน้าที่ผลิตน้ าตา (tears) ประกอบด้วย เกลือ สารเมือก
และเอนไซม์ที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรี ย คือ ไลโซโซม (lysosome)
น้ าตามีหน้าที่
- หล่อลื่นลูกตาทาให้ลูกตามีความชุ่มชื้น
ลิน้ และความรู้สึกในการรับรสอาหาร
มีตวั รับความรู ้สึก (receptor) กระจายอยูใ่ นตุ่มรับรส (taste buds)
เป็ นตัวรับความรู ้สึกประเภทสารเคมี (chemoreceptor)
ตุ่มรับรส ประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิด คือ supporting cell และ
gustatory cell ส่ วนของ supporting cell เป็ นเซลล์เยือ่ บุผวิ ที่
เปลี่ยนแปลงไป gustatory cell เป็ นเซลล์ที่มีขนเส้นเล็กๆ เรี ยกว่า
gustatory hair ทาหน้าที่รับรส บริ เวณตุ่มรับรสจะมีรูเปิ ดที่ผวิ ของลิ้น
เรี ยกว่า taste pore
แสดงตาแหน่ งของต่ อมรับรสชาติบนลิน้
Sulcus terminalis
Taste pore
Epiglottis
Palatine tonsil
Taste hairs
Epithelium
of tongue
Lingual
Bitter
Chemoreceptor
cell
Support cell
tonsil
Sour
Insensitive
area
Nerve fiber
Salty
Sweet
ลิน้ และความรู้สึกในการรับรสอาหาร (2)
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 (cranial nerve VII) รับรสจากบริ เวณปลาย
ลิ้น และข้างลิ้น ส่ วนเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 (cranial nerve IX) จะทา
หน้าที่รับรสบริ เวณโคนลิ้น
ตุ่มรับรสที่พบตาม papillae มีรูปร่ างลักษณะแตกต่างกันเช่น
ก. Circumvallate หรื อ Vallate papillae
ข. Fungiform papillae
ค. Filiform papillae
แสดงต่ อมรับรสบนลิน้
papillae
taste cell
taste buds
sensory nerve
fiber
connective
tisse
supporting cell
pore
microvilli
epithelium
of tongue
จมูกและการรับกลิน่
เป็ นอวัยวะรับสัมผัสที่รับความรู ้สึกประเภทสารเคมี ส่ วนรับ
ความรู ้สึกนี้พบได้ ที่ olfactory membrane ซึ่งประกอบด้วยเซลล์
2 ชนิด คือ
ก. Olfactory cells หรือ Hair cells หรือ Gustatory cells เป็ นเซลล์
มีขนที่ส่วนของขนจะมีความไวต่อการกระตุน้
ข. Supporting cells ทาหน้าที่หลัง่ น้ าเมือก (mucus) เคลือบเยือ่ บุผวิ
ช่องจมูกให้ช้ืนอยูต่ ลอดเวลา
แสดงประเภทของเซลล์ ในช่ องจมูก
คุณสมบัตขิ องสารเคมีทจี่ ะให้ กลิน่
ก. สารนั้นจะต้ องระเหยได้ เพื่อจะสามาระสูดกลิ่นเข้าจมูกได้ ในรู ป
ของก๊าซ
ข. สารเคมีน้ันต้ องละลายนา้ ได้ บ้าง สารนี้เมื่อเข้าจมูกจะละลายรวม
กับเมือกที่ให้ความชุ่มชื้นกับเยือ่ บุช่องจมูก
ค. สารเคมีน้ันต้ องละลายได้ ดีในไขมัน เนื่องจากไขมันเป็ น
องค์ประกอบของเยือ่ หุม้ เซลล์เยือ่ บุที่ช่องจมูก olfactory cell
หูและการได้ ยนิ เสี ยง
หูทาหน้าที่ 2 ประการ คือ
- เกี่ยวข้องกับการได้ยนิ เสี ยง (phonoreceptor)
- เกี่ยวข้องกับการทรงตัว หรื อการสมดุลของร่ างกาย (statoreceptor)
โครงสร้างของหูแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
- หูช้ นั นอก (external ears)
- หูช้ นั กลาง (middle ears)
- หูช้ นั ใน (internal ears)
โครงสร้ างของหู
ก. หูช้ันนอก (External ears) ประกอบด้วยใบหู (pinna) ช่องหู
หรื อรู หูช้ นั นอก (external canal หรื อ auditory canal) และเยือ่ แก้วหู
(tympanic membrane หรื อ eardrum)
ข. หูช้ันกลาง (Middle ears) เป็ นส่ วนที่อยูต่ ่อจากเยือ่ แก้วหูเข้ามา
ทางด้านใน ภายในหูช้ นั กลางจะมีท่อกลวงขนาดเล็กๆ ต่ออยูก่ บั ส่ วน
nasopharynx เรี ยกว่า eustachian tube ทาหน้าที่ปรับความดันภายในหู
(ชั้นกลาง) และภายนอกให้เท่ากัน
โครงสร้ างของหู (2)
ค. หูช้ ันใน (Internal ears หรือ Labyrinth) อยูถ่ ดั จาก
หูส่วนกลางเข้ามาประกอบด้วย cochlea และ organ of corti
เกี่ยวข้องกับการได้ยนิ เสี ยง