ความหมายของ VLAN (Virtual LAN)
Download
Report
Transcript ความหมายของ VLAN (Virtual LAN)
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
(Data Communications and Networks)
บทที่ 7 VLAN (Virtual LAN)
หนังสืออ้างอิง
เอกสิทธิ์ วิริยจารี. เรียนรูร้ ะบบเน็ ตเวิรก์ จากอุปกรณ์ของ Cisco
ภาคปฏิบตั ิ. --กรุ งเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน่ , 2548.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V.15-12-2011
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เรียนความหมายและหน้าที่ของ
VLAN
เรียนรู เ้ ทคนิ ควิธี VLAN Implementation
คาสัง่ ที่เกี่ยวข้องสาหรับสร้าง แก้ไข ลบ VLAN
Data Communications and Networks :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
ความหมายของ VLAN (VIRTUAL LAN)
เป็ นความสามารถของ Switch
Device เพื่อการ Implement ระบบ
เครื อข่ายขนาดใหญ่
หากนิ ยามสัน
้ ๆ สามารถอธิบายได้วา่ VLAN เป็นความสามารถในการ
กาหนดขอบเขตของ Broadcast Domain ขึ้นมาใหม่ในระบบเครื อข่าย
ที่ใช้ Switch Device L.2
Broadcast Domain คือ ขอบเขตของการรับส่ง Broadcast Frame
เป็นเฟรมที่มี Broadcast Address ปลายทางเป็น Broadcast Address
มีจุดประสงค์เพื่อให้ทุกๆ เครื่ องได้รับเฟรมนั้นไปประมวลผล
Data Communications and Networks :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
ความหมายของ VLAN (VIRTUAL LAN) ต่อ
หากเครื่ อง A และ B อยู ใ่ น Broadcast Domain เดียวกัน เครื่ อง B จะ
ได้รับ Broadcast Frame จากเครื่ อง A และในทางกลับกัน โดย
Default เมื่อ Switch ได้รับ Broadcast Frame มาจาก Port ใด Port
หนึ่ งที่อุปกรณ์ อุปกรณ์จะกระจาย Broadcast Frame ออกไปทุกๆ Port
เมื่อมีการกาหนด VLAN ขึ้นมาแล้ว Broadcast Frame จะถู กส่งออก
ไปเฉพาะ Port ที่เป็ น Member เท่านั้น ไม่ขา้ มไปยัง Port ของ VLAN
Member อื่นๆ
Data Communications and Networks :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
ความหมายของ VLAN (VIRTUAL LAN) ต่อ
กล่า วอีก นั ย หนึ่ ง
VLAN
เปรี ยบเสมื อนการแบ่งกลุ ม่ ของเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ปลายทางออกเป็นกลุม่ ย่อยๆ ราวกับว่าอยู ่ LAN เดียวกัน
สื่ อสารได้เฉพาะเครื่ องในกลุม่ สมาชิกใน VLAN เดียวกันเท่านั้น
เครื่ องคอมพิวเตอร์ท่ อ
ี ยูใ่ น VLAN เดียวกันนั้นสามารถเชื่ อมต่ออยูก่ บั
Port ของ Switch ตัวเดียวกัน หรื อ จะเชื่อมต่ออยูก่ บั Port บน Switch
คนละตัวก็ได้ ทัง้ นี้ข้ ึนอยูก่ บั การออกแบบ
Data Communications and Networks :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
ประโยชน์ท่ีได้รบั จากการสร้าง VLAN
ทาให้งา่ ยแก่การบริ หารจัดการระบบเครื อข่ายภายในองค์กร
และเพิ่ม
ประสิทธิภาพการใช้งานในระบบเครื อข่าย
จากัดขอบเขตการแพร่ Broadcast Traffic ไม่ให้สง่ ผลกระทบต่อ
ประสิทธิภาพโดยรวมของระบบเครื อข่าย
เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กบ
ั ระบบเครื อข่าย สาหรับบน L2 นั้น VLAN
แต่ละ VLAN จะมองไม่เห็นกัน ดังนั้นจึงสามารถป้องกันเทคนิ คการ
Spoofing (เป็นการโจมตีระบบเครื อข่ายรู ปแบบหนึ่ ง)
Data Communications and Networks :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
ตัวอย่างหลักเกณฑ์การออกแบบ VLAN
หลักการแบ่ง
VLAN ไม่มขี อ้ กาหนดตายตัวใดๆ ขึ้นอยูก่ บั ผู อ้ อกแบบ
และความเหมาะสมเป็นสาคัญ
แบ่งตามตาแหน่งทางกายภาพ เช่น แบ่งตามชัน
้ ของอาคารที่ตงั้
แบ่งตามหน่วยงาน เช่น ฝ่ ายบัญชี ฝ่ ายสินเชื่อ ห้องอบรม เป็ นต้น
ภายใน 1 VLAN ควรประกอบด้วย 1 Subnet Address เท่านั้น
โดย Default บน Switch ที่ยงั ไม่มก
ี ารแบ่ง VLAN ทุก Port จะถือว่า
VLAN Default คือ หมายเลข 1
Data Communications and Networks :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
การสร้าง VLAN และการเข้าเป็ นสมาชิกของ VLAN
มี 2 ชนิ ด คือ Static VLANs และ Dynamic VLANs
Static VLANs หรื อเรียกอีกชื่อหนึ่ งว่า port-base membership (การ
เป็นสมาชิกของ VLAN โดยพิจารณาจาก Port ที่เชื่อมต่อ)
Port ของ Switch ถู กกาหนดโดยผู ด้ ู แลระบบ ถึงแม้เครื่ องคอมพิ วเตอร์
สองเครื่ องจะเชื่อมต่ออยูบ่ น Switch Device เดียวกัน แต่หาก Port ที่
เชื่อมต่ออยูเ่ ป็ นสมาชิกของต่างๆ VLAN กัน เครื่ องสองเครื่ องดังกล่าว
จะไม่มที างสื่อสารกันได้
ในการทาให้เครื่ องเครื่ องที่อยู ต
่ า่ ง VLAN กันหากต้องการสื่ อสารกัน
จ
าเป็
น
ต้
อ
งใช้
Switch
Device
L3
หรื
อ
Router
เข้
า
มาช่
ว
ย
Data Communications and Networks :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)
Data Communications and Networks :: Mr.Parinya Noidonphrai (www.freebsd.sru.ac.th)