การสรุปเนือ้ หา Chapter 4 Storm Water Ordinances and Requlations (ระเบียบข้ อบังคับเกีย่ วกับ Storm Water)

Download Report

Transcript การสรุปเนือ้ หา Chapter 4 Storm Water Ordinances and Requlations (ระเบียบข้ อบังคับเกีย่ วกับ Storm Water)

การสรุปเนือ้ หา
Chapter 4 Storm Water Ordinances and
Requlations
(ระเบียบข้ อบังคับเกีย่ วกับ Storm Water)
4.1 Introduction
กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับ Storm Water เป็ นเครื่ องมือเบื้องต้นของ
การปกครองส่ วนท้องถิ่นใช้ในการ ควบคุมจัดการ ปัญหา การระบายน้ าท่วม
การจัดการกับปัญหาน้ าท่วมในบริ เวณกว้าง เป็ นต้นว่า การควบคุมพื้นที่การ
ป้ องกันการกัดเซาะ และปัญหาการสะสมของตะกอนและสิ่ งกีดขวางทางน้ า
ปัญหาเหล่านี้ น้ าไปสู่การออกกฎระเบียบ การควบคุมคุณภาพน้ าและการบาบัด
น้ า ถึงแม้วา่ จะมีความแตกต่างกันระหว่าง กฎ มติ ข้อบังคับและนโยบาย แต่ตอ้ ง
นามาประยุกต์ใชรวมกันในการแก้ปัญหา
การยกตัวอย่าง การนากฎข้อบังคับเกี่ยวกับ Storm Water มาใช้ในแต่ละ
states ของ U.S.A เพื่อใช้ในการป้ องกัน Chapter 4 กฎระเบียบ ข้อบังคับ เกี่ยวกับ
Storm Water บรรเทาปัญหา
4.2 การพิจารณากาหนดกฎหมายเบือ้ งต้ น
ในแต่ละประเทศ ต่างมีขอ้ กาหนด ระเบียบ ข้อบังคับ กับกฎหมาย ในภาษาของ
ตนอยูแ่ ล้ว ควรที่จะต้องทาความเข้าใจกับกฎหมายเบื้องต้น แล้วนามา
ประยุกต์ใช้ ปรับเปลี่ยนแก้ไขให้เหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่นภายใต้การปกครอง
ของตน ซึ่งขึ้นอยูก่ บั นโยบาย และหน่วยงานนี้ดูและดาเนินการเกี่ยวกับการ
จัดการป้ องกันเรื่ องน้ า ทั้งน้ าบาดาล แม่น้ า/ทางน้ าไหล และการระบายน้ า
(Diffused surfare water low)
Water course law (กฎหมายเกีย่ วกับแม่ นา้ ทางน้าไหล)
เกิดจากกรณี ศึกษาในอดีต อยู่ 2 ลักษณะ คือ ฝั่งตะวันออกมีความ
ชุ่มชื้น ปริ มาณน้ ามาก กับฝั่งตะวันตกที่มีลกั ษณะแห้งแล้งฝั่ง/ริ มฝั่งแม่น้ า
เจ้าของที่ดินริ มฝั่งแม่น้ า มีสิทธิที่จะใช้น้ า ใช้ประโยชน์จากที่ริมฝั่ง
น้ า ในส่ วนของการควบคุมน้ าท่วม เจ้าของที่ดินมีสิทธิที่จะป้ องกันน้ าท่วม
ได้ แต่ตอ้ งไม่คุกคามหรื อทาความเดือดร้อนให้กบั เจ้าของที่ดินริ มฝั่งราย
อื่นๆ โดยอาจใช้วิธีการสร้างกาแพงกั้น (flood walls) ทาเขื่อนกั้นไม่ให้น้ า
ท่วมพื้นที่ (diking land which floods upstream property) การเคลื่อนย้าย
ทรัพย์สินออกจากบริ เวณน้ าท่วม ทางไหลของน้ า
Diffused Surface Water Low (กฎหมายการระบายน้า)
1. Common Enemy Doctrine (กฎหมายประเพณี)
แนวคิดเกี่ยวกับการป้ องกันภายใต้กฎหมาย เจ้าของที่ดิน
สามารถจัดการใดๆ กับน้ าในที่ดินของตน จนกระทั้งเกิดปั ญหาเรื่ อง
ของน้ าท่วม เจ้าของที่ยอ่ มมีสิทธิที่จะป้ องกันทรัพย์สินไม่ให้เสี ยหาย
โดยอย่างยิง่ ในกรณี ที่ดินอยูใ่ นพื้นที่ดา้ นล่างที่จะต้อง รองรับปริ มาณ
น้ าจากต้นน้ า
2. Civil Law Doctrine กฎหมายแพ่ง
เจ้าของที่ดินจะต้องรับผิดชอบต่อผูท้ ี่ได้รับความ
เสี ยหายอันเนื่องมาจาก การไหลออกของน้ าจากที่ดินของตัว แต่ก็
อาจจะอ้างถึงว่าเป็ นทิศทางการไหลของน้ าตามธรรมชาติกไ็ ด้ที่จะ
ไม่ตอ้ งรับผิดชอบต่อที่ดินผูอ้ ื่น
3. Reasonable Use Doctrine
 ขึน้ อยู่กบั สถานการณ์ ในการประนีประนอมปัญหา
4. Liability and Damages ความเสี ยหายและความรับผิดชอบ
 Property law กฎหมายทรัพย์สิน
 Fort law กฎหมายละเมิด การรับผิดชอบขึน้ อยู่กบั เจตนา ความเพิกเฉยความ
ประมาทไม่ รอบคอบ
5. Individual Liability ความรับผิดชอบส่ วนบุคคล
 การป้ องกัน/ปกป้ องภายใต้ กฎหมายทรัพย์ สิน มีบุคคลทีส่ ามเข้ ามาเกีย่ วข้ อง ซึ่ง
จะต้ องพิจารณาตาแหน่ งที่ต้งั กิจกรรมการใช้ ประโยชน์ การคาดการณ์ ความเสี ยหาย
อันอาจจะเกิดขึน้ วิธีการป้ องกัน เป็ นต้ น
6. Municipal Licbility ความรับผิดชอบของส่ วนการปกครองท้ องถิ่น
 ท้ องถิ่นไม่ ต้องรับผิดชอบต่ อความบกพร่ องในการวางระบบการระบายนา้ หรือ
เหตุอนั เนื่องมาจากการระบายนา้ มีประสิ ทธิภาพ ฝ่ ายปกครองท้ องถิ่น มีหน้ าที่ในการ
ดูแลออกแบบ การระบายนา้ ให้ มปี ระสิ ทธิภาพ ไม่ ให้ มกี ารก่ อสร้ างกีดขวางทางนา้
ป้ องกัน กักนา้ ให้ ระบายไปในช่ องทางระบายนา้ ตามธรรมชาติ
7. Takings การเวนคืนทีด่ นิ เอกชนของฝ่ ายปกครอง
การสงวนพื้นที่ของฝ่ ายปกครอง สาหรับการบาบัด ควบคุมการเกิดน้ าท่วม หรื อมักจะ
ก่อให้เกิดปั ญหาความขัดแย้งตามมา เช่น
• กฎระเบียบข้อบังคับที่รัฐสามารถไปเวนคืนที่ดิน
• ผูถ้ ือครองที่ดินไม่สามารถที่จะสร้างความราคาญหรื อคุกคามต่อความปลอดภัยมัน่ คงของรัฐ
(ส่ วนรวม)
• ฝ่ ายปกครองสามารถหลีกเลี่ยงการ Takings ได้หลายทาง
• การออกระเบียบข้อบังคับในการอนุญาตเป็ นพิเศษในกรณี ต่างๆ
• เน้นเรื่ องความมัน่ คงความปลอดภัยและปัญหาด้านสุ ขภาพในการป้ องกันการเกิดมลภาวะ
• ควบคุมการบังคับใช้กฎระเบียบอย่างเคร่ งครัด
• เตรี ยมพื้นที่ขนาดใหญ่ไว้รองรับการระบายน้ าจากบริ เวณที่มกั เกิดความเสี ยหาย
8. Water Quality and Water low (กฎหมาย เรื่องนา้ และคุณภาพนา้ )
ป้ องกัน แก้ปัญหาการเกิดมลพิษทางน้ า การบาบัดน้ าเค็มก่อนปล่อยสู่ ทางสาธารณะ
4.3 Municipal Ordinance ระเบียบข้ อบังคับการปกครอง
ส่ วนท้ องถิ่น มีองค์ ประกอบ 4 อย่ างด้ วยกัน คือ
1. Legal Authority and Contert กฎข้ อตกลงขึน้ อยู่กบั ฝ่ ายปกครองในแต่ ละพืน้ ที่ ใน
ส่ วนทีจ่ ะใช้ ในการดูแลควบคุมการจัดการกับปริมาณและคุณภาพของนา้
2. Technical Basis หลักการวิธีการในการสนับสนุน
3. Administrative Apparatus อุปกรณ์ ในการจัดการดูแล รวมถึงนโยบาย ระเบียบ
ปฎิบัตใิ นการดาเนินงานอานวยการ
4. Enforcemunt Provisians การบังคับใช้ ข้ อกาหนดต่ างๆ ต้ องยุตธิ รรม เริ่มตั้งแต่ การ
เตือน จยถึงบทลงโทษ เบา-หนัก ขึน้ อยู่กบั การเป็ นอันตรายต่ อสภาพแวดล้ อมและ
ชุ มชน
Special Water Quality Considerations Detention การเก็บกัก เพือ่ ป้ องกัน การท่ วม
สู งในเวลาเฉียบพลันในพืน้ ทีส่ ่ วนล่ าง เป็ นวิธีการจัดการ storm water ทีด่ อี ย่ างหนึ่ง
4.4 Drafting Local Ordinances and Regulations
การร่ างกฎระเบียบข้อบังคับของแต่ละท้องถิ่นมีกระบวนการ ดังนี้
Part 1 กาหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาที่สาคัญ
•
•
•
•
•
•
•
•
กาหนดขอบเขต ลักษณะของปัญหา ที่ตอ้ งการจัดการแก้ไข เช่น
ปัญหาการควบคุมการเกิดอุทกภัยในบางพื้นที่
การควบคุมน้ าท่วม
การปรับปรุ งคุณภาพน้ า
การควบคุมการกัดเซาะและการทับถมของตะกอน
การออกแบบระบบที่คุม้ ค่าทางเศรษฐกิจ
การปรับปรุ งการออกแบบวิเคราะห์ระบบ
การพัฒนาระบบป้ องกันในอนาคต
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การกันส่ วนพื้นที่สาหรับการดาเนินการเรื่ อง Storm water
การควบคุมพื้นที่น้ าท่วมไม่ให้แพร่ กระจาย
การบารุ งรักษาอุปกรณ์ เครื่ องมือในการจัดการปัญหาน้ าท่วม
แหล่งเงินทุนสนับสนุนโครงการจัดการปัญหาน้ าท่วม
การควบคุมปัญหาที่อาจเกิดขึ้นบนพื้นที่ระบายน้ าออก
การปรับปรุ งสภาพแวดล้อม รองรับปญหา
การรับฟังข้อร้องเรี ยน/ ปัญหาของประชาชน
การอบรมให้ความรู ้การจัดการปัญหาน้ าท่วม
การทบทวนกระบวนการแก้ไขปัญหาให้ใช้งานได้มีประสิ ทธิภาพ
เตรี ยมความพร้อมขอความร่ วมมือจากหน่วยงานอื่นๆ
Part 2 กาหนดวัตถุประสงค์/เป้ าหมาย ควรมีความชัดเจน เช่น
•
•
•
•
•
การกาหนดแผนงานในระยะยาวต่อเนื่องกัน
กาหนดทิศทางขอบเขตของโครงการ
การมีประสิ ทธิ ภาพในการดาเนินการแก้ปัญหาที่แตกต่างออกไป
การเปลี่ยนแปลงที่จะนาไปสู่ เป้ าหมายที่กาหนด
การตีความหมาย กาหนดตัวชี้วดั การบรรลุวตั ถุประสงค์
Part 3 ปรับปรุ งพัฒนานโยบาย เพื่อรองรับการดาเนินงาน
Part 4 ร่ างกฎระเบียบข้อบังคับ
Part 5 พัฒนา/จัดทา คู่มือ การจัดการ Storm Water
4.5 Flexility In a Storm Water
• Flexible
ข้อบังคับที่ยดื หยุน่ ได้
• Rigid ordinances ข้อบังคับที่เข้มงวดเคร่ งครัด
4.6 เมื่อไรที่ต้องยอมรับให้ กฎข้ อบังคับ
• ปัญหาน้ าท่วมมีลกั ษณะที่แตกต่างออกไปจากปัญหาอื่นๆ ไม่เหมือนการ
•
•
ก่อตั้งโรงงานที่จะทางาน 24 ชัว่ โมง 7 วัน สร้างความเดือดร้อนให้แก่ชุมชน
จึงจะต้องมีการวางผังเมืองพื้นที่สาหรับโรงงานโดยเฉพาะอย่างไรก็ตาม
ลักษณะการเกิดปัญหาน้ าท่วมมีลกั ษณะพิเศษดังนี้
ปัญหาน้ าท่วมในชนบทมีผลกระทบกับประชากรในพื้นที่เล็กๆ เท่านั้น ไม่ใช่
ประชากรทั้งหมด โดยเพฉาะผูท้ ี่อาศัยอยูใ่ กล้กบั คู คลอง แม่น้ า
เกือบทุกๆครั้งของ ปัญหา ผูท้ ี่ได้รับความเสี ยหายจากน้ าท่วม คือ ผูท้ ี่ใช้
ประโยชน์จากแหล่งน้ า นอกฤดูกาลน้ าหลาก
• ภายหลังน้ าท่วมไม่นาน ประชากรจะให้ความสนใจและเห็นใจกับความ
เสี ยหายที่เกิดขึ้น และก็จะละความสนใจไปในเวลาไม่นาน
• การแก้ปัญหา/จัดการ Storm water มีต้งั แต่วิธีการพื้นฐานที่มีค่าใช้จ่ายต่า
จนถึงวิธีการที่มีความสลับซับซ้อน ค่าใช้จ่ายสูง
• การเกิดน้ าท่วมไม่ค่อยมีที่ กินเวลาหลายวัน ดังนั้น พื้นที่ภายหลังน้ าลดไม่
ค่อยได้รับความกระทบกระเทือนมากนัก
• ปัญหาการระบายน้ าก็เป็ นอีกปัญหาที่นาไปสู่อีกหลายๆ ปัญหา ทั้งทิศทาง
การปล่อยน้ าธรรมชาติ และการวางระบบการระบายที่ตอ้ งใช้/ออกแบบ
ให้คุม้ ค่าการลงทุน
การออกระเบียบข้ อบังคับที่เร็วเกินไปก็ไม่ เกิดประโยชน์ เพราะ
•
•
•
การกาหนดระเบียบต้องศึกษาปัญหาและผลกระทบอย่างจริ งจังและ
ระมัดระวังในการนานโยบายไปใช้
การแก้ปัญหาไม่ได้จบสิ้ นแค่นาโครงการหรื อออกระเบียบบังคับเสร็ จแต่
หมายถึงต้องสามารถนาไปปฏิบตั ิแก้ปัญหาได้จริ ง ต้องมีงบประมาณและ
กาลังคนสนับสนุน
การเตรี ยมวางแผนจัดสรร Storm water ต้องรับรู ้กนั ในวงกว้างเพื่อแต่ละฝ่ าย
จะได้เตรี ยมจัดงบประมาณไว้รองรับโครงการ และปรับทิศทางการทางาน
ให้เป็ นไปตามนโยบายการแก้ปัญหา
4.7 The Complete Storm Water Maregement Program
(โครงการการจัดการ storm water ที่สมบูรณ์)
- Lord Use Planning Aspects
การวางแผนเรื่ องการใช้พ้นื ที่ ต้องมีการใช้พ้นื ที่
- Municipal Role In Encouraging Inrovative Salutions
การได้รับความสนับสนุนอย่างเต็มที่ในการแก้ปัญหาจากการปกครอง
ท้องถิ่นทั้งการออกกฎข้อบังคับ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงระเบียบเก่า ให้ไปใน
ทิศทางที่จะช่วยแก้ปัญหาได้ อานวยความสะดวกให้แก่คณะทางานแก้ปัญหา
ซึ่งจาเป็ นอย่างยิง่ ที่ฝ่ายปกครองจะต้องให้ความสาคัญกับปั ญหา storm water
และผลกระทบ ตลอดจนความเสี ยหายโดยรวมที่จะเกิดขึ้น และร่ วมกันให้
ข้อมูล หาวิธีการป้ องกันกับคณะทางาน
- Administrative Problems
การวางแผนจัดการ Storm Water จาเป็ นจะต้องมีผเู้ ชี่ยวชาญ/ทีมวิศวกรร่ วมด้วยตั้งแต่เริ่ ม
เพราะไม่สามารถใช้เพียงความรู ้พ้ืนฐานหรื อสัญชาตญาณในการแก้ปัญหาได้ วิศวกรจะต้อง
ช่วยในการวิเคราะห์ลกั ษณะของลาน้ าตอนบน ตอนล่าง การไหลของน้ าการใช้เครื่ องมือกักเก็บ
ระบายน้ า ฯลฯ
-Technical Requirement
อุปกรณ์เครื่ องมือสนับสนุนการดาเนินงานตั้งแต่คอมพิวเตอร์ ช่วยในการจาลอง
สถานการณ์ แผนที่ การตรวจวัดระดับน้ า การพยากรณ์ รวมถึงอุปกรณ์ เครื่ องมือหนักอื่นๆ
- Staff and Financial Rosources Necded
การได้รับการสนับสนุนด้านการเงินและกาลังคน ผูเ้ ชี่ยวชาญประจาตาแหน่ง
- Field Irsection
เป็ นปั ญหาสาคัญอีกอย่างหนึ่ ง ในการจัดการ Storm Water ฝ่ ายปกครองต้องให้มี
คณะทางาน (Field Insprctor) ที่มีความรู ้ความชานาญและมีจานวนที่เพียงพอ มิเช่นนั้นการ
แก้ไขจัดการ Storm Water อาจไม่บรรลุผลตามที่ต้ งั ไว้
- Enforcement การให้ อานาจ การบังคับใช้
แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ
1.Paper Work เช่นแผนการปรับปรุ งพัฒนาการศึกษาเรื่ อง
กาลังน้ า การระบาย การกัดเซาะ การควบคุมตะกอน/สิ่ งกีด
ขวางทางน้ า จะต้องผ่านการอนุมตั ิจากการปกครองท้องถิ่น
2.การควบคุมตรวจสอบติดตามประเมินผลการปฏิบตั ิงาน
- Legal Considerations
ก่อนการนา ระเบียบข้อบังคับการจัดการ Storm Water ไป
ใช้จะต้องรับการตรวจทานจากฝ่ ายกฎหมายก่อนว่าจาไม่ขดั ต่อ
กฎหมาย
4.8 Conclusion บทสรุป
• ปัจจุบนั Storm Water มีมากขึ้นและซับซ้อนยิง่ ขึ้นกว่าเดิม ซึ่ง
จาเป็ นที่จะต้องดูแลจัดการสนับสนุนการแก้ปัญหาทั้ง คน และอุปกรณ์
การแก้ปัญหาอย่างจริ งจังจะต้องมีการศึกษาปัญหา ผลกระทบวิธีการ
ปฏิบตั ิการควบคุม จึงจาเป็ นต้องมีการออกกระเบียบข้อบังคับ สนับสนุน
การป้ องกันควบคุม Storm Water เพื่อช่วยให้ทีมงานดาเนินการ
ได้สะดวกและมีประสิ ทธิภาพต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ในการ
แก้ปัญหาอย่างจริ งจัง จัดหาเงินและคน เครื่ องมือสนับสนุนให้เพียงพอ
ดาเนินการอย่างมีระบบจึงจะช่วยจัดการ
จบการนาเสนอ
ขอบคุณครับ