เราควรมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงไหม

Download Report

Transcript เราควรมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงไหม

รศ.นพ.ชาญวิทย์ โคธีรานุรกั ษ์
ข้ อมูลสถิตปิ ระชากร
พ.ศ.
2503
2513
2523
2533
2548
2553
จานวนผู้สูงอายุ
1.2 ล้ านคน
1.9 ล้ านคน
2.5 ล้ านคน
4.0 ล้ านคน
6.6 ล้ านคน
7.6 ล้ านคน
% ของประชากรทัว่ ประเทศ
4.6
5.0
5.5
7.4
10.2
11.4
ที่มา : รศ.ดร.เนาวรัตน์ พลายน้ อย และคณะฯ โครงการประชากรศึกษา ม. มหิดล
แนวโน้ มผู้สูงอายุเพิม่ ขึน้ ตลอดเวลา เพราะ
• ความเป็ นอยู่ทดี่ ขี นึ้
• การแพทย์ เจริญขึน้
• ทุกคนอยากทีจ่ ะอายุยนื ขึน้
HUMAN AGING
PHYSIOLOGICAL CHANGE DURING AGING
ใน normal physiologic aging จะมีการเปลี่ยนแปลงของ
ระบบการทางานของอวัยวะต่างๆของร่างกายดังนี้ :
1. ลักษณะภายนอก ( outer appearance ) ในสภาพธรรมชาติ
ผิวจะเหี่ยวย่น ยืดหยุ่นน้ อยลง, ผิวแห้งมี pigment plaques
เกาะจับอยู่เฉพาะแห่ง หลอดเลือดฝอยแตกง่ายทาให้มี
ecchymosis ผมสีดอกเลา, ขาว เหงื่อออกน้ อยลง
2. กล้ามเนื้ อ : strength ลดลง, reaction time ช้าลง สาเหตุ
เพราะจานวน muscle fibers ลดลง กล้ามเนื้ อ regenerate
ใหม่ไม่ได้ ทาให้มี fibers tissue มาแทนที่ contractile
elements
PHYSIOLOGICAL CHANGE DURING AGING
3.
4.
โครงกระดูก Ligaments มี elasticity น้ อยลง vertebral column
เปลี่ยนแปลง intervertebral disc แบนลง ทาให้หลังงอ เกิด negative
calcium balance ซึ่งGarn 1973 เรียก “ adult bone loss ”
ระบบประสาท เมื่ออายุมากขึน้ จานวน nerve cells,
nerve fibers ในสมองจะลดลง น้าหนักสมองจะลดลง
ประมาณ 15 % - 25 % หลังจาก maturity จนถึงอายุ 90 ปี
โรคที่พบเมื่ออายุเพิ่มขึน้ เรื่อยๆ....... Mild cognitive impairment ,
Dementia, Alzeimer’s disease, C.V.A.
PHYSIOLOGICAL CHANGE DURING AGING
5. Special sense : เมื่ออายุ 45 ปี ขึน้ ไป จะพบว่าความรูส้ ึก
สัมผัสเฉื่ อย (dull), pain threshold สูงขึน้ จึงทาให้
ความรู้สึกต่อความเจ็บปวดซึ่งเป็ นสัญลักษณ์สาคัญของ
การผิดปกติของโรคหลายอย่าง ถูกละเลยไปอันเป็ นเหตุ
ให้เกิดอันตรายหรือถึงแก่ชีวิตหากได้รบั การรักษาไม่ทนั
เช่น แผลเบาหวานที่ติดเชื้ออย่างรุนแรงที่เท้า
ตัวอย่างความผิดปกติของ special sense
• สายตายาวในคนแก่ เมื่อมีอายุ 40-50 ปี
ขึน้ ไป
• เกี่ยวกับการได้ยินในคนแก่ auditory
neurons ลดจานวนลงมี hearing loss
มากขึน้ ทาให้เกิดภาวะ presbycusis
• การรับรู้รสน้ อยลง เพราะ taste bud
ใน papilla มีจานวนน้ อยลง
PHYSIOLOGICAL CHANGE DURING AGING
6. ระบบหัวใจและการหมุนเวียนของโลหิต ( Cardio –vascular
system )
Cardiac output ลดลงเพราะ มี peripheral resistance
เพิ่มขึน้ รวมทัง้ ทาให้ความดันเลือดสูงขึน้ , elasticity ของ
หลอดเลือดเสียไป, Blood pressure ประมาณ 160/90 ปี
เมื่ออายุประมาณ 65 ปี Baroreceptor reflex activity ลดลง
ทาให้อาจเกิดอันตรยาจาก postural hypotension ได้
PHYSIOLOGICAL CHANGE DURING AGING
7. ระบบหายใจ ( Respiratory system )
ปอดมีโครงสร้างเปลี่ยนไป ประสิทธิภาพการทางานก็
เปลี่ยนไป : Vital capacity น้ อยลง เพราะ intercostals muscle
อ่อนแอลง, flexibility ลดลงส่งผลรวม คือ ทาให้ minute
ventilation ลดลง,
8. ระบบทางเดินอาหารและลาไส้ ( Gastro – intestinal system )
ในผูส้ งู อายุจะมีปัญหาเกี่ยวกับเหงือกและฟันมาก ทาให้
รับประทานอาหารได้ไม่เต็มที่, peristaltic activity ของลาไส้
เล็กและลาไส้ใหญ่น้อยลง เกิดอาการท้องผูกบ่อย
PHYSIOLOGICAL CHANGE DURING AGING
9. ระบบไต, ทางเดินปัสสาวะ, กระเพาะปัสสาวะ
( Kidney, ureter, Urinary bladder )
Glomerular Filtration Rate ของคนสูงวัยเมื่ออายุ 80 ปี
ลดลงประมาณ 50 % เมื่อเทียบกับคนอายุ 25 ปี , การ
ควบคุม concentration ของ urine ลดน้ อยลงเกิด fluid
overload ได้ง่าย
10. ระบบต่อมไร้ท่อ ( Endocrine System )
Aldosterone จะลดลงในผูห้ ญิง, FSH, LH เพิ่มขึน้ .
TSH, GH,ACTH ไม่เปลี่ยนแปลง แต่ TSH output ต่อการ
กระตุ้นของ TRF ลดลง เพราะฉะนัน้ T3 , T4 อาจลดลงในคน
สูงวัย
PHYSIOLOGICAL CHANGE DURING AGING
11. ระบบภูมิต้านทานร่างกาย ( Immunology of aging : )
โดยทัวไปแล้
่
วการที่มี immunologic respond ไม่เพียงพอ
เนื่ องจาก aging จะมีผลต่อทัง้
- Intrinsic deficiency in the immunocompetent cell
population ( especially defect in T cell proliferate activity )
12. ภาวะเซ็กส์ในช่วงสูงอายุ
1. Change of aging alter the way the individual responds to
his environment over time
PHYSIOLOGICAL CHANGE DURING AGING
ดังนัน้ จะเห็นได้ว่าเมื่ออายุเพิ่มขึน้ ระบบต่างๆ ใน
ร่างกายก็จะเสื่อมเพิ่มขึน้ ทาให้การรักษาสมดุลของ
ร่างกายเริ่มเสียไป และค่อยๆเกิดโรคเป็ นขัน้ เพิ่มขึน้
เรื่อยๆ แต่ถ้าก่อนวัยสูงอายุได้มีความพยายามที่จะ
เคลื่อนไหวออกกาลังกายเป็ นประจา ก็จะสามารถชะลอ
กระบวนการเสื่อมถอยของร่างกาย นัน่ คือ สามารถชะลอ
กระบวนการแก่ของร่างกาย
ในปัจจุบนั ประชากรไทยมีภาวะนี้
โรคเส้ นเลือดหัวใจตีบ
อาย
65
ปี
ุ
โรคเบาหวาน
โรคเวียนหัว
โรคหย่ อนสมรรถภาพ
ทางเพศ
โรคตามัว หูตงึ
โรค COPD
โรคความดันโลหิตสู ง
เราอยากให้ประชากรไทยมีภาวะนี้
ยิ
ม
้
แย้
ม
แจ่
ม
ใส
อายุ 85 ปี
ไอ จาม ปี ละ 1-2 ครั้ง
กินอาหารได้ อร่ อย
เพือ่ นมากมาย
เฮฮาปาร์ ตี้
เทีย่ วต่ างประเทศปี ละ 3 ครั้ง
เคลือ่ นไหวทุกวัน
เทีย่ วในไทยทุกเดือน
ตัวอย่ างของผู้ป่วย
นายสมชาย อายุ 22 ปี เมื่อปี ค.ศ. 1984 เป็ นคนที่เข้ มแข็งและกาลังจะ
จบมหาวิทยาลัยแห่ งหนึ่ง มีภาวะสุ ขภาพดี มีความสบายใจทีจ่ ะจบ
มหาวิทยาลัยและกาลังจะได้ งานทาที่ธนาคารแห่ งหนึ่ง
ผ่านมา 21 ปี
ในปัจจุบัน ปี ค.ศ. 2007 นายสมชายมีอายุ 42 ปี เป็ นผู้จดั การสาขาที่
ธนาคารแห่ งเดิม แต่ มีโรคประจาตัว คือ นอนไม่ หลับ, ความดันโลหิต
สู ง, เบาหวาน, ไขมันสู ง และทานยา 10 อย่ างเป็ นประจา
ตัวอย่ างของผ้ ูป่วย
ดังนั้น ในระยะเวลา 20 ปี ที่ผ่านมา นายสมชายแก่ ขนึ้ และสรีรร่ างกาย
ก็เปลีย่ นไป ในเชิงเสื่ อมถอยลง ประกอบกับที่ผ่านมาต้ องเผชิ ญกับ
ความเครียดของการปรับตัว เพือ่ ให้ ธนาคารที่ตวั เองดูแลให้ ดารงธุรกิจ
อยู่ได้ ท่ามกลางการเปลีย่ นแปลงของระบบธนาคารที่ผนั ผวน ตามภาวะ
เศรษฐกิจการเงินของประเทศ ทาให้ ธนาคารอยู่รอดได้ ท่ามกลาง
การแข่ งขันที่รุนแรง ต้ องคิดหนักกับหนีเ้ สี ย
ตัวอย่ างของผ้ ูป่วย
ทีเ่ กิดจากลูกค้ าประสบภาวะล้ มละลายทางธุรกิจทีเ่ พิม่ สู งขึน้
ไหนต้ องกลุ้มใจกับภาวะเงินเฟ้อและภาระของครอบครัวตัวเอง
ลูกทีเ่ ริ่มเข้ าสู่ วยั รุ่นในภาวะสั งคมทีม่ ีปัญหา ไหนต้ องพบปะกิน
ข้ าวกับ ลูกค้ า ต้ องกินเหล้ า สู บบุหรี่และปล่ อยให้ นา้ หนักตัว
เพิม่ ขึน้ โดยจัดอยู่ในเกณฑ์ อ้วน กว่ าปกติ ทาให้ เกิดปัญหาโรค
รุมเร้ า ทีเ่ กิดจากปัจจัยความเครียด, ภาวะอ้ วน ซึ่งเกิดจากการ
เปลีย่ นแปลง
ตัวอย่ างของผู้ป่วย
ของวิถชี ีวติ และสั งคมรอบตัว โดยตัวคุณสมชายไม่ สามารถปรับ
พฤติกรรม ให้ ลดความเสี่ ยงได้ ทันกับการเกิดโรค
ดังกรณีตัวอย่ างของคุณสมชาย ถ้ ายังเป็ นอย่ างนีอ้ กี ภายใน 10 ปี
ข้ างหน้ า โรคจะเกิดปัญหากับเขา ก็คอื โรคหลอดหัวใจตีบและโรค
อุบัติการณ์ หลอดเลือดสมองตีบหรือแตก แม้ ว่าจะใช้ ยาคุมด้ านความดัน
โลหิต, เบาหวานให้ อยู่ในเกณฑ์ ปกติ ก็ยงั เกิดได้ ผลที่ตามมาก็คอื ค่ าใช้ จ่าย
ได้ การรักษาพยาบาลที่เกิดเพิม่ ขึน้ อย่ างมากมาย ก่อให้ เกิดปัญหาต่ อ
ครอบครัวและองค์ กรที่คุณสมชายทางานอยู่ องค์ กรจะสู ญเสี ยผู้จัดการที่
เก่ งๆไป 1 คน (human capital)
ตัวอย่ างของผ้ ูป่วย
แต่ ถ้าเราคิดแบบสุ ขภาพองค์ รวม แล้ วมาแก้ ไขปัญหาของคุณสมชาย เราก็ต้องเริ่ม
จากการพูดคุยกับคุณสมชายให้ เข้ าใจถึงภาวะสุ ขภาพและสรีรร่ างกายของตัวเอง
และต้ นเหตุของโรค ให้ เข้ าใจถึง
- มิติของร่ างกาย
ทีเ่ ริ่มเสื่ อมสภาพตามอายุ
- มิติของจิตใจ
ที่ความเครียดเป็ นตัวเสี่ ยงสาคัญทีก่ ่ อให้ เกิด
โรคอืน่ ๆ ตามมาอีกมากมาย
- มิติของจิตวิญญาณ
ให้ เขาได้ ตระหนักถึงการอยู่อย่ างมีคุณภาพ
ชีวติ ที่ดี เพือ่ เป็ นทีพ่ งึ่ ของคนในองค์ กรและ
ครอบครัว ให้ เขาได้ รักตัวเองเพือ่ ผู้อนื่ และสั งคม
ตัวอย่ างของผ้ ูป่วย
- มิติของการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ซึ่งแบ่ งเป็ น
* มิติของการจัดการเรื่องเวลา
* มิติของการแก้ ปัญหาแบบเป็ นหมวดหมู่และระบบ
* มิติการใช้ เวลาให้ กบั ตัวเองเพือ่ ผ่ อนคลายความเครียด,
รับประทานทีด่ มี ีประโยชน์ , เคลือ่ นไหวออกกาลังกายเป็ นประจา
แพทย์ และบุคคลากรทางการแพทย์ ในยุคใหม่ จาเป็ นจะต้ องนาระบบสุ ขภาพ
แบบองค์รวมมาใช้ อย่างจริงใจ เพราะผลกระทบในเชิงบาวกทีต่ ามมาก็คอื
ประชาชนจะมีสุขภาพทีแ่ ข็งแรง พึง่ ตัวเองได้ และประเทศชาติจะเจริญ
มองในแง่ Public เกิดอะไรขึน้ ในระบบสาธารณสุ ขไทย
คนสมัยก่ อนอายุยนื เพราะ
ประเทศไทยเราเคยมีจุดแข็งทีท่ าให้ ประชาชนอายุยนื
☝ ทุกคนอยู่อย่างเอือ
้ อาทร ไม่มีการทะเลาะ
กันเรื่องศาสนา
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เงินเป็นเรื่อง
เล็ก เศรษฐกิจพอเพียง
☝กินอาหารครบทุกหมู่ กินผัก,ผลไม้,ปลา
ได้ทุกฤดูกาล
☝ไม่มม
ี ลพิษ เพราะมีผลไม้, คลอง, การ
สัญจรสะดวก
☝มีงานทา มีการเคลื่อนไหวร่างกายทุกวัน
ปัจจุบันอายุส้ั น ยิง่ อยู่ในเมืองยิง่ อายุส้ั น
มลพิษเกิดขึน
้ ทัว
่ ไป พิษจากรถยนต์, พิษจาก
ขยะ,
พิษจากโรงงาน,พิษจากสังคม ,การเมือง
☟กินอาหารไม่เหมาะสม หนักไปทางแป้งแล
ไขมัน
☟ความเอื้ออาทรหมดไป กลายเป็นคนละ
พวกคนละ
หมูค
่ นเห็นแก่
ตัวมากขึน
้ แม้กระทัง่ ธุรกิจก็ยงั เป็น
พวกใครพวกมัน, การเมืองห้าหัน
่ กัน, แย่ง
ชิงผล
ประโยชน์, อันธพาล
☟ ไม่ค่อยเคลือ
่ นไหวออกกาลังกาย เข้าใจผิดว่าออก
กาลังกาย
ต้องสิ้นเปลือง
มากๆ
☟นอน, พักผ่อนไม่พอ ไม่เป็นเวลา
☟พิษจากสุรา ของมึนเมา และบุหรี่
☟Emerging disease (มันกาลังจะมาในอนาคต )
- หวัดนกกลายพันธุ์
- ภัยธรรมชาติ, โรคต่างๆทีต
่ ามมา
- การทะเลาะกันทางศาสนา, การเมืองทีร่ ุนแรงขึ้น
- ไวรัสกลายพันธุแ
์ ปลกๆทีม
่ ผ
ี ลมาจากสิ่งแวดล้อม
ที่เปลีย
่ นไปจากฝีมอ
ื มนุษย์์
Life cycle
ปัจจุบันอุบัตกิ ารณ์ ของโรคทีเ่ กีย่ วข้ องกับวิถชี ีวติ ( Disease
of life style ) มีเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะสั งคมเมือง เราพบอุบัตกิ ารณ์ ของ
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ในประชากรทีอ่ ยู่ในเมืองมากขึน้ เรื่อยๆ และไม่
จากัดเฉพาะผู้บริหารทีม่ ีฐานะดี คนขับแท็กซี่ คนทางานในออฟฟิ ศ ก็มี
สิ ทธิจะเป็ นโรคนีไ้ ด้ ก่ อนทีพ่ วกเขาจะเกิดอาการแน่ นหน้ าอก และตรวจ
พบว่ าเป็ นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ หลายปี ก่ อนนีเ้ ขาอาจถูกตรวจพบว่ า
ไขมันในร่ างกายสู ง ความดันโลหิตสู ง เกิดภาวะเบาหวาน เวียนศีรษะ
เป็ นประจา และได้ รับยามาทานอย่ างสม่าเสมอ จู่ๆ หลอดเลือดหัวใจก็ตีบ
ทั้งหมดทีก่ ล่ าวมานี้ เกีย่ วข้ องกันได้ อย่ างไร
ตารางแผนผังของโรคที่เกิดในกลุ่มผูบ้ ริหารและผูท้ ี่ขาดการเคลื่อนไหว
ปัจจัยเสี่ ยงต่ อโรคหลอดเลือด
หัวใจตีบ
1. วิถชี ีวติ ที่เครียด
2. อาหารแป้ งไขมันสู ง
3. ขาดการเคลือ่ นไหว
4. สู บบุหรี่เป็ นประจา
ถ้ าจะดูจากสรีรวิทยาของหลอดเลือดฝอยทั่วร่ างกาย หมายถึงหลอดเลือด
ฝอยในส่ วนหัวใจ จะมีปัจจัยหลักอยู่ 2 อย่ างที่ทาให้ หลอดเลือดมีโอกาส
ตีบแคบ คือ
1.ปัจจัยภายในหลอดเลือดฝอย
ปัจจัยภายในหลอดเลือดฝอยที่ก่อภาวะเกิดตะกรันในหลอดเลือด
สาเหตุหนักเกิดจาก อาหารส่ วนที่เกินที่เรากินเข้ าไปและเผาผลาญ
ใช้ ไปหมดถ้ าเข้ ามากกว่ าใช้ ไปก็เกิดการสะสมเป็ นตะกรันที่ผนัง
หลอดเลือด ปัจจัยเสริมต่ างๆ เช่ น ภาวะเลือดหนืดไหลเวียนไม่ ดี
ออกกาลังกายไม่ สมา่ เสมอ เกิดภาวะ Oxidative stress ทาให้ เกิด การ
อดกั้นการไหลเวียนของเลือดทั่วทั้งร่ างกาย
2. ปัจจัยปัญหาทีผ่ นังหลอดเลือด
ปัจจัยทีม่ ผี ลทาให้ ผนังหลอดเลือดฝอยหดตัวแคบลง
ก็คอื ภาวะเครียดในชีวติ ประจาวัน และขาดการ
เคลือ่ นไหวเพือ่ เพิม่ การไหลเวียนเลือดและความยืดหยุ่นที่
ผนังหลอดเลือด ทาให้ เลือดไหลไม่ สะดวก เกิดปัญหาและ
ก่ อเกิดการสะสมเป็ นระยะเวลานานๆ ทาให้ เกิดปัญหาการ
ไหลเวียนบกพร่ อง ประกอบกับไม่ ได้ เคลือ่ นไหวออกกาลัง
กายยิง่ จะทาให้ การไหลเวียนของเลือดทัว่ ร่ างกายเกิด
ขัดข้ อง
โรคที่ก่อเกิดจากการตีบแคบและรบกวนต่อการ
ไหลเวียนของหลอดเลือดทัวร่
่ างกาย
1. โรคความดันโลหิตสูง
2. โรคเวียนศีรษะ
3. โรคปวดกล้ามเนื้ อส่วนต่างๆ ในร่างกายเรือ้ รัง
4. โรคเมื่อล้าประจาวัน
5. โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
6. โรคไตวายเรือ้ รัง
7. โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต
โรคต่างๆ เหล่านี้ จะค่อยๆ เพิ่มในตัวผูป้ ่ วยที่มีวิถีชีวิตเสื่อม
สุขภาพ คือ ทานอาหารหวานและอาหารที่มีแป้ งหรือไขมันเป็ น
ประจา ขาดการออกกาลังกายและชีวิตที่เครียด ตามระยะเวลา
ที่ผา่ นไป และในระหว่างที่เกิดโรคเหล่านี้ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ย่อม
ส่งผลต่อจิตใจ กลุ้มใจเรือ้ รัง นอนไม่หลับ จิตใจหดหู่ การ
ตัดสินใจผิดพลาดบ่อยครัง้ การติดต่อสื่อสารผิดพลาด เกิด
ปัญหาต่อคนรอบข้างและเพื่อนที่ทางาน ไม่มีความมันใจและ
่
เกิดความอ่อนแอในจิตใจ ให้รา้ ยคนรอบข้าง โรคต่างๆเหล่านี้ มี
ส่วนเชื่อมโยงกัน แต่เกิดแต่ละช่วงอายุ ถ้าหากจะหลีกเลี่ยงโรค
ต่างๆเหล่านี้ จาเป็ นต้องตระหนักในพฤติกรรมเรือ่ งสุขภาพ
ปรับพฤติกรรมให้สขุ ภาพดีขึน้ ตลอดเวลา
การเข้าถึงวิถีการดาเนินชีวิตที่ถกู ต้อง และปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพจึงจะได้ผลที่แท้จริง ยาที่ลดอาการไม่ใช่เป็ น
ทางแก้ในระยะยาว ประเด็นหลักที่ทาให้สขุ ภาพแข็งแรงกลับ
เป็ นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจาวัน จัดการการดาเนินชีวิต
และการจัดเวลาที่ถกู ต้องแก่ตนเอง โดยก่อนอื่นต้องเปลี่ยน
ความเชื่อก่อนว่าโรคเหล่านี้ หาย เปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารเท่าที่จาเป็ น รูจ้ กั อิ่ม ลดอาหารแป้ ง ไขมัน มีเวลา
ให้กบั ตัวเองในการเคลื่อนไหว ออกกาลังกาย ทาได้ประจาดังนี้
แล้ว โรคที่กล่าวมาข้างต้น ก็จะค่อยๆ แก้ไขพฤติกรรมที่ผิดๆ
สุขภาพตัวเองก็จะค่อยๆดีขึน้ เป็ นลาดับ
• แนวทางการป้ องกัน
1. ปรับเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิต
2. ปรับแนวคิดการบาบัดโดยยาอย่างเดียว อันเป็ นการแก้ไข
พฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพร่วมกับการใช้ยาเท่าที่จาเป็ น
3. ปรับเวลาให้ตวั เองมากขึน้
4. ปรับอาหารให้แค่พอเพียง ลดอาหารประเภทแป้ ง น้าตาล
ไขมัน
5. ปรับสภาพจิตใจให้เข้มแข็ง เอื้ออาทร มองโลกในแง่บวก
6. ปรับกิจกรรมให้เน้ นการเคลื่อนไหวมากขึน้ ไม่นัง่ เฉยๆ
ผลกระทบในอนาคต
* ค่ าใช้ จ่ายมากขึน้ ในระบบ
*หมอทางานหนักขึน้ เป็ นโรคมากขึน้ , แก่เร็วขึน้
* คุณภาพชีวติ ประชากรลดลง
* Productivity ลดลง
* เศรษฐกิจอ่อนแอ
AGING AGENDA
Tissue Engineering
Stem cell therapy
Anti-Aging Medicine
Link the Evolution from Sports Medicine
towards Augmentative Medicine
Pillars of Anti—aging medicine
provide the LINKS
Sports
medicine
Antiaging
medicine
Human
enhancement
augmentation
-Anti-aging endocrinologgy &
-Hormone replacement therapy
-Antioxidant analysis &
-Optimized supplementation
-Maximized immune function
-Detoxification
-Cardiovascular protection
-Cognitive function assessment & repair
-Metabolic & DNA repair
-Skin De-Aging & repair
-Lifestyle modification
-Musculoskeletal rehabilitation
-Sports medicine-conditioning
-Biomarkers of aging assessment
-Prospective advanced diagnotics
เราควรมีการเปลีย่ นแปลงอย่ างรุนแรงไหม ?
1. Know how ใหม่ ทางการแพทย์ ทเี่ กีย่ วกับ Anti –
aging
ความรู้ใหม่ Anti –aging
 Health promotion, preventive in practice
 Nutritional healing
 Rejuvenation, H.R.T
เราควรมีการเปลีย่ นแปลงอย่ างรุนแรงไหม ?
2. Health care reform
3. Health insurance scheme การจ่ ายทดแทนค่ า
รักษาพยาบาลโดยเน้ น Disease management
แทนที่จะจ่ ายโดยบิลยาอย่ างเดียว
4. Medical education in medical school
อยู่อย่ างมีชีวติ ชีวา
ถึง 100 ปี
อยูเ่ พื่อ ?
อยู่ เพื่อ ตัวเอง สุขกาย สุขใจ มีคุณค่ า
เพื่อ เป็ นกาลังใจให้ ลูกหลาน ญาติพ่ นี ้ อง
เพื่อ ชาติเจริญรุ่ งเรือง อยู่อย่ างมีคุณภาพชีวติ
มีชีวติ ชีวาช่ วยประหยัด งบค่ าดูแล
รักษาพยาบาลของประเทศ
ประเทศมั่งคั่ง
การมีคณ
ุ ภาพชวี ต
ิ ทีด
่ ี
•
•
•
•
•
•
•
•
•
มีความสุขที่ตัวเองมีคุณค่ า
มีความสุขที่ได้ ทาดี ช่ วยเหลือผู้อ่ นื
มีความสุขที่มีใครอยู่ใกล้ ชิด
มีความสุขที่กินได้ อาหารอร่ อย
มีความสุขที่เคลื่อนไหว ช่ วยตัวเองได้
มีความสุขทางเพศ ตามสมรรถภาพ
มีความสุขทางธรรมะ การพักผ่ อน เที่ยว
มีความสุขที่ร้ ูจักพอ
มีความสุขที่ไม่ เป็ นโรคหรือคุมโรคอยู่ได้
TIPS FOR ELDERLY (SERIES E.)
TIPS FOR ELDERLY ( SERIES E. )