ศาสตราจารย์แพทย์หญิงจิตรา อนุราษฎร์ ต ำแหน่ง

Download Report

Transcript ศาสตราจารย์แพทย์หญิงจิตรา อนุราษฎร์ ต ำแหน่ง

ศาสตราจารย์ แพทย์ หญิงจิตรา อนุราษฎร์
ตำแหน่ ง
1. รองผู อ
้ ำนวยกำรด้ำนกำรแพทย ์
2. ผู อ
้ ำนวยกำรฝ่ำยแพทยศำสตร ์
ศึกษำ
3. ผู อ
้ ำนวยกำรศู นย ์ภู มแ
ิ พ้
4. ประธำน หน่ วยงำนบริหำรกำรใช้
ทร ัพยำกรสุขภำพ
่ ำงำนปั จจุบน
สถำนทีท
ั
โรงพยำบำลบำรุงรำษฎร ์อน
ิ เตอร ์
่ั
เนชนแนล
Jitra Anuras, M.D.
Bumrungrad International
Medication Use Process





Prescribing / Ordering
Transcribing
Dispensing
Administering
Monitoring
Effective Communication
Swiss Cheese Model of Medication Error Prevention
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงทีเ่ กิดจากการเขียน prescription
II. ความเสี่ ยงจากการสั่ งยาโดยวาจาหรื อโทรศัพท์
III. แพทย์ ไม่ มีข้อมูลของผู้ป่วยที่ครบถ้ วน
IV. ไม่ มีข้อมูลยาที่เข้ าถึงได้ โดยสะดวก
V. ความคลาดเคลื่อนซึ่งเกิดจาก Human Factors
VI. สิ่ งแวดล้อมในการทางานไม่ เหมาะสม
VII. บ่ งชี้ตัวผู้ป่วยผิดพลาด (Mis-identification of patient)
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเขียน prescription
1. ลายมือ อ่านยากหรื ออ่านไม่ออก
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
I. แนวทางป้ องกันความคลาดเคลื่อนจากการเขียน prescription
1.1 เขียนด้วยตัวบรรจงให้อ่านออก
1.2 เขียนด้วย block letter
1.3 ใช้ระบบ computerized physician order entry (CPOE)
1.4 ผูร้ ับคาสัง่ สอบถามยืนยันคาสัง่ เมื่อลายมือไม่ชดั เจน
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเขียน prescription
2. การเขียน prescription ไม่ได้มาตรฐาน
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
2. มีมาตรฐานในการเขียน prescription โดยใช้หลัก "5 Rights"
Right patient
Right drug
Right dose
Right route
Right time
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเขียน prescription
3. เขียนชื่ อยาผิด ไม่สมบูรณ์ หรื อใช้คาย่อ
โดยเฉพาะคาย่ออันตราย
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
3. เขียนชื่อยาเต็ม
3.1 ใช้ชื่อยาสามัญกากับ
3.2 ไม่ใช้คาย่อ โดยเฉพาะคาย่ออันตราย (Dangerous Abbreviations)
3.3 องค์กรมี List คาย่ออันตรายซึ่งห้ามใช้โดยเด็ดขาด eg. MSO4, MgSO4
3.4 ใช้ " Tall Man Lettering" สาหรับยาที่ชื่อคล้ายกัน เช่น
NasaCORT, NasoNEX
("Tall Man Lettering" is when part of the drug name is written in
upper case letters to help distinguish one drug from another)
3.5 ผูร้ ับคาสัง่ ต้องสอบถามยืนยันเมื่อมีการเขียนด้วยคาย่อ
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเขียน prescription
4. ขนาด ความเข้มข้น และหน่วยวัดไม่ชดั เจนหรื อ ไม่ได้ระบุไว้
4 ก. ไม่ใช้เลข 0 นาหน้าจุดทศนิยม (Leading zero) เช่น .5 mg
4 ข. ใช้เลข 0 ตามหลังจุดทศนิยม (Trailing zero) เช่น 5.0 mg
4 ค. ใช้ตวั ย่ออันตราย(Dangerous Abbreviations) เป็ นหน่วยวัด
เช่น U, IU, μg, cc, ซ.ซ., ช.ช., ช.ต., Gr.
4 ง. ระบุขนาด / ความเข้มข้นเป็ นเศษส่ วน
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
4.1 ระบุขนาด หรื อ ความเข้มข้น (strength or concentration) โดยใช้ หน่วย metric เช่น 20mg
4.2 ระบุความเข้มข้นของยาน้ าเป็ น wt/vol เช่น 50 mg/mL
4.3 ให้ใช้เลข 0 นาหน้าจุดทศนิยม และไม่ใช้ เลข 0 ตามหลังจุดทศนิยม
4.4 มี List ตัวย่ออันตราย (Dangerous Abbreviations)ที่หา้ มใช้
U, IU ให้ใช้ unit แทน
μg
ให้ใช้ mcg แทน
cc, ซ.ซ. ให้ใช้
mL แทน
ช.ช., ช.ต ให้ใช้ 5 mL และ 15 mL เป็ นต้น
4.5 ไม่ใช้หน่วยโบราณ (apothecary system) เช่น grain, dram ( ) หรื อ minim ( )
4.6 ไม่ใช้เศษส่ วน เพือ่ ระบุขนาดหรื อความเข้มข้น
4.7 มีระบบ computer เตือนถ้าขนาดที่สงั่ ไม่เหมาะสม เช่น under หรื อ over dosage
List of Dangerous Abbreviations
No
Abbrev.
1. U or u
Intended
Meaning
For Unit
Correction
Use “ Unit”
2 IU
International Unit
3.
4.
5.
Use “Daily”
Use “Every other day”
Do not use trailing zero
for doses expressed in
whole numbers
Use zero before a decimal
point when the dose is
less than a whole unit
6.
International
Unit
Once daily
Q.D.
Every other day
Q.O.D.
Trailing zero after 1 mg
decimal point (e.g.
1.0 mg)
0.5 mg
Lack of leading
zero before a
decimal dose (e.g.,
.5mg)
List of Dangerous
Cont’Abbreviations
No
Abbrev.
7. MS
8. MSO4
9. MgSO4
10. g
11. T.I.W.
12. BT
Intended
Correction
Meaning
Morphine sulfate Use complete drug name
Magnesium
sulfate
Microgram
Use complete drug name
3 times a weeks
or twice in a
week
Bedtime
Use “3 times weekly”
Use “mcg”
Use “Bedtime”
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเขียน prescription
5. ไม่ระบุ preparation สาหรับยาที่ชื่อเหมือนกัน
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
5. ระบุ preparation
เช่น otic drop, ophthalmic ointment
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเขียน prescription
6. จานวนยาที่สงั่ คลาดเคลื่อน
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
6.1 ระบุจานวนยาเป็ นหน่วย metric เช่น 100 tablets
6.2 ไม่ใช้หน่วยกากวม หรื อใช้ package เป็ นหน่วย
เช่น ขวด กระป๋ อง
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเขียน prescription
7. เขียนวิธีใช้ (direction of use) คลาดเคลื่อน
- dose, route, frequency
- ใช้คาย่ออันตราย (Dangerous Abbreviation)
เช่น O.D, QD, QID, QOD, ววว
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
7.1 ระบุขนาด หรื อ ปริ มาตรยาเป็ นตัวเลข Arabic และใช้หน่วย metric
เช่น 1 mg, 15 mg, 15 mL
7.2 ระบุ route เช่น P.O., IM, IV
V
7.3 ไม่ใช้สญ
ั ลักษณ์ เช่น M
7.4 ระบุเวลา frequency เช่น วันละครั้ง, หลังอาหาร ก่อนอาหาร
7.5 ไม่ใช้คาย่ออันตราย (Dangerous Abbreviations)
ใช้ once daily หรื อ วันละ 1 ครั้งแทน OD, QD
ใช้วนั ละ 4 ครั้ง แทน QID
ใช้วนั เว้นวัน แทน QOD หรื อ ววว
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
7.6 กาหนดเวลาให้ยาชัดเจน
7.7 ไม่ใช้คากากวม เช่น " Take as directed“
7.8 ในกรณี ที่ให้ยาทุก 24 ชม., 48 ชม., 72 ชม.ให้กาหนดเป็ นวันที่
ห้ามใช้ คาว่า วันคู่ วันคี่
7.9 ใช้ระบบ CPOE (computerized physician order entry) ,
computerized calculation of weight-based dosage
7.10 ใช้ pre-printed orders ในยากลุ่มเสี่ ยง เช่น chemotherapeutic drugs
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเขียน prescription
8. แพทย์สงั่ การรักษาโดยใช้คาว่า "ยาเดิม", "RM",
หรื อ Continue home medications
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
8.1 ห้ามสัง่ การรักษาโดยใช้คาว่า RM, ยาเดิม,
หรื อ " continue home medications"
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเขียน prescription
9. สัง่ "hold" order แล้วลืมสัง่ เริ่ มยาอีก
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
9.1 การสัง่ "hold" order มีกาหนดชัดเจนว่าจะเริ่ มใหม่เมื่อใด
9.2 มีขบวนการทา medication reconciliation
(Medication Reconciliation is a process for comparing the patient’s
current medications with those ordered for the patient while under
the care of the organization)
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
I. ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเขียน prescription
10. ลายเซ็นชื่ออ่านไม่ออก ไม่สามารถระบุตวั ผูส้ งั่ ได้
และไม่สามารถสอบถามได้เมื่อไม่เข้าใจคาสัง่
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
10.1 ลายเซ็นต้องสามารถระบุได้วา่ ผูส้ งั่ เป็ นใคร
ควรมีหมายเลขโทรศัพท์ หรื อ beeper เพื่อติดต่อ
สอบถามได้
10.2 ลายเซ็นมีชื่อแพทย์เขียนด้วยตัวบรรจงหรื อมี
รหัสประจาตัวแพทย์กากับ
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
II. ความเสี่ ยงจากการสั่ งยาโดยวาจาหรื อโทรศัพท์
1. ผูร้ ับคาสัง่ ฟังผิด
2. ไม่ได้บนั ทึกคาสัง่ ใน physician's order sheet ทันที
3. ไม่ได้ทบทวนคาสัง่ หรื อแพทย์ไม่ให้โอกาสทบทวนคาสัง่
4. แพทย์ไม่ได้เซ็นกากับคาสัง่ ที่สงั่ โดยวาจา
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
1. สั่งยาทางวาจา หรื อโทรศัพท์เมื่อจาเป็ นเท่านั้น
2. สั่งด้วยเสี ยงที่ชดั ถ้อยชัดคา และไม่เร็ วเกินไป
3. ยาที่ชื่อคล้ายกันให้สะกดชื่อยาเป็ นรายตัวอักษร
4. ไม่ใช้ภาษาละติน เช่น BI.D., T.I.D.ให้ใช้ วันละ 2 ครั้ง หรื อ วันละ 3 ครั้งแทน
5. ผูร้ ับคาสั่งต้องบันทึกลงในorder sheet ทันที แล้วอ่านทบทวน (Read back)
ให้ผสู ้ ั่ง confirm ว่าถูกต้อง
6. แพทย์ผสู ้ ั่งหรื อแพทย์เจ้าของไข้เซ็นชื่อกากับ (cosign) ภายใน 24 ชัว่ โมง
โดยทาง ร.พ. มีวธิ ี ให้แพทย์สังเกตุเห็นได้ง่ายเช่น มีการติดsticker
7. องค์กรมี List ยากลุ่มเสี่ ยง ซึ่ งห้ามสั่งโดยวาจา หรื อ ทางโทรศัพท์ เช่น
Chemotherapeutic agents
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
III แพทย์ ไม่ มีข้อมูลของผู้ป่วยที่ครบถ้ วน
1. ให้ยาซ้ าซ้อนกับยาที่ใช้อยู่
2. ไม่ได้สงั่ ยาทีใช้เป็ นประจา
3. สัง่ ยาซึ่งมี drug interaction กับยาที่กินอยู่
4. ไม่ได้สงั่ ยาที่ผปู ้ ่ วยต้องใช้ เช่น ยาสาหรับโรคร่ วม
ยาป้องกัน DVT หรื อ preoperative prophylactic antibiotics
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
III แพทย์ มขี ้ อมูลผู้ป่วยครบและถูกต้ อง
1. มี List of current medications ที่สมบูรณ์ รวมทั้งยาที่สงั่ โดยแพทย์
ยาที่ซ้ือกินเอง ยาสมุนไพร และอาหารเสริ ม
2. มีขบวนการทา Medication Reconciliation เมื่อผูป้ ่ วยมารับการ
รักษาพยาบาล, เปลี่ยน care settings, หรื อเมื่อจาหน่าย ผูป้ ่ วย
(Medication Reconciliation is a process for comparing the patient’s
current medications with those ordered for the patient while under
the care of the organization)
3. แนะนาให้ผปู ้ ่ วยนายาทั้งหมดที่ใช้อยู่ เมื่อมาพบแพทย์
4. ตรวจสอบข้อมูล drug interaction โดยใช้ระบบ IT หรื อปรึ กษาเภสัชกร
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
III แพทย์ ไม่ มีข้อมูลของผู้ป่วยที่ครบถ้ วน
5. สัง่ ยาซึ่งเป็ น contraindication สาหรับโรคที่เป็ นอยู่
เช่น ยา sulfa ในผูป้ ่ วย G6PD หรื อ beta-blocker ในผูป้ ่ วยหอบหื ด
6. สัง่ ยาที่ผปู ้ ่ วยมีประวัติแพ้ หรื อยาที่มี cross reaction กับยาที่มีประวัติแพ้
7. ไม่ได้ปรับขนาดยาในผูป้ ่ วยที่มีโรคตับ หรื อโรคไต
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
III แพทย์ มขี ้ อมูลผู้ป่วยครบและถูกต้ อง
5. มี List of current medical problems หรื อ diagnosis
6. มีคาเตือน " Drug Allergy" ที่เห็นได้ง่ายบนเวชระเบียน, OPD clinical
record, หรื อ order sheet และมีการ update ข้อมูลการแพ้ยาทุกครั้งที่ผปู ้ ่ วย
มารับการรักษาพยาบาล
7. - มีแนวทางในการปรับขนาดยาในผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคตับ หรื อ โรคไต
- มีระบบเตือน (IT) เมื่อผูป้ ่ วยเป็ นโรคตับ หรื อ โรคไต
8. - มีการส่ งต่อข้อมูลเกี่ยวกับผูป้ ่ วยและยาที่กาลังได้รับให้ครบถ้วน เมื่อมี
การเปลี่ยนตัวผูร้ ับผิดชอบในการรักษาพยาบาล หรื อ เปลี่ยน care settings
(Hand-off communication)
- องค์กรมีมาตรฐานในการส่ งต่อข้อมูลผูป้ ่ วย Hand-off communication
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
IV ไม่ มขี ้ อมูลยาที่เข้ าถึงได้ โดยสะดวก
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
IV องค์กรจัดทาหรื อจัดหาข้อมูลยาซึ่ งแพทย์และ patient care team
เข้าถึงโดยสะดวก
1. มีรายการยาที่มีอยูใ่ นระบบ (Formulary) พร้อมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับขนาด,
preparation, dosage, วิธีใช้, adverse effects, drug interaction
2. มีขอ้ มูลยา ในระบบ IT System
3. มีเภสัชกรหรื อผูร้ ับผิดชอบให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับข้อมูลยา
4. มีการ update ฐานข้อมูลยาอย่างสม่าเสมอ
5. มี List ของ Look-alike, Sound-alike (LASA) drugs
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
IV องค์กรจัดทาหรื อจัดหาข้อมูลยาซึ่ งแพทย์และ patient care team
เข้าถึงโดยสะดวก
6. มี List ของ High-alert drugs
7. มีแนวทางการปรับขนาดยาในผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคตับหรื อไต
8. มี Protocol หรื อ order sets ในการใช้ยากลุ่มเสี่ ยง
เช่น anticoagulants, chemotherapeutic drugs เป็ นต้น
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
V ความคลาดเคลื่อนซึ่งเกิดจาก Human Factors
1. ภาระงานที่มากเกินไป ตรวจผูป้ ่ วยจานวนมากในระยะเวลาสั้น
2. แพทย์ไม่ได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ
3. แพทย์ถูกรบกวนสมาธิ ในขณะเขียน prescription เช่น แพทย์ตอ้ งรับโทรศัพท์
ผูป้ ่ วยชวนคุยหรื อซักถาม เป็ นต้น
4. แพทย์ไม่รับฟังคาเตือนจากเภสัชกร หรื อ พยาบาล เมื่อมีความคลาดเคลื่อนใน
การสัง่ ยาเกิดขึ้น หรื อ มีปฏิกิริยาในทางลบ (Disruptive Behaviors) ต่อคาเตือน
5. คานวณ dose ยาผิดพลาดโดยเฉพาะในกลุ่มผูป้ ่ วยเด็กเล็ก ผูป้ ่ วยสู งอายุ หรื อ
กรณี ยาฉุกเฉิ น
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
V การป้ องกันความคลาดเคลื่อนจาก Human Factors
1. จัดภาระหน้าที่ จัดตารางเวลาทางาน หรื อ อยูเ่ วรของแพทย์ให้เหมาะสม
2. จัดให้มีแพทย์เพียงพอกับจานวนผูป้ ่ วยที่ตอ้ งดูแล
3. มีมาตรการป้องกันการถูกรบกวนสมาธิของแพทย์ เช่น มีผชู ้ ่วยรับ
โทรศัพท์แทน
4. องค์กรมี policy ให้แพทย์รับฟังคาท้วงเตือนจากผูร้ ่ วมงาน มีวิธีแก้ไข
เมื่อแพทย์มี disruptive behaviors ต่อผูร้ ่ วมงาน (Code of conducts)
5. - มีตารางคานวณ dose ยาที่เป็ น weight-based ล่วงหน้า
- มีระบบ computer ที่ช่วยคานวณยา
- มีเภสัชกรช่วย confirm การคานวณ dose ยา
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
VI สิ่ งแวดล้ อมในการทางานไม่ เหมาะสม
- แสงสว่างไม่เพียงพอ
- มีเสี ยงดังรบกวน
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
VI จัดการสิ่ งแวดล้ อมในการทางานให้ เหมาะสม
- มีแสงสว่างเพียงพอ
- ไม่มีเสี ยงรบกวน
Prescribing Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
VII บ่ งชี้ตวั ผู้ป่วยผิดพลาด (Mis-identification of patient)
- จาคนผิด
- เขียนเวชระเบียนผิดเล่ม
Prescribing Errors
แนวทางการป้องกัน
VII มีมาตรการในการบ่ งชี้ตวั ผู้ป่วยให้ ถูกต้ อง
(Correct identification of patient)
1. ใช้ 2 ตัวบ่งชี้ (2 identifiers) เช่นชื่อ นามสกุล และวันเดือนปี เกิดหรื อ
Hospital Number
2. ห้ ามใช้ หมายเลขห้อง หรื อ เตียงเป็ นตัวบ่งชี้
3. ใช้ป้ายข้อมือประกอบในการบ่งชี้โดยเฉพาะผูป้ ่ วยเด็ก ผูป้ ่ วย coma หรื อสับสน
4. ใช้รูป และ/ หรื อ bar code ประกอบ
5. ทบทวน 2 ตัวบ่งชี้ทุกครั้งที่ให้บริ การโดยให้ผปู ้ ่ วยแจ้งชื่ อ วันเดือนปี เกิด
ของตนเอง
Monitoring Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
1. ขาดการประเมินติดตามการตอบสนองทางคลินิก
ต่ อยาที่ให้ รวมทั้งการมีปฏิกริ ิยาที่ไม่ พงึ ประสงค์
เช่น ให้ยากลุ่ม Opioid หรื อ Sedative แล้วไม่ได้
Monitor respiratory rate หรื อ O2 Sat
Monitoring Errors
แนวทางป้ องกัน
1. มีการ Monitor อาการ และ follow up คนไข้อย่างใกล้ชิด
*แนะนาผูป้ ่ วยให้รายงาน ถ้ามีอาการผิดปกติเมื่อได้ยา
Monitoring Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
2. ขาดการตรวจทางห้ องปฏิบัตกิ าร ผลของยาที่มีต่อ
การทางานของระบบต่ างๆ ในร่ างกาย
ตัวอย่าง เช่น การตรวจ BUN, creatinine
เมื่อใช้ nephrotoxic drugs, การเจาะ Liver function tests
เมื่อใช้ยากลุ่ม statin หรื อการเจาะblood level ของยา เป็ นต้น
Monitoring Errors
แนวทางป้ องกัน
2. มี Protocol สาหรับ laboratory monitoring
blood levels, kidney function หรื อ liver function
และ lab tests อื่นๆ ตามความจาเป็ น
Monitoring Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
3. Technique การเจาะเลือดไม่ ถูกต้ อง
เช่น เจาะจาก existing IV Line ทาให้ผล lab
คลาดเคลื่อน
Monitoring Errors
แนวทางป้ องกัน
3. มีเทคนิคที่ถูกต้องในการเจาะเลือด
หรื อ body fluid อื่นๆ เพื่อทา laboratory tests
Monitoring Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
4. นักเทคนิคการแพทย์ และ พยาบาลไม่ ได้ รายงาน
critical lab results อย่ างทันท่ วงที
Monitoring Errors
แนวทางป้ องกัน
4. มี protocol กาหนดเวลาที่จะต้อง report critical
lab results ต่อแพทย์ผรู ้ ักษาให้ทนั ท่วงที
Monitoring Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
5. แพทย์ ไม่ ได้ review ผล Labs เมื่อสั่ งตรวจแล้ ว
Monitoring Errors
แนวทางป้ องกัน
5. แพทย์ตอ้ งทบทวนผล labs และลงบันทึกว่า
ได้ review lab results แล้ว และ ดาเนินการ
ต่ออย่างไร
Monitoring Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
6. ไม่ มี protocol ในการใช้ และ monitor
ยากลุ่มเสี่ ยงทีส่ าคัญ
Monitoring Errors
แนวทางป้ องกัน
6. มี protocol เกี่ยวกับการใช้ และ monitor ยากลุ่มเสี่ ยงที่สาคัญ
6.1 ยากลุ่ม sedatives ที่ใช้ในการทา conscious, moderate,
และ deep sedation
6.2 insulins
6.3 narcotics
6.4 anticoagulants
Monitoring Errors
ประเด็นความเสี่ ยง
7. องค์กรไม่มีการ monitor medication errors incidents
Monitoring Errors
แนวทางป้ องกัน
7. องค์กรมีการสุ่ มตรวจสอบ medication error incidents
มีการทา incident reports, root cause analysis และ
corrective actions
The End
Thank You