พญ.ศุภมาศ อำพล

Download Report

Transcript พญ.ศุภมาศ อำพล

แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคเรือ้ รังในชุมชน
แพทย์หญิงศุภมาส อาพล
วันที่ 4 มีนาคม 2557
โรงแรมคุม้ ภูคา เชียงใหม่
โรคเรือ้ รังทีพ่ บได้บอ่ ยในเวชปฏิบตั ิ
โรคความดันโลหิตสูง
Hypertension
โรคเบาหวาน
Diabetes Mellitus
โรคไขมันในเลือดสูง
การใช้ยาอื่นๆ
Dyslipidemia
Rational Drug Use
ยารักษาความดันโลหิตสูง
D
A
A
C
ยารักษาความดันโลหิตสูง
• A : ACEIs, ARBs
• B : Beta-blocker
• C : CCBs
• D : Diuretics
A : ACEIs, ARBs
• Enaril (5,20), Losartan
• ใช้ ACEIs
ARBs
ก่อนถ้า ไอ ค่อยเปลี่ยนใช้
• ข้อควรระวัง
–Renal function - GFR
ลดลง >30% in 4 mo
–Hyperkalemia >5.5 mmol/L
•
ACEIs
กลไกการออกฤทธ์ ิ (Mechanism of action)
– ยับยัง้ เอนไซม์ในร่างกายที่ มีชื่อว่า angiotensin
converting enzyme
– ทาให้หลอดเลือดจะขยายตัวออก
ทาให้ความดัน
โลหิตลดลง
• Captopril, Enalapril, Fosinopril,
Cilazepril, Perindopril, Quinapril,
Ramipril, Lisinopril
ACEIs
• ประโยชน์ ในทางคลินิก(Clinical use)
–
ใช้เป็ นยาลดความดันโลหิต
–
ใช้รกั ษาภาวะหัวใจล้มเหลวในผูป้ ่ วยกล้ามเนื้ อหัวใจตาย
เฉี ยบพลันโดยเฉพาะในกลุ่มที่การบีบตัวของหัวใจห้อง
ล่างซ้ายน้ อยกว่า
–
40%
ใช้ป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนทางไตในผูป้ ่ วยเบาหวาน
ACEIs
•
อาการข้างเคียง(Adverse drug
reactions)
– ที่พบบ่อยมากคือ
นานถึง
3
อาการไอบางครัง้ อาจมีอาการไออยู่
สัปดาห์หลังหยุดยา
– ความดันโลหิตตา่ อาจทาให้มีอาการหน้ ามืดได้
ACEIs
ข้อห้ามในการใช้(Contraindications)
• ไตวายรุนแรง
• ระดับโปตัสเซี ยมในเลือดสูง
• โรคเส้นเลือดแดงที่ไตตี บทัง้ สองข้าง
• โรคลิ้นหัวใจเอออร์ติคตี บรุนแรง
• โรคหัวใจโตชนิดhypertrophic obstructive
cardiomyopathy
•
ไม่ควรใช้ในผูท้ ี่ตงั ้ ครรภ์เพราะอาจทาให้ทารกพิการได้
B : Beta-blocker
•
แบ่งเป็ น
2
กลุ่มใหญ่คือ
– Non-selective blockers :
ยับยัง้ ทัง้ β1และβ2
receptor
ได้แก่ Propanolol (10) (40)
– Selective β1 blockers หรือ cardioselective betablockers ได้แก่ Atenolol (50) (100)
•
ห้ามใช้
: COPD, asthma, 2nd ,3rd AV block
C : CCBs
• Nifedipine (10) (20)
• Amlodipine (5)
• Manidipine
•
ห้ามใช้ในผูท้ ี่มีหวั ใจล้มเหลว(Congestive heart
failure)
D : Diuretics
• Thiazide
– Hydrochlorothiazide(HCTZ) (25) (50)
• Loop diuretic
– Furosemide (Lasix) (40) (500)
• Potassium-Sparing Diuretics
– Spironolactone (Aldactone) (25) (100)
– Amiloride hydrochloride(5) +Hydrochlorothiazide
(HCTZ) (50)
D : Diuretics
•
ห้าม
- ให้ผป
ู้ ่ วยโรคเก๊าท์
- ระวัง hyponatremia, hypokalemia
D
A
A
C
• First line drugs : A /C / D (thiazide)
•
จะใช้
B
เป็ นยาขนานแรกก็ต่อเมือ่ มีข้อบ่งใช้ชดั เจนได้แก่
– โรคหัวใจและหลอดเลือด (CAD)
– Tachyarrhythmia
– แพ้หรือมีข้อห้ามใช้ ACEIs,ARB
– สตรีวย
ั เจริญพันธุ์
– มีการกระตุ้นของระบบประสาท sympathetic
หากใช้ B เป็ นยาขนานแรก ยาชนิดที่2ที่จะเพิ่มเข้าไปควร
เป็ น C มากกว่า D
Questions
•
•
•
•
•
1
นายแก้วมาอายุ 70 ปี ทาสวนลาไย
ไม่เคยมีโรคประจามาก่อน น้ องชาย
เป็ นโรคหลอดเลือดสมองเมื่อ 5 ปี
ก่อน
วัดความดันที่ รพ.สต. 3 วันก่อน
ได้ 168/100 mmHg
วันนี้ มาวัดความดันซา้ ได้ 160/95
A. Enaril
ไม่มีอาการผิดปกติอื่น
ท่านจะให้การรักษาด้วยยาใดเป็ น
ขนานแรก
E. Losartan
mmHg
B. Atenolol
C. Amlodipine
D. HCTZ
• 1
สัปดาห์ต่อมา นายแก้วมา
กลับมาด้วยเรื่องข้อเท้าสองข้าง
A. Enaril
B. Atenolol
บวม เป็ นหลังจากเริ่มกินยาความ C. Amlodipine
•
ดันที่ได้ไป ไม่มีผนื่ ตามตัว นอน
D. HCTZ
ยกขาสูงแล้วอาการบวมดีขนึ้
E. Losartan
ท่านจะทาอย่างไร
F. Other
2
•
นางลาดวน อายุ
•
วัดความดันได้
• 3
53
150/100 mmHg
เดือนก่อนเคยวัดความดัน
150/100 mmHg
•
ปี ปวดศีรษะ
เช่นกัน ที่ รพ.
A. Enaril
B. Atenolol
C. Amlodipine
D. HCTZ
สต.ให้ควบคุมอาหารออกกาลังกาย
E. Losartan
นางลาดวนก็ทาตามที่ได้รบั คาแนะนา
F. Other
วันนี้ ท่านจะให้การรักษาอย่างไร
• 2
สัปดาห์ต่อมานางลาดวนนาง
ลาดวนไอแห้งไม่มีไข้ ไม่มีน้ามูก
กินยาแก้ไอก็ไม่ดีขึน้
•
ท่านจะทาอย่างไร
A. Enaril
B. Atenolol
C. Amlodipine
D. HCTZ
E. Losartan
F. Other
3
•
นายหล้าอายุ 58 ปี รับราชการครู
A. Enaril
•
เป็ นคอพอกเป็ นพิษรักษามา
B. Atenolol
1
ปี วันนี้
C. Amlodipine
มารับยาตามนัด
•
ความดัน 170/105 mmHg
PR 100
regular
•
ไม่มีอาการผิดปกติอื่นไม่ดื่มชาหรือกาแ
•
ท่านจะทาอย่างไร
D. HCTZ
E. Losartan
F. Other
ยารักษาโรคเบาหวาน
การใช้ยา
Obesity and Co-morbidities
GPZ/GB
ยารักษาโรคเบาหวาน
Diabetes Mellitus
ยากิน
แบ่งเป็ น 3 กลุ่มตามกลไกการออกฤทธ์ ิ
1. Insulin secretagogue กระตุ้นการหลังอ
่ ิ นซูลินจากตับอ่อน
I. Oral hypoglycemic drugs
1. Sulfonylurea
2. Non- Sulfonylurea (Glinide)
3. GLP-1(Glucagon like polypeptide-1)
2. Insulin sensitizer ลดภาวะดื้ออินซูลิน
1. Biguanide
2. thiazodinedione(Glitazone)
3. Alpha-glucosidase inhibitor ลดการดูดซึมกลูโคสที่ลาไส้
II. Insulinยาฉี ด
Oral hypoglycemic drugs
Sulfonylurea
Glipizide,
Glibenclamide
Non- Sulfonylurea
(Meglitinides)
GLP-1
Repaglinide
Biguanide
Thiazodinedione(Glit
azone)
Alpha-glucosidase
inhibitor
DPP-4 inhibitor
(Gliptin)
Metformin
Pioglitazone
Acarbose, Voglibose
Sulfonylurea
• Long Acting:
Chlorpropamide
Glibenclamide
• Short Acting:
Tolbutamide
Glipizide
Gliclazide
Gliquidone
Sulfonylurea : GB,GPZ
•
ระวัง
– Hypoglycemia
–
–
•
ปัจจุบนั ยา Chlorpropamide
–
–
•
น้าหนักตัวเพิ่มขึน้
ผูท้ ี่แพ้ซลั า, G6PD deficiency
ไม่นิยมใช้เนื่ องจากเป็ นยาที่ออกฤทธ์ ิ ยาว
hypoglycemia ในผูป
้ ่ วยสูงอายุได้บอ่ ย
ดังนัน้ ในผูส้ งู อายุแนะนาใช้
GPZ
Biguanide : Metformin
•
ข้อดี
–
ไม่ทาให้เกิด
hypoglycemia (ถ้าใช้ชนิดเดียว)
–
น้าหนักตัวจะไม่เพิ่มขึน้ หรืออาจลดลงในบางราย
•
ผลข้างเคียงที่พบบ่อยได้แก่ เบือ่ อาหาร ลิ้นไม่รบั รส คลื่นไส้ ท้องเสีย ไม่สบาย
ท้อง แต่อาการจะดีขึน้ ได้เองเมื่อใช้ยาติดต่อกันไปสักระยะ
•
ผลข้างเคียงที่สาคัญคือ
•
ควรหลีกเลี่ยงการใช้ในผูป้ ่ วยที่มี renal insufficiency ( serum creatinine
มากกว่า 1.5 มก./ดล.) หรือในผูป้ ่ วยที่มีโรคที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ lactic
acidosis เช่น โรคตับ โรคหัวใจล้มเหลว เป็ นต้น
lactic acidosis
Thiazodinedione :
Pioglitazone
•
•
ผลเสีย ได้แก่
– ทาให้น้าหนักเพิ่มขึน
้ เนื่ องจากการคังของน
่
้า
– ระดับ hemoglobin ลดลง (hemodilution)
– เพิ่มความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนและกระดูกหัก
– ทาให้เกิดตับอักเสบได้
ผูป้ ่ วยทุกรายที่ได้รบั ยากลุ่มนี้ ควรได้รบั การตรวจเอนไซม์ตบั
ก่อนการใช้ยาและภายหลังได้รบั ยาเป็ นระยะและถ้าระดับ
เอนไซม์ตบั มีค่าสูงขึน้ กว่าค่าปกติเกิน 2 เท่าควรหยุดยา
Alpha- glucosidase inhibitor
• Acarbose(Glucobay)และ Voglibose(Basen)
•
ข้อดี
–
ไม่มี systemic side effects (ถูกดูดซึมเข้าร่างกายน้ อยมาก)
– ไม่เปลี่ยนแปลงน้าหนักตัว
•
•
ผลข้างเคียงที่พบบ่อยได้แก่ ท้องอืด แน่ นท้อง ผายลมบ่อย
ถ่ายเหลว ปวดท้อง โดยเฉพาะถ้าได้รบั ยาในขนาดสูง
เหมาะกับผูท้ ี่ควบคุมน้าตาลหลังอาหารไม่ได้
Summary
ชื่อยา
ขนาดยาต่อวัน (มก.)
จานวนครัง้ ต่อวัน
ระยะเวลาออกฤทธ์ ิ
( ชัวโมง
่
)
Glibencamide
2.5 – 20
1 – 2
12 – 24
Glipizide
2.5 – 30
1 – 2
12 – 18
Metformin
500 – 3,000
2 – 3
5-6
Pioglitazone
15-45
1
week
พร้อมอาหาร
ทุกมือ้
2-4
Acarbose
50 –100
(ต่อมือ
้ )
มก.
การปรับยา/เพิม่ ยา
•
ยากลุ่มแรก

ขนาดที่เกินครึ่งหนึ่ งของยาสูงสุด
(ระดับน้ าตาลยังไม่สามารถควบคุมให้ถึงเกณฑ์ที่ต้องการ)
•
เพิ่มยากลุ่มที่สอง

อาจใช้ยากลุ่มอื่นที่ออกฤทธ์ ิ ต่างกัน
(เข้ามาเสริมเพื่อลดระดับน้ าตาลได้)
•
ดังนัน้ สามารถใช้ยามากกว่า 2 ชนิดร่วมกันในการรักษา
ผูป้ ่ วยได้โดยควรเลือกใช้ยาที่ออกฤทธ์ ิ ต่างกัน
Insulin
ข้อบ่งชี้
•
สามารถใช้ได้ในทุกกรณี ที่มีภาวะน้าตาลในเลือดสูง
•
ข้อบ่งชี้จาเพาะ ได้แก่
–
เบาหวานชนิดที่
–
โรคตับอ่อน
–
ภาวะdiabetic ketoacidosis, hyperosmolar non-acidotic diabetes
–
ภาวะตัง้ ครรภ์, ภาวะแพ้ยาเม็ด, ภาวะเครียด, ภาวะติดเชื้อรุนแรง
–
ตับและไตวาย
1
ข้อห้ามให้อินสุลิน
•
การฉี ดอินสุลินไม่มีข้อห้าม ยกเว้น กรณี แพ้ยาอย่าง
รุนแรง ซึ่งพบได้น้อยมาก
•
ในภาวะดื้อยาต่ออินสุลิน และมีภาวะน้าตาลในเลือดสูง
ควรหาสาเหตุแล้วแก้ไขตามเหตุ เช่น ผูป้ ่ วยที่อ้วนมาก
ควรพยายามลดน้าหนักหรือกินยาเม็ดก่อน เมือ่ ไม่ได้ผล
จึงควรฉี ดยา
ผลข้างเคียง
•
ภาวะน้าตาลในเลือดตา่
• Lipodystrophy
•
ภาวะแพ้ยา
•
ในระยะแรกๆ
–
อาจมีอาการบวมเนื่ องจากมีการเก็บกักโซเดียมเพิ่มขึน้
–
อาจมีอาการตามัวมากขึน้ เนื่ องจากการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของกลูโคส
ใน aqueous humor ภายในตา
–
น้าหนักตัวเพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็ว
Questions
•
•
นางมะลิ อายุ 52 ปี อาชีพค้าขาย รู้สึก
ว่าช่วงนี้ น้าหนักลด ปัสสาวะบ่อย
มารดาและน้ องสาวเป็ นเบาหวาน กลัว
ว่าตนเองจะเป็ นด้วยจึงมาตรวจ
(NPOมาแล้วจากบ้าน)
• FBS 200 mg/dl , 250 mg/dl
• BP 150/90 mmHg, 150/100
mmHg
• BMI 25 kg/m2
• Serum Cr 1.2 , K = 3.7
• TC 250 ,TG 300
A. Metformin
B. Glipizide
C. Glibenclamide
D. Acarbose
E. Pioglitazone
F. Other
•
•
นางมะลิอายุ 52 ปี อาชีพค้าขายรู้สึก
ว่าช่วงนี้ น้าหนักลด ปัสสาวะบ่อย
มารดาและน้ องสาวเป็ นเบาหวานกลัวว่า
ตนเองจะเป็ นด้วยจึงมาตรวจ
(NPOมาแล้วจากบ้าน)
• FBS 200 mg/dl , 250 mg/dl
• BP 150/90 mmHg, 150/100
mmHg
• BMI 25 kg/m2
• Serum cr 1.2 , K = 3.7
• TC 250 ,TG 300
A. Enaril
B. Atenolol
C. Amlodipine
D. HCTZ
E. Losartan
F. Other
ยารักษาไขมันในเลือดสูง
DLP
•
ปัจจุบนั ยาลดไขมันที่ใช้มีหลายกลุ่ม
• Resin
ทาหน้ าที่ดึงโคเลสเตอรอลออก โดยยับยัง้ การดูดซึม
น้าดีกลับ
•
ยาที่ลดการสร้างโคเลสเตอรอลคือ statins
•
ยาที่เพิ่มการเผาผลาญโคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์
ได้แก่ statins, fibrates และnicotinic acid
•
•
•
ยากลุ่ม statins เป็ นยาที่ออกฤทธ์ ิ ดีที่สดุ สาหรับผู้
ที่มีระดับ Toal cholesteral สูง
แต่ผทู้ ี่เป็ น combined hyperlipidemia คือ
TC และ TG สูงร่วมกัน ยากลุ่ม fibrates และ
nicotinic จะได้ผลดี
การใช้ fibrate จะมีผลต่อ Triglyceride
ผลข้างเคียงจากยา
•
•
•
•
ส่วนใหญ่ทาให้เกิดอาการแน่ นท้อง คลื่นไส้ ท้องเสีย
Resin ทาให้เกิดอาการท้องผูกได้มาก
Statins, fibrates ทาให้ตบ
ั อักเสบ หรือปวดเมื่อยกล้ามเนื้ อจนเดินไม่
ไหว โดยเฉพาะเมื่อใช้ในผูป้ ่ วยที่มีปัญหาตับและไตทางานไม่ดีหรือมีการ
ใช้ยาร่วมกันในขนาดสูง
Fish oil concentrate ทาให้ platelet aggregration ลดลง เกิดจา้
เลือดง่าย โดยเฉพาะหากใช้ร่วมกับ aspirin หรือยา anti-platelet
aggregration
Questions
•
•
นางมะลิอายุ 52 ปี อาชีพค้าขาย
รู้สึกว่าช่วงนี้ น้าหนักลด ปัสสาวะ
บ่อย แพทย์วินิจฉัยเป็ น
โรคเบาหวานและความดันโลหิต
สูง
วันนี้ มาตรวจตามนัด พบว่า
– FBS 200 mg/dl
– BP 150/100 mmHg
– BMI 25 kg/m2
• TC 210 ,TG 300 ,LDL 200
A. Simvastatin
B. Gemfibrozil
C. Fish oil
D. Cholestyramine
E. Rosuvastatin
F. Other
•
นางมะลิ มาF/U ตามนัดอีก4สัปดาห์
A. Metformin
– FBS 200 mg/dl
– BP 140/90mmHg
•
•
ปรับเพิ่ม
อาหาร
MFM(500) 1x3
นัดตรวจอีก
4
สัปดาห์
– FBS 190 mmHg
•
ท่านจะทาอย่างไรต่อไป
เน้ นยา้ เรื่อง
B. Glipizide
C. Glibenclamide
D. Acarbose
E. Pioglitazone
F. Other
•
นางมะลิมาF/Uตามนัดอีก4
สัปดาห์
• BP 140/90mmHg
•
นัดตรวจอีก
4
สัปดาห์
– BP 145/90mmHg
•
ท่านจะทาอย่างไรต่อไป
A. Enaril
B. Atenolol
C. Amlodipine
D. HCTZ
E. Losartan
F. Other
Rational Drug Use
ภาพนี้ ...เหมาะสมหรือไม่
ภาพนี้ ...เหมาะสมหรือไม่
ภาพนี้ ...น่ าจะเป็ นข่าวอะไร
• ผู้สั่ งยาทุกทานควรหลี
กเลีย
่ งการสั่ งพาราเซตามอลชนิด 500 มิลลิกรัมตอ
่
่
เม็ด เพือ
่ ลดความเสี่ ยงตอการเกิ
ดพิษตอตั
่
่ บของผู้ป่วย
• โดยพยายามสั่ งใช้พาราเซตามอลชนิด 325 มิลลิกรัมให้บอยขึ
น
้
่
– หากใช้ยาชนิด 500 มก. ครัง้ ละ 2 เม็ดควรใช้กับผูใหญ
ที
่ น
ี ้าหนักตัวตัง้ แต่
้
่ ม
67 กก. ขึน
้ ไป (ไมเกิ
่ น 15 มก./กก)
– หากใช้ยาชนิด 500 มก. ครัง้ ละ 2 เม็ดควรใช้หางกั
นทุก 6 ชัว
่ โมง ไมเกิ
่
่ น
6 เม็ด (3 กรัมตอวั
่ น)
• เนื่องจากหากใช้ติดตอกั
่ าให้เอนไซม ์
่ น 14 วัน จะมีการอักเสบของตับ ทีท
ตับเพิม
่ ขึน
้ มากกวา่ 3 เทา่
ขนาดยาสูงสุดตอวั
่ วรพิจารณาคือ
่ นทีค
ก. ถาใช
้
้ยาชนิด 500 มก.ตอเม็
่ ด ไมควรใช
่
้เกิน 6 เม็ดตอวั
่ น (ไมเกิ
่ น 3
กรัมตอวั
่ น)
ข. ถาใช
้
้ยาชนิด 325 มก. ตอเม็
่ ด ไมควรใช
่
้เกิน 10 เม็ดตอวั
่ น (ไมเกิ
่ น
3.250 กรัมตอวั
่ น)
ค. หากใช้ระยะยาว (ในโรคเรือ
้ รัง) อาจปรับลดขนาดยาสูงสุดเป็ นไมเกิ
่ น
2.6 กรัมตอวั
่ น (ไมเกิ
่ น 8 เม็ดของยาชนิด 325 มก.)
เกิดอะไรขึน้ ...กับเคสนี้
• ขนาดยาในการบรรเทาอาการปวด บวม แดง
รอน
ของขอจากโรคเก
้
้
๊ าท ์
– Flare treatment: Initial: 1.2 mg at the first sign of
flare, followed in 1 hour with a single dose of 0.6
mg (maximum: 1.8 mg within 1 hour).
– หลังจากนั้นอาจให้แบบ prophylaxis ดวยขนาดยา
้
ดังนี้
Prophylaxis: 0.6 mg once or twice daily;
maximum: 1.2 mg/day
– ในผู้สูงอายุและไตเสื่ อมตองปรั
บขนาดยา
้
• reduce prophylactic daily dose by 50% in individuals
>70 years
• Clcr <30 mL/minute: Initial dose: 0.3 mg/day
ยาไฮโซ...ที่หลายๆท่านนิยมใช้กนั
Latest glucosamine sulfate evidence
งานวิจยั ล่าสุดทีท่ ุกคนรอคอย (LEGS study)
ระบุวา่ กลูโคซามีนซัลเฟตมีประสิทธิผลไม่แตกต่าง
จากยาหลอกในการชะลอการเสือ่ มของข้อ เมือ่
พิจารณาจากการแคบของช่องว่างระหว่างข้อ
(joint space narrowing)
* เรื่อง pain ก็ได้ผลไม่แตกต่างจากยาหลอก
เช่นเดียวกัน ซึง่ จะนาข้อมูลมาแสดงในลาดับต่อไป
Rational Drug Use in Chronic Disease
ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
Rational Drug Use in HT
Drug
Initial
Target
จานวนครัง้
Enalapril(5,20)
5
20
1-2
Atenolol(50,100)
25-50
100
1
Amlodipine(5,10)
2.5
10
1
HCTZ(25,50)
12.5-25
25-100
1-2
JNC 8 Target
•
เป้าหมายการรักษาภาวะความดันเลือดสูง (โปรดพิจารณาความ
แตกต่างจาก JNC 7)
ในผูส้ งู อายุ (อายุตงั ้ แต่ 60 ปีขน้ึ ไป) เป้าหมาย BP < 150/90
มม.ปรอท
– ในผูม
้ อี ายุต่ากว่า 60 ปี เป้าหมาย BP < 140/90 มม.ปรอท
–
(expert recommendation)
ในผูป้ ว่ ยเบาหวานและโรคไตเรือ้ รัง (CKD) เป้าหมาย BP < 140/90
มม.ปรอท (expert recommendation)
– สาหรับผูป
้ ว่ ยโรคไตเรือ้ รัง (CKD) ควรเริม่ การรักษา (หรือเพิม่ เติมเข้าไป
ในกระบวนการรักษา) ด้วย ACEI หรือ ARB เพือ่ ให้ผลลัพธ์การรักษา
โรคไตดีขน้ึ (สาหรับแพทย์ทท่ี ราบแล้วว่าผูป้ ว่ ยเป็ น CKD มาก่อน)
–
ยารักษาไขมันในเลือดสูง
clinical atherosclerotic
cardiovascular disease
(ASCVS) ซึ่งประกอบด้วย
•Acute coronary syndromes
•History of MI, stable or
unstable angina, coronary
arterial revascularization
•Stroke, TIA, or peripheral
arterial disease
การประเมินความเสีย่ งต่อการเป็ นโรคหัวใจ
(โรคหลอดเลือดแดงแข็ง) ใน 10 ปี เรียกว่า
10-year ASCVS risk (global risk assessment)
เพศชาย
เพศหญิง
ความเสีย่ ง 2.6%
หมายความว่า ในกลุม่
ประชากรทีม่ รี ะดับไขมันใน
เลือดสูงและไม่มโี รค
ประจาตัวลักษณะเดียวกันนี้
100 คน ภายใน 10 ปี
ข้างหน้า จะมีคน 2.6(3)
คน เป็ นโรคหลอดเลือด
หัวใจหรือโรคหลอดเลือด
หากทานยาไขมันจนมีระดับเลือดเป็นปกติ จะมีความเสีย่ งลดลงเหลือ 1.7%(ลดลง 1%)
หมายความว่าการนาประชากรกลุ่มนี้ 100 คน มาทานยาลดไขมันจะช่วยไม่ให้เกิดโรคหลอดเลือด
ได้ลดลง 1 คน โดยคนอีก 99 คนทีเ่ หลือ ต้องทานยาโดยไม่ได้รบั ประโยชน์ใดๆไปนานอย่าง
น้อย 10 ปี แต่ได้รบั ความเสีย่ งจากผลข้างเคียง เสียค่ายาไปโดยไม่จาเป็น ทีส่ าคัญคือแพทย์ได้
เปลีย่ น “บุคคลปกติ”เหล่านัน้ ให้กลายเป็น “ผูป้ ว่ ย” ทีต่ อ้ งไปโรคพยาบาลเพือ่ รับยาตามแพทย์
นัด
ยารักษาโรคเบาหวานกับการให้
ASA
American Diabetes
Association (ADA) 2013
•
แนะนาให้ใช้
aspirin
ในขนาด
– ASA(81) 1-2 tab, OD
75-162
มิลลิกรัม
ผูป้ ว่ ยเบาหวานทีม่ คี วามเสีย่ งต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10
ปี (10-year risk) มากกว่า 10%
– ผูช
้ ายอายุตงั ้ แต่ 50 ปี, ผูห้ ญิงอายุตงั ้ แต่ 60 ปี และมีปจั จัยเสีย่ งต่อ
โรคหัวใจและหลอดเลือดทีส่ าคัญ(major risk factor)อย่างน้อย 1 ข้อ
–
•
•
•
•
•
ประวัตโิ รคหัวใจและหลอดเลือดในครอบครัว
มีความดันเลือดสูง
สูบบุหรี่
มีไขมันสูงในเลือด
มีไข่ขาวรัวในป
่ สั สาวะ
THANK YOU