คลื่นความร้อน - เกี่ยวกับ CSSC

Download Report

Transcript คลื่นความร้อน - เกี่ยวกับ CSSC

คลื่นความร้อน
จัดทาโดย
นาย วสันต์ สุ ดหา
่นาเสนอ
หัวข้หัอวข้ทีอ่นทีาเสนอ
ปรากฏการณ์ คลื่นความร้อน
ดัชนีค่าความร้อน
บริ เวณแหล่งเกิดคลื่นความร้อน
ผลกระทบที่เกิดจากคลื่นความร้อน
ข้อปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภัย เมื่อเกิดคลื่นความร้อน
โอกาสการเกิดปรากฏการณ์คลื่นความร้อนในประเทศไทย
ปรากฏการณ์ คลื่นความร้อน
คลื่นความร้อนเกิดขึ้น จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ ของบริ เวณความกดอากาศสูง-บนชั้นสูงโดย
ร่ วมกับความกดอากาศสูงบริ เวณพื้นผิวโลก เกิดหยุดนิ่ง ด้วยตัวของตัวเอง
อากาศร้อนจัดที่สะสมอยูพ่ ้นื ที่บริ เวณหนึ่ง ประกอบกับความชื้นในบรรยากาศเหลือค้างอยูส่ ูง
ส่ งผลให้มีอุณหภูมิสูง ความชื้นสูง พร้อมๆกัน
คลื่นความร้อน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
แบบสะสมความร้ อน เกิดในพื้นที่ซ่ ึงสะสมความร้อนเป็ นเวลานาน อากาศ
แห้ง ลมนิ่ง ทาให้ความร้อนจากแสงอาทิตย์ไม่เคลื่อนที่ เมื่ออุณหภูมิร้อน
สะสมหลายวันจะเกิดคลื่นความร้อนมากขึ้น
แบบพัดพาความร้ อน เกิดขึ้นแถวทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เกิดจากลมแรงหอบ
ความร้อนจากทะเลทรายขึ้นไปในเขตหนาว มักเกิดในยุโรป แคนาดาตอน
ใต้
นิยามคาว่า คลื่นความร้อน
ไม่ได้มีการกาหนดเป็ นสากล แต่จะกาหนดจาก การอ้างอิงระดับ ดัชนีค่า
ความร้อน โดยขึ้นอยูก่ บั กฎเกณฑ์แต่ละประเทศ และ แต่ละภูมิภาค เช่น
ประเทศอเมริ กามีดชั นีค่าความร้อน เกินกว่า 105°F(40.6°C) และ
ผลของความร้อนติดต่อกันอย่างน้อย 48 ชัว่ โมง
เมือง Dallas รัฐ Texas กาหนด ดัชนีค่าความร้อนที่ 100°F
(37.8°C) ติดต่อกัน 3 วัน
ดัชนีค่าความร้อน
ดัชนีค่าความร้อนหมายถึง จานวนองศาเซลเซี ยสหรื อฟาเรนไฮต์ที่บอกถึงอากาศ
ร้อนอย่างไร ซึ่ งเป็ นความรู ้สึกจริ งๆของคนที่สัมพันธ์กบั อุณหภูมิ และความชื้น
ดัชนีการวัดค่าความร้อนที่แท้จริ งที่เรารู้สึกสื บเนื่องมาจากผลของ
ความชื้นในสภาวะของอุณหภูมิสูง ร่ างกายของคนเราจะรู้สึกร้อนกว่า
อุณหภูมิที่วดั ได้จากเทอร์โมมิเตอร์
ตัวอย่าง
 ระดับอุณหภูมิในอากาศ 36°C ค่าความชื้นสัมพัทธ์ 40% ในตารางแสดง
ดัชนีค่าความร้อน เท่ากับ 38°C เป็ นระดับความรู ้สึกจริ งที่ร่างกายได้รับความ
ร้อน คือ 38°C
(ซึ่ งเป็ นระดับ แจ้งเตือนร้ายแรง)
 ทานองเดียวกัน ระดับอุณหภูมิในอากาศ 36°C (เท่าเดิม) แต่คา่ ความชื้น
สัมพัทธ์ เป็ น 75% ในตารางแสดง ดัชนีค่าความร้อนเท่ากับ 56 °C เป็ น
ระดับความรู ้สึกจริ งที่ร่างกายได้รับความ ร้อน คือ 56 °C
(ซึ่ งเป็ นระดับ อันตรายร้ายแรง)
ดัชนีค่าความร้อน
ตารางแสดงความเป็ นไปได้ จากอันตราย อ้างอิง ดัชนีค่าความร้ อน
ลาดับชั้น
อันตรายร้ายแรง
Extreme Danger
อันตราย
Danger
แจ้งเตือนร้ายแรง
Extreme Caution
ค่ าความร้ อน
Heat index
130°F หรื อมากกว่า
54°C หรื อมากกว่า
105-129°F
41-54°C
90-105°F
32-41 °C
80-90°F
ความเป็ นไปได้ ในการเกิดอาการ
ขัน้ สูง เมื่อถูกผลกระทบจาก
ความร้ อน
ลมแดด
ลมแดด และ/หรื อ
เพลียแดด / ตะคริวแดด / เหนื่อย
ล้ า
ลมแดด และ/หรื อ
เพลียแดด / ตะคริวแดด / เหนื่อย
ล้ า
บริ เวณแหล่งเกิดคลื่นความร้อน
บริ เวณร้อนสุ ดของโลก เช่น El Azibya (ลิเบีย) Death valley (อเมริ กาเหนือ)
หรื อ Tirat Tsvi(อิสราเอล) Cloncurry (ออสเตรเลีย) และ Seville (สเปน) ซึ่ง
เป็ นพื้นที่ 5 อันดับร้อนสุ ดของโลก มีอุณหภูมิสูงถึง 122-136°F
ยังไม่มีรายงานการเกิดคลื่นความร้อนอย่างเป็ นทางการ
คลื่นความร้อน สามารถเกิดขึ้นได้ไม่วา่ ที่ใดก็ตาม สิ่ งที่น่าสังเกตคือ
มักเกิดขึ้นบริ เวณสถานที่ ที่มีความร้อนปกติดงั ประวัติศาสตร์ ที่ผา่ นมา
เช่นที่ Phoenixและ Arizona ในสหรัฐอเมริ กาหรื อ New Delhi
ในอินเดีย ทั้งหมดเป็ นเหตุการณ์ร้ายแรง
ความหายนะที่เกิดขึ้น จากคลื่นความร้อน
ความหายนะที่เกิดขึ้น จากคลื่นความร้อน
 จากอัตราผูเ้ สี ยชีวิต ในประเทศอเมริ กา (ระหว่าง ค.ศ.1992-2001)มีผเู้ สี ยชีวิตจาก สาเหตุคลื่นความร้อน
2,190 ราย โดยเมื่อเปรี ยบเทียบกับพายุเฮอริ เคน มีผเู้ สี ยชีวิต 150 รายและอุทกภัย มีผเู้ สี ยชีวิต 880 ราย
 ประเทศออสเตรเลีย มีรายงานที่บนั ทึกไว้โดย The Bureau of Meteorology
(Australia's national weather) ช่วงปี ค.ศ.1803-1992 มีผเู้ สี ยชีวิตจากสาเหตุ
คลื่นความร้อนโดยตรง ไม่นอ้ ยกว่า 4,287 ราย โดยตัวเลขนี้เป็ นการสูญเสี ยถึง 2 เท่า เมื่อเทียบกับการเกิดพายุ
เขตร้อน และอุทกภัยในช่วงเวลาเดียวกัน
 ค.ศ.2003 หายนะครั้งใหญ่ European heatwave ครอบคลุมพื้นที่หลายประเทศ มีระยะเวลา
ยาวนาน 9 วัน คร่ าชีวิตผูค้ นราว 35,000 คน ตัวเลขผูเ้ สี ยชีวิตเป็ นในประเทศฝรั่งเศส สูงถึง 14,802 ราย
ประเทศเยอรมันราว 7,000 ราย ประเทศสเปนและอิตาลี ราว 4,200 ราย และกว่า 2,000 รายในประเทศ
อังกฤษ และอื่นๆ
 สาหรับล่าสุด ปี ค.ศ. 2010 เกิดในประเทศอินเดีย ได้รับรายงานว่ามีผเู้ สี ยชีวิตราว
80 ราย
European ครอบคลุมพื้นที่หลายประเทศ
• บรรยากาศเมือง Chicago ฤดูร้อน ปี ค.ศ. 1995 เกิดคลื่นความร้อน 5 วัน
มีผเู ้ สี ยชีวิต 465 ราย ซึ่งก่อนหน้านั้น ในปี ค.ศ. 1988 มีผเู ้ สี ยชีวิต 77 รายจาก
คลื่น ความร้อนเช่นกัน
ผลกระทบที่เกิดจากคลื่นความร้อน
1.ไหม้ แดดหรือผิวเกรียม (Sunburn)อาการเกิดรอยแดงและปวดแสบปวดร้อน,เหงื่อผุดออกอย่าง
รุ นแรง,มีรอยพอง , ตัวร้อน,ปวดหัว
2. ตะคริวแดด (Heat cramps) อาการ หดเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ มีอาการปวดและบังคับไม่ได้ มักเป็ น
ที่น่อง ต้นขา และไหล่ หรื อในช่องท้อง
3. เพลียแดด (Heat Exhaustion)อาการกระหายน้ าอย่างมาก,อ่อนแรง,ผิวหนังเย็นหน้าซีดและเย็นซีด,
ชีพจรเต้นไม่เป็ นจังหวะ, ปวดศีรษะ, มึนงง, กระสับกระส่ าย, คลื่นไส้ ,อาเจียน
4.ลมแดด (Sunstroke/ Heat stroke) อาการอุณหภูมิร่างการสูงมาก, กระหายน้ าอย่างมาก,ผิวแห้ง,
เวียนศีรษะ, ปวดศีรษะ, อาเจียน และกล้ามเนื้อเกร็ ง
ข้อปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภัย เมื่อเกิดคลื่นความร้อน
• ให้ลดปริ มาณงาน หรื อกิจกรรมที่ทากลางแจ้ง หรื อกิจกรรมที่
เหนื่อยง่าย หากมีความจาเป็ น ให้ทาภายในร่ ม
• ให้สวมเสื้ อผ้าสี อ่อนเพื่อสะท้อนแสงอาทิตย์ (สี ทึบจะดูดแสง) เพื่อ
รักษาอุณหภูมิของร่ างกาย
• ให้รับประทานอาหาร ที่เผาผลาญภายในร่ างกายน้อย เช่น ประเภท
โปรตีน
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น สาหรับอาการลมแดด
โอกาสการเกิดปรากฏการณ์คลื่นความร้อนในประเทศไทย
 ยังไม่มีรายงานอย่างเป็ นทางการ เรื่ องปรากฏการณ์คลื่นความร้อนในประเทศไทยด้วย
เหตุผลเพราะ ประเทศไทยยังไม่มีการกาหนดเกณฑ์ของ ดัชนีค่าความร้อนต่อการพยากรณ์
 แต่กม็ ีแนวโน้มเป็ นไปได้เช่นกัน ที่จะเกิดขึ้นได้ ถ้าความชื้นจากทะเลจะพัดเข้ามาปกคลุม
ประเทศไทย ในขณะที่อากาศร้อน และบรรยากาศชั้นสู งมีอากาศหยุดนิ่งโดยปราศจาก
การแผ่มวลอากาศเย็นจากประเทศจีน ลงมาช่วยลดความร้อน
• ภาพจากกรมอุตนุ ิยมวิทยาเปรี ยบเทียบอุณหภูมิสูงสุดของวันที่ 9
พ.ค.2553 กับอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในรอบ 30 ปี ตั้งแต่ ปี 2521-2550
ปรากฏการณ์เอลนีโญ ทาให้ฝนตกหนักทวีปอเมริ กาใต้ (ตอนเหนือ)
และก่อให้เกิดความแห้งแล้ง ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลียตอนเหนือ
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
• Heat wave: Wikipedia the free
encyclopedia
• Heat Wave, American Red Cross
• http://www.sunflowercosmos.org/warning_
report/warning_report_main/heat_waves.ht
ml Heat Index heat chart
• http://www.tmd.go.th/ncct/article/Heat%20
wave.pdf