เรื่ อง จัดทำโดย นางสาวธัญญรัตน์ เคนจอหอ พนักงานราชการ ตาแหน่ งครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนบ้ านแท่ นวิทยา อ.บ้ านแท่ น จ.ชัยภูมิ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา มัธยมศึกษา เขต 30

Download Report

Transcript เรื่ อง จัดทำโดย นางสาวธัญญรัตน์ เคนจอหอ พนักงานราชการ ตาแหน่ งครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนบ้ านแท่ นวิทยา อ.บ้ านแท่ น จ.ชัยภูมิ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา มัธยมศึกษา เขต 30

เรื่ อง
จัดทำโดย
นางสาวธัญญรัตน์ เคนจอหอ
พนักงานราชการ ตาแหน่ งครูผู้สอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรียนบ้ านแท่ นวิทยา
อ.บ้ านแท่ น จ.ชัยภูมิ
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา มัธยมศึกษา เขต 30
ประวัตค
ิ วามเป็ นมา
และ
ประเทศสมาชิก
ประวัติอาเซียน
http://banchiangwit.wordpress.com
มีจุดเริ่มต้ นเมื่อเดือน ก.ค. ปี พ.ศ.
2504 โดย ประเทศไทย มำเลเซีย และ
ฟิ ลิปปิ นส์ ได้ ร่วมกันจัดตัง้ สมำคมอำสำ
หรื อ Association of South East
Asia ขึน้ เพื่อกำรร่ วมมือกันทำง
เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แต่
ดำเนินกำรได้ เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงัก
ลง เนื่องจำกควำมผันแปรทำงกำรเมือง
ระหว่ ำง ประเทศอินโดนีเซีย กับประเทศ
มำเลเซีย
AEC เป็ นการพัฒนามาจากการเป็ น สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ (The Association of South East Asian Nations
: ASEAN) ก่อตังขึ
้ ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อ
8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศผู้ก่อตังแรกเริ
้
่ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมาในปี 2527 บรูไน ก็ได้ เข้ าเป็ นสมาชิก ตามด้ วย 2538
เวียดนาม ก็เข้ าร่วมเป็ นสมาชิก ต่อมา 2540 ลาวและพม่า เข้ าร่วม และปี 2542
กัมพูชา ก็ได้ เข้ าร่วมเป็ นสมาชิกลาดับที่ 10 ทาให้ ปัจจุบนั อาเซียนเป็ นกลุม่ เศรษฐกิจ
ภูมิภาคขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้ านคน
http://www.ประเทศอาเซียน.com
จากนั้นในการประชุมสุด
ยอดอาเซียนครัง้ ที่ 9 ที่
อินโดนีเซีย เมือ
่ 7
ต.ค. 2546 ผู้นาประเทศ
สมาชิกอาเซียนไดตกลงกั
นทีจ
่ ะ
้
จัดตัง้ ประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community) ซึ่ง
ประกอบดวย3
เสาหลัก คือ
้
1.ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (Asean Economic
Community:AEC)
2.ประชาคมสั งคมและ
กฎบัตรอาเซียน
เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของ
อาเซียนทีจ
่ ะทาให้อาเซียนมี
สถานะเป็ น
นิตบ
ิ ุคคลเป็ นการวางกรอบทาง
กฎหมายและโครงสรางองค
กร
้
์
ให้กับอาเซียน โดยนอกจากจะ
ประมวลสิ่ งทีถ
่ อ
ื เป็ นคานิ
่ ยม
หลักการ และแนวปฏิบต
ั ใิ นอดีต
ของอาเซียนมาประกอบกันเป็ น
ข้อปฏิบต
ั อ
ิ ยางเป็
นทางการของ
่
ประเทศสมาชิกแลว
้ ยังมีการ
คาขวัญอาเซียน
“ One Vision, One Identity, One
Community.”
หนึ่งวิสัยทัศน์
หนึ่งอัต
ลักษณ ์
หนึ่งประชาคม
สั ญลักษณ์ อาเซียน
สั ญลักษณ์ อาเซียน คือ ต้ นข้ าวสี เหลือง 10 ต้ น
มัดรวมกันไว้ หมายถึงประเทศสมาชิกรวมกันเพือ่
มิตรภาพและความเป็ นนา้ หนึ่งใจเดียวกัน
สี
หมายถึง สั นติภาพและความมัน่ คง
สี
หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้ า
สี
หมายถึง ความบริสุทธิ์
สี
หมายถึง ความเจริญรุ่ งเรือง
บรู ไนดารุ สซาลาม
(Brunei Darussalam)
1. ทีต่ ้งั อาณาเขต
บรู ไน (Brunei) หรือ รัฐบรู ไนดารุ สซาลาม
(State of Brunei Darussalam)ตั้งอยู่
ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์ เนียว ทิศ
ตะวันออก ตะวันตกและทิศใต้ ติดเขตซาราวัก
ประเทศมาเลเซีย โดยพืน้ ที่ร้อยละ 70 เป็ นป่ าไม้
2. ขนาดพืน้ ที่
บรู ไนมีขนาดพืน้ ที่ 5,765 ตาราง
กิโลเมตร แบ่ งเป็ น 4 เขต คือ Brunei-Muara,
Belait, Temburong และ Tutong
3. ลักษณะทางภูมิประเทศ
บรู ไนอยูท่ างภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว ดิน
แดนของบรู ไนถูกแบ่งเป็ น 2 ส่วน โดยมีพ้ืนที่ของรัฐซาราวักของ
มาเลเซียกั้นไว้เป็ นภาคตะวันออก และตะวันตก แม้จะเป็ นดินแดน
เล็กๆแต่กร็ ่ ารวยที่สุดแห่งหนึ่งในทวีปเอเชีย เนื่องจากมีทรัพยากร
น้ ามันอยูม่ าก ลักษณะภูมิประเทศประกอบด้วยที่ราบชายฝั่งทะเลและ
ที่ราบ หุบเขาซึ่งเป็ นดินตะกอนที่แม่น้ าพัดมาทับถม บริ เวณที่อยูห่ ่าง
จากชายฝั่งเข้าไปภายในเกาะ ส่วนใหญ่เป็ นเนินเขา ดินแดนทางภาค
ตะวันออกมีลกั ษณะขรุ ขระและสูงกว่าตะวันตก
4. ภูมิอากาศ
ในประเทศบรูไนเป็ นภูมอิ ากาศเขตร้ อน มีอณ
ุ หภูมสิ งู ความชื ้น
สูง และ ฝนตกเกือบตลอดปี อุณหภูมปิ ระมาณ 24 -32 องศา
เซลเซียส พื ้นที่สว่ นใหญ่เป็ นป่ าไม้ เขตร้ อน อุดมด้ วยน ้ามันและก๊ าซ
ธรรมชาติ
5. เมืองหลวง
บันดาร์เสรี เบกาวัน (ภาษาอังกฤษ :
Bandar Seri Begawan) เป็ น
เมืองหลวงและเมืองท่าที่สาคัญของ
ประเทศบรู ไนอยูใ่ นเขตการปกครอง
บรู ไน-เมารา มีประชากรประมาณ
60,000 คน เดิมชื่อว่า เมืองบรู ไน
ภายหลังเมื่อบรู ไนพ้นจากการคุม้ ครอง
ของอังกฤษแล้ว จึงเปลี่ยนชื่อมาเป็ นบัน
ดาร์เสรี เบกาวัน
6. ประชากร
จานวนประชากร 300,000 คน ความหนาแน่น
ของประชากร 52 คนต่อตารางกิโลเมตร ประชาชนส่ วน
ใหญ่เป็ นชาวมาเลย์คือร้อยละ 68.8 ชาวจีนร้อยละ
18.3 ชนเผ่าต่างๆร้อยละ 5.0 ชาวอินเดียและอื่นๆ
ร้อยละ 7.9
ผูห้ ญิงบรู ไนจะแต่งกายด้วยเสื้ อผ้าที่มีสีสดใส
โดยมากมักจะเป็ นเสื้ อผ้าที่คลุมร่ างกายตั้งแต่ศีรษะจรด
เท้า ผูห้ ญิงมุสลิมจะสวมผ้าคุมศีรษะในที่สาธารณะ และ
ในสถานที่ราชการ
ผูช้ ายมุสลิม แต่งกายเป็ นทางการทั้งในสถานที่
ราชการ และที่สาธารณะ คือจะสวมเสื้ อแขนยาว ตัวเสื้ อ
ยาวถึงเข่านุ่งกางเกงขายาวแล้วนุ่งโสร่ ง
7. การเมืองการปกครอง
บรูไน ปกครองระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์
กาหนดให้ สลุ ต่านทรงเป็ นอธิปัตย์ คือเป็ นทัง้
ประมุข นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ว่าการ
กระทรวงกลาโหม นายกรัฐมนตรี จะต้ องเป็ น
ชาวบรูไนเชื ้อสายมาเลย์โดยกาเนิด และจะต้ อง
เป็ นมุสลิมนิกายสุหนี่ โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีฮจั ญี
ฮัสซานัลโบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัดเดาละห์
(His Majesty Sultan HajiHassanal Bolkiah Mu’izzaddin Waddaulah)
ทรงเป็ นสมเด็จพระราชาฯ องค์ที่ 29 เป็ นองค์พระ
ประมุขของประเทศตังแต่
้ วนั ที่ 5 ตุลาคม 2510 ซึง่ ในปี นี ้
(2551) เป็ นวาระเฉลิมฉลองพระชนมายุครบ 62 ปี
ของสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งบรูไนฯ
8. ภาษา
บรู ไนใช้ภาษามาเลย์ (Bahasa
Melayu) เป็ นภาษา
ราชการ ภาษาอังกฤษและภาษาจีนเป็ น
ภาษาที่ใช้สื่อสารแพร่ หลาย
9. ศาสนา
ชาวบรู ไนนับศาสนาอิสลามนิกาย
สุ หนี่ 67% รองลงมาเป็ นศาสนาพุทธ
นิกายมหายาน 13% ศาสนาคริ สต์ 10%
ศาสนาฮินดู ความเชื่อพื้นเมืองและอื่นๆ
10. สกุลเงิน
เงินตรา ดอลลาร์บรู ไน (Brunei Dollar) ประมาณ 1.84 ดอลลาร์บรู ไน/ 1
ดอลลาร์สิงคโปร์ หรื อประมาณ 24.8 บาท/1 ดอลลาร์บรู ไน (เงินดอลลาร์บรู ไนมีมูลค่า
เท่ากับเงินดอลลาร์ สิงคโปร์ และสามารถใช้แทนกันได้)
http://203.172.179.24/historysk1/his4/asean10.htm
คาทักทายประเทศบรู ไน
ซำลำมัต ดำตัง
สำรบัญ
http://krukanidta.wordpress.com/clipart-asean/
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
กัมพูชายังถูกจัดอยูใ่ นกลุม่ ประเทศด้ อยพัฒนาที่
มีความยากจนมากประเทศหนึง่ ดังนัน้ รัฐบาล
กัมพูชาจึงให้ ความสาคัญอย่างสูงสุดต่อการกาหนด
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศเพื่อมุง่ ขจัดความยากจน ยกระดับคุณภาพ
ชีวิตและความเป็ นอยูข่ องประชาชนโดยเฉพาะใน
พื ้นที่ชนบทให้ ดีขึ ้น ปั จจุบนั รัฐบาลกัมพูชาอยูใ่ น
ระหว่างการดาเนินการตามแผนพัฒนายุทธศาสตร์
แห่งชาติ
1. ทีตงั ้ อำณำเขต กัมพูชำมีพรหมแดนติดต่ อกับ 3 ประเทศ ดังนี ้
ทิศเหนือ ติดประเทศไทย
ทิศใต้
ติดอ่ ำวไทย
ทิศตะวันออก ติดประเทศเวียดนำม
ทิศตะวันตก ติดกับประเทศไทย
2. พืน้ ที่
กัมพูชามีขนาด กว้ าง 500 กิโลเมตร ยาว 450 กิโลเมตร มีพื ้นที่ทงหมด181,035
ั้
ตารางกิโลเมตร หรื อมีขนาดประมาณ 1 ใน
3 ของประเทศไทย
3. ลักษณะภูมิประเทศ
กัมพูชามีพื ้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบ ประกอบด้ วย ที่ราบรอบทะเลสาบเขมรและที่ราบลุ่มแม่น ้าโขง มีทิวเขาล้ อมรอบทาง
เหนือ คือ เทือกเขาพนมดงรัก เทือกเขาบรรทัด และเทือกเขาอันนัม โดยมีลกั ษณะภูมิประเทศคล้ ายชามหรื ออ่าง คือ ตรงกลาง
เป็ นแอ่งทะเลสาบ และลุ่มแม่น ้าโขงอันกว้ างขวาง มีภเู ขาล้ อมรอบอยู่ 3 ด้ าน ได้ แก่
(1) ด้ านตะวันออก มีแนวเทือกเขาอันนัมที่เป็ นพรมแดนกับประเทศเวียดนาม
(2) ด้ านเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ มีแนวเทือกเขาพนมดงรักที่เป็ นพรมแดนกับประเทศไทย
(3) ด้ านใต้ และตะวันตกเฉียงใต้ มีแนวเทือกเขาบรรทัดที่เป็ นแนวพรมแดนกับประเทศไทย โดยมีพื ้นที่เฉพาะด้ าน
ตะวันออกเฉียงใต้ เท่านันที
้ ่เป็ นที่ราบลุ่มแม่น ้าโขง
แม่ นำ้ และทะเลสำบที่สำคัญ ได้ แก่
(1) แม่น ้าโขง ไหลจากลาวเข้ าสู่ภาคเหนือของกัมพูชาแล้ วไหลผ่านเข้ าเขตเวียดนาม มีความยาวในเขตกัมพูชารวม
500 กิโลเมตร
(2) แม่น ้าทะเลสาบ เชื่อมระหว่างแม่น ้าโขงกับทะเลสาบ ความยาว 130 กิโลเมตร
(3) แม่น ้าบาสัก (Bassac) เชื่อมต่อกับแม่น ้าทะเลสาบที่หน้ าพระราชวังกรุงพนมเปญ ความยาว 80กิโลเมตร
(4) ทะเลสาบ (Tonle Sap) เป็ นทะเลสาบขนาดใหญ่ มีเนื ้อที่ 3,000 ตารางกิโลเมตร
4. ลักษณะภูมอิ ำกำศ
กัมพูชามีอากาศมรสุมเขตร้ อนเป็ นแบบร้ อนชื ้นแถบมรสุม โดยฤดูฝน เริ่ มจาก
เดือนพฤษภาคม-พฤศจิกายน และฤดูแล้ งระหว่างเดือนธันวาคม – เมษายน
อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 20 - 36 องศาเซลเซียส โดยที่เดือนเมษายนมีอณ
ุ หภูมิสงู ที่สดุ เดือน
มกราคมมีอณ
ุ หภูมิต่าที่สดุ และเดือนตุลาคมมีฝนตกชุกที่สดุ
5. เมืองหลวงและเมืองสำคัญ
- เมืองหลวง ได้ แก่ กรุงพนมเปญ เป็ นศูนย์กลางแหล่งอุตสาหกรรมและพาณิชย์กรรมหลัก
ของประเทศ
- เมืองสาคัญได้ แก่ กรุงพระสีหนุวิลล์ หรื อกรุงกัมปงโสม (เป็ นท่าเรื อน ้าลึกนานาชาติ)
จังหวัดเสียมราฐ (เสียมเรี ยบ) จังหวัด พระตะบอง จังหวัดเกาะกง และจังหวัดกัมปงจาม
6. ประชำกร
ประชากร 14.7 ล้ านคน (ปี 2551) ประกอบด้ วย
- ชาวเขมร คิดเป็ นร้ อยละ 90 ของประชากรทังหมด
้
- ชาวญวน คิดเป็ นร้ อยละ 4 ของประชากรทังหมด
้
- ชาวจีน คิดเป็ นร้ อยละ 3 ของประชากรทังหมด
้
- อื่นๆ คิดเป็ นร้ อยละ 3 ของประชากรทังหมด
้
เช่น ชาวไทย (ไทยเกาะกง) ชาวลาว ชาว
จาม ชาวจะราย ชาวระแดว์ ชาวเสตียง ชาวเมฺรญ และชาวเปื อร์ เป็ นต้ น
7. กำรเมืองกำรปกครอง
กัมพูชามีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริ ย์เป็ นประมุข นับจากการ
เลือกตังทั
้ ว่ ไปภายใต้ รัฐธรรมนูญฉบับปี 2536 การเมืองของกัมพูชามีพฒ
ั นาการอย่างต่อเนื่อง
8. กำรแบ่ งเขตกำรปกครอง
กัมพูชา แบ่งเขตการปกครองเป็ น 20 จังหวัด (Provinces) ได้ แก่ พระตะบอง บันเตียเมียนจัย อุดรเมียนจัย
พระวิหาร สตึงไตรย์ รัตนคีรี มณฑลคีรี กระแจะ กัมปงจาม สวายเรี ยง ไปรเวง กันดาล ตาแก้ ว กัมปอต เกาะกง โพธิสตั
เสียมเรี ยบ กัมปงทม กัมปงสะปื อ และกัมปงชะนัง (แต่ละจังหวัดจะแบ่งเขตปกครองภายในออกเป็ นอาเภอ (Srok) กับ
ตาบล (Khum)) กับเขตปกครองพิเศษเรี ยกว่า กรุง (Municipalities) อีก 4 กรุง ได้ แก่ แกบ ไพลิน พนมเปญ
และ สีหนุวิลล์
8. ภำษำ
ภาษาเขมรเป็ นภาษาทางการ ส่วนภาษาที่ใช้ โดยทัว่ ไป ได้ แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส
ภาษาเวียดนาม ภาษาไทย และภาษาจีน
9. ศำสนำ
รัฐธรรมนูญกัมพูชาบัญญัติให้ ศาสนาพุทธเป็ นศาสนาประจาชาติ เพราะมีผ้ ูนบั ถือ
พระพุทธศาสนา 95% ศาสนาอิสลาม 3% ศาสนาคริ สต์ 1.7% ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 0.3%
11. สกุลเงิน
เรี ยล (Riel) อัตราการแลกเปลี่ยน 125 เรี ยล (Riel) เท่ากับ 1 บาท
(ธันวาคม 2552
http://203.172.179.24/historysk1/his4/asean5.htm
คาทักทายประเทศกัมพูชา
ซัวสเด
สำรบัญ
http://krukanidta.wordpress.com/clipart-asean/
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
(Republic of Indonesia)
1. ที่ตงั ้ : อยู่ในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยตัง้ อยู่บนเส้ นทำงเชื่อมต่ อระหว่ ำงมหำสมุทร
แปซิฟิกกับมหำสมุทรอินเดีย และเป็ นสะพำนเชื่อมระหว่ ำงทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย ทำให้
อินโดนีเซียสำมำรถควบคุมเส้ นทำงกำรติดต่ อระหว่ ำงมหำสมุทรทัง้ สอง ผ่ ำนช่ องแคบที่สำคัญต่ ำงๆ
เช่ น ช่ องแคบมะละกำ ช่ องแคบซุนดำ และช่ องแคบล็อมบอก ซึ่งเป็ นเส้ นทำงขนส่ งนำ้ มันจำก
ตะวันออกกลำงมำยังประเทศในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก
2. พืน้ ที่ : 1,890,754 ตารางกิโลเมตร
3. ลักษณะภูมปิ ระเทศ
เป็ นประเทศหมู่เกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ ในโลก
ประกอบด้ วยเกาะใหญ่น้อย
กว่า 17,508 เกาะ รวมอยู่ในพื ้นที่ 4 ส่วน คือ
- หมู่เกำะซุนดำใหญ่ ประกอบด้ วย เกาะชวา สุมาตรา บอร์ เนียว
และสุลาเวสี
- หมู่เกำะซุนดำน้ อย ประกอบด้ วยเกาะเล็ก ๆ ที่ตงอยู
ั ้ ่ทาง
ตะวันออกของเกาะชวา มีเกาะบาหลี ลอมบอก ซุมบาวา ซุมบา
ฟอลเรส และติมอร์
- หมู่เกำะมำลุกุ หรื อ หมู่เกาะเครื่ องเทศ ตังอยู
้ ่ระหว่างสุลาเวสี
กับอิเรี ยนจายาบนเกาะ นิวกีนี
- อีเรียนจำยำ อยู่ทางทิศตะวันตกของปาปั วนิวกินี
4. ลักษณะภูมอิ ำกำศ
มีอากาศร้ อนชื ้นแบบศูนย์สตู ร ประกอบด้ วย 2 ฤดู คือ ฤดูแล้ ง (พฤษภาคมตุลาคม) และ ฤดูฝน (พฤศจิกายน-เมษายน
5. เมืองหลวง จาการ์ ตา (Jakarta)
6. ประชำกร
ประมาณ 220 ล้ านคน ประกอบด้ วย
ชนพื ้นเมืองหลากหลายกลุม่ ซึง่ พูดภาษา
ต่างกันกว่า 583 ภาษา ร้ อยละ 61 อาศัย
อยูบ่ นเกาะชวา
7. การเมืองการปกครอง
ปกครองแบบประชาธิปไตย ทีม่ ี
ประธานาธิบดีเป็ นประมุข และหัวหน้ าฝ่ ายบริหาร
ประธานาธิบดี คือ ดร.ซู ซิโล บัมบัง ยูโดโยโน
(Susilo Bambang
Yudhoyono) (ตุลาคม 2547)
8. ภาษา : ภาษาราชการและภาษาประจาชาติ
ได้ แก่ ภาษาอินโดนีเซีย หรือ Bahasa
Indonesia
9. ศาสนา : ชาวอินโดนีเซียร้ อยละ 87 นับถือ
ศาสนาอิสลาม ร้ อยละ 6 นับถือศาสนาคริสต์ นิกาย
โปรแตสแตนท์ ร้ อยละ 3.5 นับถือศาสนาคริสต์
นิกายแคทอลิก ร้ อยละ 1.8 นับถือศาสนา
ฮินดู และร้ อยละ 1.3 นับถือ ศาสนาพุทธ
10. สกุลเงิน
รูเปี ยห์ (Rupiah : IDR) อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ (ซื ้อ) 2.87 บาท / 1,000
รูเปี ยห์ (ขาย) 3.32 บาท / 1,000 รูเปี ยห์ (มกราคม 2552)
http://203.172.179.24/historysk1/his4/asean11.htm
คาทักทายประเทศอินโดนีเซีย
ซำลำมัต เซียง
สำรบัญ
http://krukanidta.wordpress.com/clipart-asean/
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)
(The Lao People's Democratic Republic of Lao PDR)
คำว่ ำ ลำว ในภำษำอังกฤษ
ในภำษำอังกฤษ คำว่ ำลำว ที่หมำยถึงประเทศสะกดว่ ำ "Laos" และ ลำว
ที่หมำยถึงคนลำว และภำษำลำวใช้ "Lao" ในบำงครั ง้ จะเห็นมีกำรใช้ คำว่ ำ
"Laotian" แทนเนื่องจำกป้องกันกำรสับสนกับเชือ้ ชำติลำว ที่สะกด "Lao
ethnic group"
1. ที่ตงั ้ อำณำเขต
ทิศเหนือและทิศตะวันตก จด ประเทศไทยทางด้ าน
ทิศเหนือและทิศตะวันตก (1,754 กม.)
ทิศใต้ จด ประเทศกัมพูชา (541 กม.)
ทิศตะวันออก จด ประเทศเวียดนาม (2,130 กม.)
ทิศตะวันออก จด ประเทศพม่า (235 กม.)
2. พืน้ ที่
ความยาวพื ้นที่ประเทศลาวตังแต่
้ เหนือจรดใต้ ยาว
ประมาณ 1,700 กว่ากิโลเมตร ส่วนที่กว้ างที่สดุ กว้ าง
500 กิโลเมตร และที่แคบที่สดุ 140 กิโลเมตร เนื ้อที่
ทังหมด
้
236,800 ตารางกิโลเมตร
3.
ลักษณะภูมปิ ระเทศ
แบ่ งได้ เป็ น 3 เขต คือ
1. เขตภูเขำสูง เป็ นพื ้นที่ที่สงู กว่าระดับน ้าทะเลโดยเฉลี่ย 1,500 เมตรขึ ้นไป พื ้นที่นี ้อยู่ในเขตภาคเหนือของประเทศ
2. เขตที่รำบสูง คือพื ้นที่ซงึ่ สูงกว่าระดับน ้าทะเลเฉลีย่ 1,000 เมตร ปรากฏตั ้งแต่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของที่
ราบสูงเมืองพวนไปจนถึงชายแดนกัมพูชา เขตที่ราบสูงนี ้มีที่ราบสูงขนาดใหญ่อยู่ 3 แห่ง ได้ แก่ ทราบสูงเมืองพวน
(แขวงเชียงขวาง), ที่ราบสูงนากาย (แขวงคาม่วน) และที่ราบสูงบริเวณ (ภาคใต้ )
3. เขตที่รำบลุ่ม เป็ นเขตที่ราบตามแนวฝั่ งแม่น ้าโขงและแม่น ้าต่างๆ เป็ นพื ้นที่ ที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สดุ ใน
เขตพื ้นที่ทั ้ง 3 เขต นับเป็ นพื ้นที่อ่ขู ้ าวอู่น ้าที่สาคัญของประเทศ แนวที่ราบลุม่ เหล่านี ้เริ่มปรากฏตั ้งแต่บริเวณตอนใต้
ของแม่น ้างึม เรี ยกว่า ที่ราบลุม่ เวียงจันทน์ ผ่านที่ราบลุม่ สะหวันนะเขต ซึง่ อยู่ตอนใต้ เซบั ้งไฟและเซบั ้งเหียง และที่
ราบจาปาสักทางภาคใต้ ของลาว ซึง่ ปรากฏตามแนวแม่น ้าโขงเรื่ อยไปจนจดชายแดนประเทศกัมพูชา
ประเทศลาวมีแม่น ้าสายสาคัญอยู่หลายสาย โดยแม่น ้าซึง่ เป็ นสายหัวใจหลักของประเทศคือแม่น ้าโขง ซึง่ ไหล
ผ่านประเทศลาวเป็ นระยะทาง 1,835 กิโลเมตร แม่น ้าสายนี ้เป็ นแม่น ้าสาคัญทั ้งในด้ านเกษตรกรรม การประมง การ
ผลิตพลังงานไฟฟ้า การคมนาคมจากลาวเหนือไปจนถึงลาวใต้ และการใช้ เป็ นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศ
ลาวกับประเทศเพื่อนบ้ าน
4.
ลักษณะภูมอิ ำกำศ
ลาวอยู่ในภูมิอากาศเขตร้ อน มีลมมรสุมแต่ไม่มีลมพายุ
เขตภูเขาภาคเหนือ และ เขตเทือกเขา อากาศมีลกั ษณะกึ่งร้ อน
กึ่งหนาว อุณหภูมิเฉลี่ย 15-30 องศาเซลเซียส และความ
แตกต่างของอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนมีประมาณ
10 องศาเซลเซียส ปริ มาณน ้าฝนในฤดูฝน (ตังแต่
้ เดือน
พฤษภาคม ถึงตุลาคม) มีร้อยละ 75 - 90 ส่วนในฤดูแล้ ง
(ตังแต่
้ เดือนพฤศจิกายน ถึงเมษายน) ปริ มาณน ้าฝนมีเพียง
ร้ อยละ 10 - 25 เขตเทือกเขาทางใต้ ได้ รับน ้าฝนเฉลี่ยปี ละ
300 เซนติเมตร ขณะที่บริ เวณแขวงเซียงขวาง แขวงหลวงพะ
บาง แขวงไซยะบุลี ได้ รับเพียงแค่ 100 - 150 เซนติเมตร ส่วน
แขวงเวียงจัน และสะหวันนะเขด ในช่วง 150 - 200 เซนติเมตร
เช่นเดียวกับแขวงพงสาลี แขวงหลวงน ้าทา และแขวงบ่อแก้ ว
5.
เมืองหลวง
นครหลวงเวียงจันทน์ เป็ นเขตที่ตงั ้
ของกรุงเวียงจันทน์เมืองหลวงของประเทศลาว
ลักษณะการปกครองคล้ ายกับกรุงเทพมหานคร
อยูท่ างตอนกลางของประเทศลาว มีเมืองเอกคือ
จันทะบูลี มีเขตติดต่อเป็ นชายแดนกับประเทศ
ไทยระหว่างเวียงจันทน์กบั หนองคายของ
ประเทศไทย ทางสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว
แห่งที่ 1 แขวงนครหลวงเวียงจันทน์เป็ นแขวงที่
เจริญที่สดุ ใน 18 แขวงของประเทศลาว
6. ประชากร
ประเทศลาวมีประชากรรวม 6,068,117 คน ประกอบด้วยชนชาติต่างๆ
หลากหลายเชื้อชาติ ซึ่งในภาษาลาวจะเรี ยกรวมกันว่า "ประชาชนบรรดาเผ่า" สามารถ
จาแนกได้เป็ น 68 ชนเผ่าโดยประมาณ แบ่งเป็ น 3 กลุ่ใหญ่ตามถิ่นที่อยูอ่ าศัย ดังนี้
1. ลาวลุ่ม หมายถึงชาวลาวที่อาศัยอยูใ่ นเขตที่ราบ ส่ วนใหญ่ได้แก่คนเชื้อชาติลาว ภู
ไท ไทดา ไทลื้อ ฯลฯ ใช้ภาษาลาวหรื อภาษาตระกูลภาษาไทเป็ นภาษาหลัก ประชาชน
กลุ่มนี้มีอยูร่ ้อยละ 68 ของจานวนประชากรทั้งหมดและอาศัยกระจายอยูท่ วั่ ประเทศ ถือ
ว่าเป็ นกลุ่มชาวลาวที่มีจานวนมากที่สุดในประเทศ
2. ลาวเทิง หมายถึงชาวลาวที่อาศัยอยูใ่ นเขตที่ราบสู ง เช่น ชาว บรู มะกอง งวน ตะ
โอย ตาเลียง ละเม็ด ละเวน กะตัง ฯลฯ ส่ วนใหญ่อาศัยอยูท่ างภาคใต้ของประเทศ เช่น
แขวงจาปาสัก แขวงเซกอง แขวงอัตตะปื อ คิดเป็ นร้อยละ 22 ของจานวนประชากร
ทั้งหมด
3. ลาวสู ง หมายถึงชาวลาวที่อาศัยอยูใ่ นเขตภูเขาสู ง เช่น ชาวม้ ง เย้า มูเซอ ผูน้ อ้ ย และ
ชาวเขาเผ่าต่างๆ ส่ วนมากอาศัยอยูใ่ นเขตภาคเหนือของลาว เช่น แขวงหลวงพระบาง
แขวงเชียงขวาง และตามแนวตะเข็บชายแดนภาคเหนือ ชาวลาวกลุ่มนี้คิดเป็ นจานวน
ร้อยละ 9 ของจานวนประชากรทั้งหมด
7. กำรเมือง/ กำรปกครอง
สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำวมีระบบกำรปกครองแบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทำงกำรลำวใช้ คำว่ ำ ระบอบประชำธิปไตย
ประชำชน) โดยมีพรรคประชำชนปฏิวัตลิ ำวเป็ นองค์ กรชีน้ ำประเทศ
ซึ่งพรรคนีเ้ ริ่มมีอำนำจสูงสุดตัง้ แต่ ลำวเริ่มปกครองในระบอบสังคม
นิยมเมื่อวันที่ 2 ธันวำคม พ.ศ. 2518 ประธำนประเทศ
(ประธำนำธิบดี) ของสำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำวคน
ปั จจุบัน ซึ่งมีวำระกำรดำรงตำแหน่ ง 5 ปี คือ พลโทจูมมะลี ไซยะ
สอน (ดำรงตำแหน่ งเลขำธิกำรใหญ่ คณะบริหำรงำนศูนย์ กลำงพรรค
ประชำชนปฏิวัตลิ ำวอีกตำแหน่ งหนึ่ง) ส่ วนนำยกรัฐมนตรีคนปั จจุบัน
คือนำยทองสิง ทำมะวง
ลำวแบ่ งเป็ น 16 แขวง ในหนึ่งแขวงจะมีหลำย เมือง ซึ่งจะมีหนึ่งเมือง
เป็ นเมืองหลวงเรียกว่ ำ เมืองเอก และ 1 เขตปกครองพิเศษเรียกว่ ำ
นครหลวง
8. ภำษำ
ประเทศลาวใช้ ภาษาลาวเป็ นภาษาทางราชการ ทังใน
้
ส่วนของภาษาพูดและระบบการเขียน ส่วนในกลุม่ ชาว
ลาวเทิงและชาวลาวสูงยังคงมีการใช้ ภาษาประจาเผ่าของตน
ควบคูก่ บั ภาษาลาว ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นที่มีการใช้ ได้ แก่
ภาษาฝรั่งเศสซึง่ มีการใช้ มาตังแต่
้ สมัยอาณานิคม ปั จจุบนั
ยังคงใช้ ในวงราชการและการติดต่อค้ าขายบ้ าง อีกภาษาหนึง่
ที่สาคัญคือภาษาอังกฤษซึง่ ใช้ ในการติดต่อกับต่างประเทศ
และการค้ า ซึง่ นับวันการศึกษาภาษาอังกฤษก็ยิ่งจะขยายตัว
มากขึ ้นเรื่ อยๆ
สาหรับอัตราการรู้หนังสือของลาวนัน้ ประชากรเพศ
ชายรู้หนังสือร้ อยละ 67 หญิงร้ อยละ 43 เมื่อคิดเฉลีย่ รวมทัง้
สองเพศแล้ วปรากฏว่าประเทศลาวมีอตั ราประชากรที่ร้ ู
หนังสือ ร้ อยละ 56
9. ศำสนำ
ชาวลาวส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทซึง่ เป็ นศาสนาประจาชาติ (ร้ อยละ 60 ของชาวลาวทั ้งหมด)
ควบคู่ไปกับลัทธินบั ถือผีบรรพบุรุษของชนชาติสว่ นน้ อยในแถบภูเขาสูง ส่วนชาวลาวที่นบั ถือศาสนาคริสต์และศาสนา
อิสลามมีจานวนที่ค่อนข้ างน้ อยมาก โดยศาสนาคริสต์สว่ นมากจะมีผ้ นู บั ถือเป็ นกลุม่ ชาวเวียดนามอพยพและชาวลาว
เชื ้อสายเวียดนาม ส่วนศาสนาอิสลามพบว่ามีการนับถือในหมูช่ นชาติสว่ นน้ อยจีนฮ่อที่อาศัยตามชายแดด้ านติดกับ
ประเทศพม่า และมีชมุ ชนมุสลิมที่มีเชื ้อสายเอเชียใต้ และจามในเวียงจันทน์
10. สกุลเงิน
กีบ เป็ นหน่วยเงินของประเทศลาว (มีอกั ษรย่อ LAK) หนึง่ กีบมี 100 อัด ในปี พ.ศ. 2522
เกิดการปฏิรูปค่าเงินขึ ้น โดยเปลี่ยน 100 กีบแบบเก่าให้ เท่ากับ 1 กีบในปั จจุบนั อัตราแลกเปลี่ยนเมื่อ
เดือนเมษายน พ.ศ. 2548 คือ 1 ยูโร เท่ากับ 13,636 กีบ และ 1 ดอลลาร์ สหรัฐ เท่ากับ 10,500 กีบ
ธนาคารแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็ นผู้รับผิดชอบพิมพ์เงินตราออกใช้
http://203.172.179.24/historysk1/his4/asean4.htm
คาทักทายประเทศลาว
สะบำยดี
สำรบัญ
http://krukanidta.wordpress.com/clipart-asean/
ประเทศมำเลเซีย (Malaysia)
1. ประเทศมาเลเซีย (อังกฤษ: Malaysia)
เป็ นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
แบ่งเป็ น 2 ส่ วน โดยมีทะเลจีนใต้ก้ นั ส่ วนแรก
คือ คาบสมุทรมลายู มีพรมแดนทิศเหนือติด
ประเทศไทย และทิศใต้ติดกับสิ งคโปร์ ส่ วนที่
สองคือ ทางเหนือของเกาะบอร์ เนียว มี
พรมแดนทิศใต้ติดอินโดนีเซี ย และมีพรมแดน
ล้อมรอบประเทศบรู ไน มาเลเซี ยเป็ นสมาชิก
ก่อตั้งของกลุ่มประเทศอาเซี ยน
1.1 มำเลเซียตะวันตก
ตังอยู
้ บ่ นคาบสมุทรมาลายู ประกอบด้ วยรัฐต่างๆ
๑๑ รัฐ ได้ แก่ ยะโฮร์ เคดาห์ กลันตัน มะละกา เนกรี เซมบิลนั ปาหัง ปี นัง เปรัค เปอร์ ลิส ตรังกานู และเซ
ลังงอร์ ส่วนที่ยาวที่สดุ จากรัฐเปอร์ ลิส ถึงช่องแคบ
ยะโฮร์
1.2 มำเลเซียตะวันออก
ตังอยู
้ ท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะกาลิมนั
ตัน หรื อเกาะบอร์ เนียว ประกอบด้ วย ๒ รัฐคือ ซา
บาห์ และซาราวัค โดยมีประเทศบรูไนคัน่ อยูร่ ะหว่าง
รัฐทังสอง
้
http://th.wikipedia.org/wiki
1. ที่ตัง้ อำณำเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับประเทศไทย ในเขตรัฐห้ ารัฐด้ วยกัน เรี ยงจากตะวันตกไปตะวันออกคือ
รัฐเปอร์ ลิส รัฐเคดาห์ รัฐเปรัค และรัฐกลันตัน
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับทะเลซูลู ใกล้ หมูเ่ กาะฟิ ลิปปิ นส์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับทะเลจีนใต้
ทิศใต้ ติดต่อกับช่องแคบยะโฮร์ ซึง่ กันระหว่
้
างประเทศมาเลเซียกับประเทศสิงคโปร์ และประเทศ
อินโดนิเซีย
ทิศตะวันตก ติดต่อกับทะเลอันดามัน ในมหาสมุทรอินเดีย และช่องแคบมะละกา ซึง่ กันระหว่
้
าง
มาเลเซียกับเกาะสุมาตรา ของอินโดนีเซีย
2. พืน้ ที่
ประเทศมาเลเซีย แบ่งออกเป็ นสองส่วนคือ ส่วนที่ตงอยู
ั ้ ่บนคาบสมุทรเรี ยกว่า มาเลเซียตะวันตก และ
ส่วนที่อยู่ในเกาะบอร์ เนียว เรี ยกว่า มาเลเซียตะวันออก ทังสองส่
้
วนนี ้ประกอบด้ วยรัฐต่าง ๆ ๑๓ รัฐ อยู่
ในมาเลเซียตะวันตก ๑๑ รัฐ อยู่ในมาเลเซียตะวันออก ๒ รัฐ
รวมมีพื ้นที่ทงสิ
ั ้ ้นประมาณ ๓๒๙,๐๐ ตารางกิโลเมตร หรื อประมาณสองในสามของพื ้นที่ประเทศไทย
3. ลักษณะภูมปิ ระเทศ
1. มำเลเซียตะวันตก ตั ้งอยู่บนแหลมมลายู
ลักษณะภูมปิ ระเทศโดยทัว่ ไปเป็ นป่ าไม้ ภูเขา และ
หนองบึง ประมาณร้ อยละ ๗๐ ของพื ้นที
2. มำเลเซียตะวันออก ส่วนใหญ่เป็ นภูเขา ที่ราบ
สูงอยู่ทางตอนใน มีที่ราบย่อม ๆ อยู่ตามชายฝั่ งทะเล
4. ลักษณะภูมิอำกำศ
ประเทศมาเลเซียมีลกั ษณะภูมอิ ากาศคล้ ายคลึงกับภาคใต้ ของประเทศไทย แต่เนื่องจากตั ้งอยู่ใกล้ เส้ นสูตรและ
ได้ รับอิทธิพลจากลมมรสุมจากมหาสมุทรอินเดีย และทะเลจีนใต้ จึงมีผลทาให้ อณ
ุ ภูมไิ ม่สงู นัก โดยมีอณ
ุ หภูมเิ ฉลี่ย
22-36 องศาเซนเซียส มีฝนตกเกือบตลอดปี และมีปริมาณน ้าฝนมากกว่าประเทศไทย
5. เมืองหลวง
กรุ งกัวลำลัมเปอร์
6. ประชำกร
มาเลเซีย มีประชากรอยูห่ นาแน่นบนแหลมมลายู
บริเวณที่ราบชายฝั่ งตะวันตก โดยมีประชากรประมาณ
ร้ อยละ ๘๒ รองลงมาคือ บริเวณชายฝั่ ง
ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนที่อยูใ่ นเกาะบอร์ เนียว มี
ประชากรอยูห่ นาแน่น บริเวณที่ราบชายฝั่ งทางตอนใต้ ของ
รัฐซาราวัค แถบบริเวณแม่น ้า
มาเลเซียมีหลายเชื ้อชาติ และยังมีชนเผ่าน้ อยในรัฐซา
บาห์ และซาราวัค ทาให้ เกิดเป็ นชาติพนั ธุ์ลกู ครึ่งเชื ้อชาติ
ต่างๆ เช่น ชาวมาเลย์ อินเดีย จีน
7. ศาสนา
ศาสนาประจาชาติมาเลเซียคือ ศาสนาอิสลาม ชาวมาเลย์ ที่นับถือศาสนาอิสลาม มีประมาณร้ อยละ ๕๓ นับถือศาสนา
พุทธประมาณร้ อยละ ๑๗ นับถือลัทธิเต๋ า ประมาณร้ อยละ ๑๒ นับถือศาสนาคริสต์ ประมาณร้ อยละ ๘ นับถือศาสนาฮินดู
ประมาณร้ อยละ ๘ และอืน่ ๆ ประมาณร้ อยละ ๒
8. ภาษา
ชาวมาเลเซีย มีภาษามาเลย์ เป็ นภาษาประจาชาติ นอกจากนั้นยังมีภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษา
ทมิฬ และภาษาประจาเผ่ าของชนชาวเผ่ าส่ วนน้ อยในประเทศ
9. กำรเมืองกำรปกครอง
มาเลเซียปกครองด้ วยระบอบประชาธิปไตย แบบรัฐสภา มี
พระมหากษัตริย์เป็ นองค์พระประมุขของประเทศภายใต้ รัฐธรรมนูญ การ
ปกครองประเทศแบบสหพันธ์รัฐ (Federation) แบ่งเขตการปกครอง
ออกเป็ น 13 รัฐ คือ เปรัค ปาหัง สลังงอร์ ไทรบุรี เคดาห์ เนกรี เซมบิลนั ยะโฮร์
กลันตัน ตรังกานู ปี นัง มะละกา ซาบาห์ และซาราวัค
รัฐสภาประกอบด้ วยสภาผู้แทนราษฎร ซึง่ สมาชิกมาจากการเลือกตัง้ และ
วุฒิสภาซึง่ สมาชิกได้ รับการแต่งตังโดยสมเด็
้
จพระราชาธิบดี อีกส่วนหนึง่ มา
จากการแต่งตังโดยนิ
้
ติบญ
ั ญัติในแต่ละรัฐ รัฐบาลเป็ นรัฐบาลผสม มีพรรคร่วม
รัฐบาลที่เรี ยกว่าพรรคแนวร่วมแห่งชาติ (Barisan Nasional-BN)
ประเทศภายใต้ รัฐธรรมนูญ โดยเลือกตังจากสุ
้
ลต่านผู้ปกครองรัฐ ซึ่งมีใน 9 รัฐ
(ยกเว้ นปี นัง มะละกา ซาบาห์ และซาราวัก) ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันขึ ้นดารง
ตาแหน่ง วาระละ 5 ปี เรี ยกว่ายังดี เปอร์ ตวนอากง
ประมุขของประเทศ คือสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย ตวนกู จาฟา
อัลมารุม ตวนกู อับดุล ราห์มาน (Tuanku Ja'afar
AlmarhumTuanku Abdul Rahman, Yang Di Pertuan
Agong ) เป็ นองค์พระประมุขของกง มีนายกรัฐมนตรี เป็ นผู้บริหารประเทศ
10. สกุลเงิน
มาเลเซียมีหน่วยเงินตราเป็ น ริงกิตมาเลเซีย โดยมีอตั ราแลกเปลี่ยน
ประมาณ 10.42 บาท ต่อ 1 ริงกิต
http://203.172.179.24/historysk1/his4/asean10.htm
คาทักทายประเทศมาเลเซีย
ซำลำมัต ดำตัง
สำรบัญ
http://krukanidta.wordpress.com/clipart-asean/
สหภำพพม่ ำ
(Union of Myanmar)
ประเทศพม่ ำ หรื อ ประเทศเมียนมำร์ ชื่ออย่างเป็ นทางการคือ สหภำพ
พม่ ำ เป็ นประเทศใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่เดิมชาวตะวันตกเรี ยกประเทศนี ้ว่า
พม่ ำ (Burma) ต่อมา เมื่อปี พ.ศ. 2532 พม่าได้ เปลี่ยนชื่อประเทศเป็ น พม่ ำ
(Myanmar) แต่พม่าเรี ยกชื่อเขาเองว่า มยะหม่ ำ
1. อาณาเขต
สหภาพมีพรมแดนติดต่อกับ 5 ประเทศ ดังนี ้
ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ติด
กับจีน (2,185 กิโลเมตร)
ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับลาว (235
กิโลเมตร) และไทย (2,401 กิโลเมตร)
ทิศตะวันตก ติดกับอินเดีย (1,463
กิโลเมตร) และบังกลาเทศ (193
กิโลเมตร)
ทิศใต้ ติดกับทะเลอันดามันและ
อ่าวเบงกอล
1.เขตแดนไทย-พม่ ำ
สหภาพพม่ามีเส้ นเขตแดนติดต่อกับประเทศไทย ยาวประมาณ 2,400 กิโลเมตร
ในพื ้นที่ 10 จังหวัด ได้ แก่ เชียงราย เชียงใหม่แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี
เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ชุมพร และระนอง
2. พืน้ ที่
สหภาพพม่า มีพื ้นที่ทงหมด
ั้
657,740 ตารางกิโลเมตร หรื อมีขนาดประมาณ 1.3
เท่าของประเทศไทย
3. ลักษณะภูมปิ ระเทศ
สหภาพพม่ามีพื ้นที่สว่ นใหญ่เป็ นผืนดิน โดยมีสว่ นที่เป็ น
ผืนดินถึง ร้ อยละ 97 ของพื ้นที่ทงหมด
ั้
และมีสว่ นที่เป็ นผืน
น ้าประมาณร้ อยละ 3
ภำคเหนือ – เทือกเขาปั ตไก เป็ นพรมแดนระหว่างพม่า
และอินเดีย
ภำคตะวันตก – เทือกเขาอาระกันโยมากันเป็
้ นแนว
ยาว
ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ – เป็ นที่ราบสูงชัน
ภำคใต้ – มีทิวเขาตะนาวศรี กันระหว่
้
างไทยกับพม่า
ภำคกลำง – เป็ นที่ราบลุม่ แม่น ้าอิรวดี
5. เมืองหลวง
เมืองหลวงของสหภาพพม่า คือ เปี ยงมนา เนปิ ดอว์ (ย้ ายเมื่อวันที่ 6
พฤศจิกายน 2548 ซึง่ นับเป็ นการย้ ายเมืองหลวงครัง้ ที่ 11 ของประวัติศาสตร์ พม่า)
6. ประชำกร
ประชากร 48.1 ล้ านคน (ปี 2552) มีเผ่าพันธุ์ 135
เผ่าพันธุ์ ประกอบด้ วย เชื ้อชาติหลักๆ 8 กลุม่ คือ
- พม่า คิดเป็ นร้ อยละ 68 ของประชากรทังหมด
้
- ไทยใหญ่ คิดเป็ นร้ อยละ 8 ของประชากรทังหมด
้
- กะเหรี่ ยง คิดเป็ นร้ อยละ 7 ของประชากรทังหมด
้
เป็ นต้ น
7.ศำสนำ
ศาสนาพุทธร้ อยละ 90 ศาสนาอิสลามร้ อยละ 4 ศาสนาฮินดูร้อยละ
4 และศาสนาคริสต์ร้อยละ 2
8. ภำษำ
ร้ อยละ 85 ใช้ ภำษำพม่ ำ ส่ วนที่เหลือพูดภำษำกระเหรี่ ยง มอญ จีน
กลำง ภำษำรำชกำร คือ ภำษำพม่ ำ และภำษำอังกฤษ
9. วัฒนธรรม
ชาวพม่าถือว่าวัฒนธรรมเป็ นดัง่ รากแก้ ว
ของต้ นไม้ ที่ต้องปกปั กรักษา วัฒนธรรมที่บง่
บอกความเป็ นพม่า เช่น ภาษาพม่า พุทธ
ศาสนา การบริโภคน ้าชา และที่เห็นได้ ชดั อีกสิ่ง
หนึง่ ก็คือการแต่งกาย ในอดีตแม้ พม่าจะเคย
เป็ นอาณานิคมของตะวันตก แต่ชาวพม่าก็
ยังคงวิถีชีวิตเดิมไว้ ได้ มาก ผู้ชายยังนิยมนุ่ง
โสร่ง ผู้หญิงนุ่งผ้ าซิ่น ทังยั
้ งชอบสวมรองเท้ า
แตะ และทาแป้งตะนาคา
9. กำรเมืองกำรปกครอง
ระบบการปกครองของสหภาพพม่าเป็ นแบบเผด็จการทางทหาร ปกครอง
โดย รัฐบาลทหารภายใต้ สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ (State Peace
and Development Council – SPDC)โดยมีประธาน SPDC เป็ น
ประมุขประเทศ และ มีนายกรัฐมนตรี เป็ นหัวหน้ ารัฐบาล
- ประธาน SPDC พลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย (Senior General
Than Shwe)
- นายกรัฐมนตรี พลเอก โซ วิน (General Soe Win)
10. สกุลเงิน
จัต๊ (Kyat)
(ธันวาคม 2552)
อัตราการแลกเปลี่ยน ประมาณ 0.1934 จัต๊ ต่อ 1 บาท
คาทักทายประเทศพม่ า
มิงกำลำบำ
สำรบัญ
http://krukanidta.wordpress.com/clipart-asean/
สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์
(Republic of the Philippines)
1. ที่ตงั ้ อำณำเขต
เป็ นประเทศที่ประกอบด้ วยเกาะจานวน 7,107 เกาะ ตั ้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากเอเชียแผ่นดินใหญ่ทาง
ตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 100 กม.และมีลกั ษณะพิเศษคือเป็ นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดต่อ
ระหว่างกันยาวมากที่สดุ ในโลก
2. พืน้ ที่
หมูเ่ กาะต่าง ๆ ของฟิ ลปิ ปิ นส์มีพื ้นที่ทั ้งหมดประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ ตาราง
กิโลเมตร มีเกาะใหญ่ ๑๑ เกาะ ซึง่ มีพื ้นที่รวมกันเท่ากับร้ อยละ ๙๐ ของพื ้นที่ เกาะ
ที่ใหญ่ที่สดุ คือ เกาะลูซอน อยู่ทางเหนือ และเกาะมินดาเนา ที่อยู่ทางใต้
3. ลักษณะภูมิประเทศ
ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ ประกอบด้ วยหมูเ่ กาะต่างๆ มีเกาะใหญ่
น้ อย มากกว่า 7,000 เกาะใหญ่ที่สดุ คือ เกาะลูซอน มีภเู ขาไฟที่ยงั ครุกรุ่น
หลายลูก เป็ นผลให้ ดินมีความอุดมสมบูรณ์
4. ลักษณะภูมิอำกำศ
ฟิ ลปิ ปิ นส์มีลกั ษณะภูมปิ ระเทศ เป็ นหมูเ่ กาะ ทาให้
อุณหภูมขิ องประเทศ ไม่สงู มากเหมือนอย่างประเทศไทยมี
ฝนตกชุกเกือบตลอดปี ฟิ ลปิ ปิ นส์อยู่ในเขตใต้ ฝนุ่ ซึง่ มี
แหล่งกาเนิดอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก
5. เมืองหลวง กรุงมะลิลา
6. ประชำกร
ชาวเกาะฟิ ลิปปิ นส์ มีรูปร่างหน้ าตาคล้ ายพวกมองโกล ผสมผสาน มีผิวสีน ้าตาล แต่บางพวกก็มีผิวค่อนข้ างขาว การที่ชาว
ฟิ ลิปปิ นส์มีลกั ษณะที่แตกต่างกันนี ้ เป็ นผลสืบเนื่องมาจากความซับซ้ อนของเผ่าพันธุ์ อันเกิดจากการผสมผสาน ระหว่างเชื ้อชาติต่าง
ๆ คือ ชนเผ่าดังเดิ
้ ม เผ่าอินโดเนเซีย ชาวมาเลย์ ชาวจีน ฟิ ลิปปิ นส์ มีปัญหาชนกลุ่มน้ อยมุสลิมในเกาะมินดาเนา ซึง่ ต้ องการ
แยกตัวเป็ นอิสระ เรี ยกว่า "แนวปลดปล่อยแห่งชาติโมโร
7. กำรเมืองกำรปกครอง
ฟิ ลปิ ปิ นส์เคยตกเป็ นอาณานิคมของสเปนและสหรัฐอเมริกา หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ได้ รับเอกราชในวันที่ 4
กรกฎาคม พ.ศ. 2489 จึงจัดการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย ตามแบบสหรัฐอเมริกา โดยมีประธานาธิบดีเป็ น
ประมุขและเป็ นหัวหน้ าคณะผู้บริหารประเทศมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็ น 17 เขต (regions) ซึง่ ทุกจังหวัดได้ ถกู
จัดอยู่ใน 16 เขตเพื่อความสะดวกในการปกครอง ยกเว้ นเขตนครหลวง (National Capital Region) ที่แบ่ง
ออกเป็ นเขตพิเศษ 4 แห่งหน่วยงานของรัฐบาลส่วนใหญ่จะตั ้งสานักงานในแต่ละภูมภิ าค เพื่อรับใช้ ประชาชนในจังหวัดที่อยู่
ในภูมภิ าคนั ้น ๆ ภูมภิ าคไม่มีรัฐบาลท้ องถิ่นแยกต่างหาก ยกเว้ นเขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิมและเขตบริหารคอร์
ดิลเลราซึง่ ปกครองตนเองไม่ได้ ให้ ผ้ อู ื่นปกครอง
8. ภำษำ
ฟิ ลิปปิ นส์มีภาษาพูดมากกว่า ๑๐๐ ภาษา ส่วนใหญ่เป็ นภาษาที่มีรากเง้ ามาจาก
ภาษามาเลย์ ภาษาที่ใช้ กนั มากที่สดุ ได้ แก่ ภาษาตากาลอก (Tagalog) ซีบโู น
(Cebuno) โอลอนโก (Ilongo) วาเรย์ - วาเรย์ (Waray - Waray) อิโลคาโน
(Ilocano) ปามปั นโก (Pampanco) และไบกอล (Bikol)
สมัยที่ฟิลิปปิ นส์ตกอยูใ่ นการปกครองของสเปญ เป็ นเวลาประมาณ ๓๐๐ ปี นัน้
ภาษาทางราชการคือ ภาษาสเปญ และเมื่อสหรัฐอเมริกาเข้ ามาปกครองต่อจากสเปญ
เป็ นเวลาอีกประมาณ ๕๐ ปี ภาษาทางราชการก็เปลี่ยนมาเป็ นภาษาอังกฤษ ปั จจุบนั
ภาษาราชการคือ ภำษำฟิ ลิปปิ นส์ ซึง่ แปลงมาจากภาษากาตาล็อก อันมีรากฐานมา
จากภาษามาเลย์ และเป็ นภาษาบังคับในโรงเรี ยน แต่เนื่องจากทัว่ ประเทศ มีภาษา
แตกต่างกัน หลายภาษาจึงให้ ใช้ ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาสื่อกลาง
9. ศำสนำ
ฟิ ลิปปิ นส์เป็ นประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอันดับ 4 ของโลก นิกายโปรเตสแตนต์อนั ดับ 13 ของ
โลก ศาสนาอิสลามอันดับที่ 40 ของโลก ศาสนาฮินดูอนั ดับที่ 7 ของโลก และพระพุทธศาสนาอันดับที่ 17 ของโลก
ประชากรร้ อยละ 92 ของชาวฟิ ลิปปิ นส์ นับถือศาสนาคริสต์ โดยร้ อยละ 83 นับถือนิกายโรมันคาทอลิก และร้ อยละ 9 เป็ นนิกาย
โปรเตสแตนต์ นับถือศาสนาอิสลามประมาณร้ อยละ ๔ ไม่นบั ถือศาสนาใดประมาณร้ อยร้ อยละ ๒ นอกจากนันนั
้ บถือสิ่งที่เป็ น
ธรรมชาติเช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว ดาวตก ผีพงุ่ ใต้ และรวมไปถึงการนับถือบูชาสัตว์บางชนิด เช่น นก และจรเข้ ต้ นไม้ ใหญ่
ที่มีอายุมาก แม่น ้า ก้ อนหิน
ด้ านความเชื่อ เชื่อว่าเมื่อตายไปแล้ ว วิญญาณก็จะต้ องท่องเที่ยว ถ้ าพฤติกรรมดีจะได้ ขึ ้นสวรรค์ ส่วนผู้ที่ทาชัว่ ดุร้าย โหดเหี ้ยม
ไม่ยตุ ิธรรมต่อเพื่อนมนุษย์ จะถูกพระเจ้ าลงโทษ และนาไปสู่นรก
10. สกุลเงิน
หน่วยที่ใช้ ในการแลกเปลี่ยนในรูปแบบของเงิน สกุลเงินจะเปลี่ยนแปลงขึ ้นอยู่กบั แต่ละประเทศหรื อกลุม่
ประเทศ โดยการแลกเปลี่ยนเงิน หรื อการซื ้อของหรื อบริการ ระหว่างประเทศที่ใช้ สกุลเงินต่างกัน จะใช้ อัตราแลกเปลี่ยน
เงิน เป็ นเกณฑ์ในการอ้ างอิง ในหลายๆ ประเทศสกุลเงินสามารถมีชื่อเดียวกันได้ เช่น ดอลล่าร์ สหรัฐ ดอลล่าร์ ฮ่องกง
และดอลล่าร์ แคนาดา และในหลายประเทศใช้ สกุลเงินเดียวกัน เช่นในประเทศแถบยุโรปหลายประเทศใช้ สกุลเงินยูโร และ
ในบางประเทศใช้ หน่วยเงินของประเทศอื่นเป็ นเกณฑ์เช่น ประเทศปานามา และ ประเทศเอลซาวาดอร์ ใช้ สกุลเงิน ดอล
ล่าร์ สหรัฐสกุลเงินทัว่ ไปจะมีหน่วยสกุลเงินย่อย โดยส่วนมากจะเป็ นอัตราส่วน 1/100 ของสกุลเงินหลัก เช่น 100 สตางค์ =
1 บาท หรื อ 100 เซนต์ = 1 ดอลล่าร์ แต่บางสกุลเงินจะไม่มีหน่วยย่อยเช่น สกุลเงินเยน ในหลายหลายประเทศเนื่องจาก
เงินเฟ้อ ทาให้ สกุลเงินย่อยมีการเลิกใช้ ไป
http://203.172.179.24/historysk1/his4/asean8.htm
คาทักทายประเทศฟิ ลิปปิ นส์
กูมุสตำ
สำรบัญ
http://krukanidta.wordpress.com/clipart-asean/
สำธำรณรัฐสิงคโปร์
(The Republic of Singapore)
1. ที่ตัง้ และอำณำเขต
สิงคโปร์ ตงอยู
ั ้ ่ทางตอนใต้ ของคาบสมุทรมลายู ใกล้ เส้ นศูนย์สตู ร อยู่ที่
ละติจดู 1°17'35" เหนือ ลองจิจดู 103°51'20" ตะวันออก ทางใต้ ของรัฐยะ
โฮร์ ของประเทศมาเลเซีย ทางเหนือของหมู่เกาะเรี ยวประเทศอินโดนีเซีย
ประกอบด้ วยเกาะสิงคโปร์ และเกาะเล็กๆ อีกกว่า 50 กว่าเกาะ มีช่องแคบ
ยะโฮร์ มีพื ้นที่ทงหมด
ั้
618 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตดังนี ้
ทิศเหนือ ติดกับช่องแคบยะโฮร์ ทิศตะวันออก ติดกับทะเลจีนใต้
ทิศใต้ ติดกับช่องแคบสิ งคโปร์ ทิศตะวันตก ติดกับช่องแคบมะละกา
2. พืน้ ที่
สิงคโปร์ มีพื ้นที่ทั ้งหมด 618 ตาราง มียอดเขาสูงที่สดุ คือ Bukit Timah แม่น ้าสายหลักคือ
Singapore และ Rochor สิงคโปร์ มีถนนและเส้ นทางรถไฟเชื่อมกับมาเลเซีย ณ
Singapore/Johor Causeway ระยะทางประมาณ 6 กม.
3. ลักษณะภูมิประเทศ
ภาคกลางและภาคตะวันตกเป็ นเนินเขา ซึง่ เนินเขาทางภาคกลางเป็ นเนินเขาที่สงู ที่สดุ ของประเทศ เป็ นที่เกิดของ
แม่น ้าสายสาคัญของสิงคโปร์ ภาคตะวันออกเป็ นที่ราบต่า ชายฝั่ งทะเลจะต่ากว่าระดับน ้าทะเล จึงมีการถมทะเล ฝั่ ง
ทะเลของสิงคโปร์ มีลกั ษณะเว้ าแหว่งเหมาะที่จะเป็ นท่าเรื อ ที่ตั ้งของเกาะสิงคโปร์ จงึ เป็ นเส้ นทางผ่านของการเดินเรื อที่มา
จากอินเดีย ซึง่ จะผ่านไปออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน ญี่ปนุ่ และประเทศต่างๆในยุโรป ดังนั ้นสิงคโปร์ จงึ เป็ นศูนย์กลาง
การเดินเรื อที่สาคัญ ของเชียตะวันออกเฉียงใต้
4. ลักษณะภูมิอำกำศ
สิงคโปร์ อยู่ใกล้ เส้ นศูนย์สตู ร จึงมีอากาศร้ อนชื ้น
ตลอดทั ้งปี อุณหภูมโิ ดยเฉลีย่ ประมาณ 26 องศ์เซลเซียส
ฝนตกชุก มีปริมาณน ้าฝนเฉลี่ยประมาณ 97 นิ ้วขึ ้นไป
สิงคโปร์ เป็ นประเทศที่เป็ นเกาะเล็กๆ จึงได้ รับอิทธิพลจาก
ทะเล ทาให้ อากาศไม่ร้อนจัด ระหว่างเดือนพฤศจิกายน
ถึงเดือนมกราคม เป็ นช่วงที่ลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ พัดผ่าน ในระยะนี ้จึงมีอากาศ
ค่อนข้ างเย็น
5. เมืองหลวง
สิงคโปร์
6. ประชำกร
สิงคโปร์ มีประชากร 4.2 ล้ านคน
(ชาวจีน 76% ชาวมาเลย์ 13.7% ชาว
อินเดีย 8.4% และอื่นๆ 1.9% ) ซึง่ อยูก่ นั
โดยไม่มีปัญหา ความขัดแย้ งด้ านเชื ้อ
ชาติ นอกจากนี ้สิงคโปร์ ยงั เป็ นประเทศ
ในเอเชียที่มีการวางแผนครอบครัวได้ ดี
มาก จนทาให้ จานวนประชากรลดลง
และก่อให้ เกิดปั ญหาการขาดแคลน
แรงงานในอนาคต
7. กำรเมืองกำรปกครอง
สิงคโปร์ แยกตัวออกจากมาเลเซียเมื่อปี พ.ศ. 2508 มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็ น ประมุข
ทางพิธีการ และมีนายกรัฐมนตรี เป็ นประมุขทางด้ านบริหาร สิงคโปร์ เป็ นประเทศที่มีความมัน่ คงทางการเมืองมากที่สดุ
ประเทศหนึ่งของโลก มีรัฐบาลที่มาจากพรรคเดียวและเป็ นรัฐบาลเสียงข้ างมาก มีการควบคุมสิทธิเสรี ภาพของ
สื่อสารมวลชนและประชาชนในการวิพากษ์ วิจารณ์รัฐบาลอย่างค่อนข้ างเข้ มงวด ประธานาธิบดีคนปั จจุบนั คือ นายเซลลา
ปั น รามานาทาน
8. ภำษำ
ภาษาทางราชการ คือ ภาษามาเลย์ จีนกลาง ทมิฬ และอังกฤษ สิงคโปร์ สง่ เสริมให้ ประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะ
จีนกลาง ในขณะที่ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่ใช้ ในการติดต่องานและในชีวิตประจาวัน
9. ศำสนำ
ประเทศสิงคโปร์ ไม่มีศาสนาประจาชาติ ประชาชนแยกกันนับถือศาสนาตามเชื ้อชาติ แต่สว่ นใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธ
มุสลิม ฮินดู คริสต์เตียน โดยประชาชน 51% นับถือศาสนาพุทธ ลัทธิเต๋าและขงจื๊อ 15% นับถือศาสนาอิสลาม 4% นับ
ถือศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู 15 % นับถือศาสนาคริสต์ และร้ อยละที่เหลือคือลัทธิอื่นๆ
10. สกุลเงิน
เงินตรำ สกุลดอลลำร์ สิงคโปร์ 1 ดอลลำร์ สิงคโปร์ คิดเป็ นเงินไทย
ประมำณ 22.7 บำท
http://203.172.179.24/historysk1/his4/asean9.htm
คาทักทายประเทศสิ งคโปร์
หนีห่ำว
สำรบัญ
http://krukanidta.wordpress.com/clipart-asean/
รำชอำณำจักรไทย
(Kingdom of Thailand)
1.ที่ตัง้ อำณำเขต
ที่ตงของประเทศไทย
ั้
ตังอยู
้ ่ในคาบสมุทรอินโดจีน อยู่ใน
ทวีปเอเซียในดินแดนที่เรี ยกว่า "ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียง
ใต้ "
ทิศเหนือ อยู่ที่ละติจดู 20 องศา 27 ลิบดาเหนือ
ทิศใต้ อยู่ที่ละติจดู 5 องศา 37 ลิบดาเหนือ
ทิศตะวันออก อยู่ที่ละติจดู 105 องศา 37 ลิบดาตะวันออก
ทิศตะวันตก อยู่ที่ละติจดู 97 องศา 22 ลิบตาตะวันออก
2. พืน้ ที่
ขนาด ประเทศไทยมีเนื ้อที่ประมาณ 513,115.06 ตารางกิโลเมตร
(198,454 ตารางไมล์) มีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ คือ รองจากอินโดนีเซียและพม่า ส่วนที่กว้ างที่สดุ ของ
ไทย มีความยาวประมาณ 750 กิโลเมตร คือ จากด่านเจดีย์สามองค์
อาเภอสังขละบุรีจงั หวัดกาญจนบุรี ถึงช่องเม็ก อาเภอพิบลู มังสาหาร
จังหวัดอุบลราชธานี สาหรับส่วนที่แคบที่สดุ มีความกว้ างประมาณ 10.6
กิโลเมตร อยูใ่ นเขตอาเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ และความยาว
จากเหนือสุดจากอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ถึงอาเภอเบตง จังหวัด
ยะลา มีความยาวประมาณ 1,640 กิโลเมตร
3. ลักษณะภูมปิ ระเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของไทย แบ่งออกได้ เป็ น 6 ภาค
1. ภำคเหนือ
2. ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ
3. ภำคกลำง
4. ภำคตะวันออก
5. ภำคตะวันตก
6. ภำคใต้
4. ลักษณะภูมิอำกำศ
ประเทศไทยอยูภ่ ายใต้ อิทธิพลของมรสุมสองชนิด คือ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และ
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
1. มรสุมตะวันตกเฉียงใต้
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดปกคลุมประเทศไทยระหว่างกลางเดีอนพฤษภา
คมถึง กลางเดือนตุลาคมโดยมีแหล่งกาเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงในซีก
โลกใต้ บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ซึง่ พัดออกจากศูนย์กลางเป็ นลมตะวันออกเฉียง
ใต้ และเปลี่ยนเป็ น ลมตะวันตกเฉียงใต้ เมื่อพัดข้ ามเส้ นศูนย์สตู ร มรสุมนี ้จะนา
มวลอากาศชื ้นจากมหาสมุทรอินเดีย มาสูป่ ระเทศไทย ทาให้ มีเมฆมากและฝนตก
ชุกทัว่ ไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามบริเวณชายฝั่ งทะเล และเทือกเขาด้ านรับลมจะมี
ฝนมากกว่าบริเวณอื่น
2. มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
หลังจากหมดอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ แล้ ว ประมาณกลางเดือน
ตุลาคมจะมีมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทยจนถึงกลางเดือน
กุมภาพันธ์ มรสุมนี ้มีแหล่งกาเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกเหนือ
แถบประเทศมองโกเลียและจีน จึงพัดพาเอามวลอากาศเย็นและแห้ งจาก
แหล่งกาเนิดเข้ ามาปกคลุมประเทศไทย ทาให้ ท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวเย็นและ
แห้ งแล้ งทัว่ ไป โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคใต้ จะ
มีฝนชุกโดยเฉพาะภาคใต้ ฝั่งตะวันออก เนื่องจากมรสุมนี ้นาความชุ่มชื ้นจากอ่าว
ไทยเข้ ามาปกคลุม
ฤดูกำล
ประเทศไทยโดยทัว่ ๆ ไปสามารถ
แบ่งออกได้ เป็ น 3 ฤดู ดังนี ้
- ฤดูร้อน ระหว่างกลางเดือน
กุมภาพันธ์ถงึ กลางเดือนพฤษภาคม
- ฤดูฝนระหว่างกลางเดือน
พฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม
- ฤดูหนำว ระหว่างกลางเดือน
ตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์
5. เมืองหลวง
กรุงเทพมหำนคร เป็ นเมืองหลวง พื ้นที่เมืองขนาดใหญ่ที่สดุ และ
เป็ นเมืองหลักที่มีประชากรมากที่สดุ ของประเทศไทย รวมทังเป็
้ น
ศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการ
ธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญก้ าวหน้ าด้ านอื่น ๆ ของ
ประเทศ นอกจากนี ้ยังเป็ นเมืองที่มีชื่อยาวที่สดุ ในโลกอีกด้ วย มีแม่น ้า
สาคัญคือ แม่น ้าเจ้ าพระยาไหลผ่าน ทาให้ แบ่งเมืองออกเป็ น 2 ฝั่ ง คือฝั่ ง
พระนครและฝั่ งธนบุรี โดยกรุงเทพมหานครมีพื ้นที่ทงหมด
ั้
1,568.737
ตารางกิโลเมตรกรุงเทพมหานครเป็ นเขตปกครองพิเศษของประเทศไทย
โดยมิได้ มีสถานะเป็ นจังหวัด ซึง่ คาว่า กรุงเทพมหานคร นัน้ ยังใช้ เป็ นคา
เรี ยกสานักงานปกครองส่วนท้ องถิ่นของกรุงเทพมหานครอีกด้ วย ปั จจุบนั
กรุงเทพมหานครใช้ วิธีการเลือกตังผู
้ ้ บริหารแบบการเลือกตังผู
้ ้ บริหาร
ท้ องถิ่นโดยตรง
ใน พ.ศ. 2552 กรุงเทพมหานครเป็ นเมืองค่าครองชีพสูงสุดอันดับ 2
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากสิงคโปร์ กรุงเทพมหานครมีสถานที่
ท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น พระบรมมหาราชวัง พระที่นงั่ วิมานเมฆและวัด
ต่าง ๆ ซึง่ ดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศประมาณ 11 ล้ านคนในแต่
ละปี นับเป็ นเมืองที่มีนกั ท่องเที่ยวต่างประเทศมากที่สดุ รองจากปารี สและ
ลอนดอน
6. ประชำกร
จานวนประชากรประเทศไทย 64.7 ล้ านคน (2551) ตามการประมาณของ CIA
The World Factbook เมื่อปี พ.ศ. 2553 ประชากรทังหมดของประเทศไทยมี
้
ประมาณ 66,404,688 คน ประกอบด้ วยไทยสยามประมาณร้ อยละ 75 ไทยเชื ้อสายจีนร้ อย
ละ 14 ไทยเชื ้อสายมลายูร้อยละ 3 ประเทศไทยประสบปั ญหาอัตราการเกิดต่ากว่ามาตรฐาน
โดยที่ในปี พ.ศ. 2551 อัตราการเกิดของประชากรอยูท่ ี่ 1.5% และมีแนวโน้ มที่จะลดลงเหลือ
เพียง 1.45% ในปี พ.ศ. 2568 ซึง่ มีสาเหตุมาจากอัตราการคุมกาเนิดที่เพิ่มสูงขึ ้น โดยคิดเป็ น
81% ในปี พ.ศ. 2551 ซึง่ เมื่อประกอบกับอัตราการตายที่ลดลงในศตวรรษที่ผา่ นมา ทาให้
ประเทศไทยจะมีประชากรสูงวัยมากขึ ้นในอนาคต
ในประเทศไทยถือได้ วา่ มีความหลากหลายทางเชื ้อชาติ โดยมีทงั ้ ชาวไทย ชาวไทยเชื ้อ
สายลาว ชาวไทยเชื ้อสายมอญ ชาวไทยเชื ้อสายเขมร รวมไปถึงกลุม่ ชาวไทยเชื ้อสายจีน ชาว
ไทยเชื ้อสายมลายู ชาวชวา (แขกแพ) ชาวจาม (แขกจาม) ชาวเวียด ชาวพม่า และชาวไทย
ภูเขาเผ่าต่าง ๆ เช่น ชาวกะเหรี่ ยง ลีซอ ชาวม้ ง ส่วย เป็ นต้ น ในปี พ.ศ. 2553 ตามข้ อมูลของ
สภาความมัน่ คงแห่งชาติ ประเทศไทยมีแรงงานต่างด้ าวถูกกฎหมายอยู่ 1.4 ล้ านคน โดยมีอีก
เท่าตัวที่ยงั ไม่ได้ ขึ ้นทะเบียน ตามข้ อมูลการอพยพระหว่างประเทศของสหประชาชาติ ระบุวา่
ในปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยมีผ้ อู พยพเข้ ามาอาศัยอยูจ่ านวน 1.05 ล้ านคน คิดเป็ น 1.6%
ของจานวนประชากร
ประเทศไทยมีการแบ่งแยกเชื ้อชาติและชาติพนั ธุ์น้อยกว่าเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อน
บ้ านมาก โดยสนับสนุนความเป็ นอิสระในแต่ละเชื ้อชาติ ได้ มีนกั วิชาการตะวันตกเขียนเอาไว้
ว่า ประเทศไทยเป็ น "สังคมที่มีโครงสร้ างอย่างหลวม ๆ
7. กำรเมืองกำรปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
8. ศำสนำ
ประมาณร้ อยละ 95 ของประชากร
ไทยนับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ซึง่
เป็ นศาสนาประจาชาติโดยพฤตินยั
แม้ วา่ ยังจะไม่มีการบัญญัติใน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยก็ตาม
ศาสนาอิสลามประมาณร้ อยละ 4 ซึง่
ส่วนใหญ่เป็ นชาวไทยทางภาคใต้
ตอนล่าง ศาสนาคริสต์และศาสนาอื่น
ประมาณร้ อยละ 1
9. ภำษำ
ประเทศไทยมีภาษาไทยเป็ นภาษาทางการ
และเป็ นภาษาหลักที่ใช้ ติดต่อสื่อสาร
การศึกษาและเป็ นภาษาพูดที่ใช้ กนั ทัว่ ประเทศ
โดยใช้ อกั ษรไทยเป็ นรูปแบบมาตรฐานในการ
เขียน ซึง่ ประดิษฐ์ ขึ ้นอย่างเป็ นทางการในสมัย
สุโขทัยโดยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
นอกเหนือจากภาษาไทยกลางแล้ ว ภาษาไทย
สาเนียงอื่นยังมีการใช้ งานในแต่ละภูมิภาคเช่น
ภาษาไทยถิ่นเหนือในภาคเหนือ ภาษาไทยถิ่น
ใต้ ในภาคใต้ และภาษาไทยถิ่นอีสานในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
11. สกุลเงิน : บาท (Baht : THB)
http://203.172.179.24/historysk1/his4/asean2.htm
คาทักทายประเทศไทย
สวัสดี
สำรบัญ
http://krukanidta.wordpress.com/clipart-asean/
สำธำรณรัฐสังคมนิยมเวียดนำม
(The Socialist Republic of Vietnam)
1. ที่ตงั ้ อำณำเขต
เวียดนาม มีแหล่งที่ตั ้งอยู่ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เวียดนาม มีพรมแดนติดต่อกับ 3 ประเทศ ดังนี ้
ทิศเหนือ ติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็ นระยะทาง
1,281 กิโลเมตร
ทิศใต้ ติดกับทะเลจีนใต้
ทิศตะวันตก ติดกับ สปป.ลาว เป็ นระยะทาง 2,130
กิโลเมตร กัมพูชา เป็ นระยะทาง 1,228 กิโลเมตรและ อ่าวไทย
ทิศตะวันออก ติดกับอ่าวตังเกี๋ย และทะเลจีนใต้
2. พืน้ ที่
เวียดนาม มีพื ้นที่ 331,033 ตารางกิโลเมตร หรื อคิดเป็ น 0.645 เท่าของ ประเทศไทย ประเทศมีลกั ษณะเป็ นแนวยาว โดยมี
ความยาวจากเหนือจรดใต้ 1,650 กิโลเมตร ขนานไปตามแนวยาวของคาบสมุทรอินโดจีน นอกจากนี ้ ยังมีไหล่เขาและหมู่เกาะ
ต่างๆ อีกนับพันเกาะเรี ยงรายตังแต่
้ อ่าวตังเกี๋ยไปจนถึงอ่าวไทย
3. ลักษณะภูมิประเทศ
เวียดนามมีลกั ษณะภูมิประเทศเป็ น
ที่ราบลุม่ แม่น ้าขนาดใหญ่ 2 ตอน คือ
ตอนเหนือ เป็ นที่ราบลุม่ แม่น ้าแดง และ
ตอนใต้ เป็ นที่ราบลุม่ แม่น ้าโขง และมีที่
ราบสูงตอนเหนือของประเทศ และยัง
เป็ นภูมิภาคที่มี เขาฟาน ซี ปั ง(Phan
Xi Pung) ซึง่ เป็ นภูเขาที่สงู 3,143
เมตร (10,312 ฟุต) ตังอยู
้ ใ่ นจังหวัดเล่า
ไค ซึง่ เป็ นยอดเขาที่สงู ที่สดุ ในอินโดจีน
4. ลักษณะภูมอิ ำกำศ
เวียดนาม มีสภาพภูมิอากาศเป็ นแบบ
มรสุมเขตร้ อน ชายฝั่ งทะเลด้ านตะวันออกเปิ ด
โล่งรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พดั ผ่าน
ทะเลจีนใต้ ทาให้ มีโอกาสรับลมมรสุมและพายุ
หมุนเขตร้ อน จึงมีฝนตกชุกในฤดูหนาว โดยฝน
จะตกตลอดปี เนื่องจากได้ รับอิทธิพลจากลม
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มีความชื ้น
ประมาณร้ อยละ 84 ตลอดปี และมีอณ
ุ หภูมิ
เฉลี่ยตังแต่
้ 5- 37 องศาเซลเซียส
5. เมืองหลวงและเมืองที่สำคัญ
- กรุ งฮำนอย (Hanoi) เป็ นเมืองหลวงของเวียดนาม และมีเมืองที่สาคัญคือ นครโฮจิมนิ ห์ ไฮฟอง และ
ดานัง โดย
- นครโฮจิมินห์ เป็ นเมืองที่ใหญ่ที่สดุ ของเวียดนาม เดิมชื่อเมืองไซ่ง่อนและเป็ นศูนย์กลางการค้ า การสื่อสาร และการ
ขนส่งของเวียดนาม
- ไฮฟอง เป็ นเมืองค้ าขายทางทะเลหลักของภาคเหนือ และเป็ นเมืองศูนย์กลางการติดต่อกับศูนย์กลางอื่นๆ ของ
ประเทศและต่างประเทศ
- ดำนัง เป็ นหนึ่งในสามศูนย์กลางของวัฒนธรรมที่อยูอ่ าศัยที่เป็ นที่ร้ ูจกั ของโลก มีท่าเรื อและท่าอากาศยานนานาชาติ
6. ประชำกร
เวียดนามมีประชากร 85.79 ล้ านคน
(เมษายน 2552) ประกอบด้ วย
- เวียด คิดเป็ นร้ อยละ 80.00 ของ
ประชากรทังหมด
้
- เขมร คิดเป็ นร้ อยละ 10.00 ของ
ประชากรทังหมด
้
(บริเวณสามเหลี่ยมปาก
แม่น ้าโขงทางตอนใต้ ของประเทศ)
ต่าย คิดเป็ นร้ อยละ 1.90 ของประชากร
ทังหมด
้
- ไท คิดเป็ นร้ อยละ 1.74 ของประชากร
ทังหมด
้
7. กำรเมืองกำรปกครอง
เวียดนามปกครองด้ วยระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็ นองค์กรที่มีอานาจ สูงสุดเพียงพรรคการเมืองเดียว ผูกขาดการชี ้นา
ภายใต้ ระบบผู้นาร่วม (Collective leadership) ที่คานอานาจระหว่างกลุ่มผู้นา ได้ แก่
1. กลุ่มปฏิรูป ที่สนับสนุนการเปิ ดเสรี ทางเศรษฐกิจ นาโดยอดีตนายกรัฐมนตรี ฟาน วัน ขาย
2. กลุ่มอนุรักษ์ นิยม ซึง่ ต่อต้ านหรื อชะลอการเปิ ดประเทศ เพราะเกรงภัยของ “วิวฒ
ั นาการที่สนั ติ” peaceful evolution) อัน
เนื่องมาจากการเปิ ดประเทศ
3. กลุ่มที่เป็ นกลำง ประนีประนอมระหว่างสองกลุ่มแรก นาโดยอดีตประธานาธิบดี เจิ่น ดึก๊ เลือง ส่งผลให้ รัฐบาลเวียดนามต้ องปรับ
แนวทางการบริหารประเทศให้ ยืดหยุ่นและเปิ ดกว้ างมากขึ ้น แต่ก็ไม่สามารถดาเนินไปได้ ในย่างก้ าวที่รวดเร็วนัก
เขตกำรปกครอง
เวียดนาม แบ่งเขตการปกครองออกเป็ น 59 จังหวัด
และ 5 เทศบาลนคร โดย 5 เทศบาลนคร ประกอบด้ วย
ฮานอย โฮจิมินห์ ไฮฟอง ดานัง และคันทอ
้
8. ภำษำ
เวียดนำม ใช้ ภาษาเวียดนามเป็ นภาษาประจาชาติ ประชากรเวียดนามถึง 87% มีผ้ พู ดู มาก
ที่สดุ ถึง 87%(10 เท่า ของภาษา ที่มีจานวนคนพูดเป็ นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร)
9. ศำสนำ
เวียดนาม ไม่มีศาสนาประจาชาติของตนเอง มีแต่ลทั ธิขงจื ้อและเต๋าตามอย่างชาวจีน เมื่อครัง้ ยังอยู่ในดินแดนจีนทางใต้ ชาว
เวียดนามมีความเชื่อ และนับถือดวงวิญญาณบรรพบุรุษ มีการเซ่นไหว้ ดวงวิญญาณของผู้ตายโดยถือ"คนตายปกครองคนเป็ น"
ชาวเวียดนามนับถือศาสนาเป็ นแบบผสมคล้ ายจีนคือ ส่วนใหญ่นบั ถือลัทธิเต๋า (Taoism) และศาสนาพุทธ นอกจากนันมี
้ นบั
ถือศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาธอลิค เกาได๋ (Coa Dai) ฮัวเหา (Hoa Hao) และขงจื ้อ ส่วนศาสนาฮินดู และศาสนาอิสลาม
มีผ้ นู บั ถือน้ อยมาก
10. สกุลเงิน
ด่อง อัตรำแลกเปลี่ยน อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 555.55 ด่อง ต่อ 1 บาท
(ธันวาคม 2552)
http://203.172.179.24/historysk1/his4/asean10.htm
คาทักทายประเทศเวียดนาม
ซินจ่ ำว
สำรบัญ
http://krukanidta.wordpress.com/clipart-asean/