ศักยภาพและปัญหาทางการเกษตรของข้าว

Download Report

Transcript ศักยภาพและปัญหาทางการเกษตรของข้าว

ศ ักยภาพและ
ปั ญหาทางการ
เกษตรของข้าว
ประเด็นสาคัญ
่ าจับตามองทีสุ
่ ดในฐานะ
เวียดนาม คือ ประเทศทีน่
คูแ
่ ข่งของไทยในปั จจุบน
ั
 เวียดนามสามารถผลิตข ้าวได ้มากเป็ นอันดับสองของอาเซียน
 มีผลิตผลิตต่อไร่สงู กว่าไทยมาก
 มีตลาดส่งออกหลักเช่นเดียวกับไทย
ปั จจัยในการผลิตข้าวของไทยมีศ ักยภาพดีกว่า
เวียดนาม แต่ตน
้ ทุน
่
ในการผลิตของเวียดนามตากว่
าไทยทาให้ราคา
ส่งออกข้าวของเวียดนามถูกกว่า
ศ ักยภาพด้านการผลิตข้าว
ศ ักยภาพด้านการส่งออกข้าว
จุด
แข็ง
จุดอ่
อน
การวิเคราะห ์เปรียบเทียบศ ักยภาพข้าว
ของไทยกับเวียดนาม
ตลาดข ้าวขาวอาเซียน ในปี 2552 เวียดนามอยู่
่ ศก
ในสถานะท าเงิน ซึงมี
ั ยภาพในการแข่ ง ขัน ปาน
กลาง แต่ ก าลัง อยู่ ใ นภาวะชะลอตัว และเวีย ดนาม
ยังคงสามารถครองตลาดขา้ วขาวอาเซียนเนื่ องจาก
ราคาข า้ วถูก กว่ า ประเทศคู่แ ข่ ง อื่นๆ และมีป ริม าณ
ก
า
ร
ผ
ลิ
ต
่
อ้ งการของผูซ
้ อื ้ สาหรบั ขา้ วของ
ทีตอบสนองความต
่ กเวียดนามแย่งตาแหน่ งผูน้ าตลาด
ไทยทีถู
้ เพาะปลู
่
ตาราง : เนื อที
กข้าว ผลผลิตต่อไร่
และผลผลิต
ข้าวสารของอาเซียน
การส่งออกข้าวไทยในตลาดอาเซียน
การส่งออกข้าวเวียดนามในตลาดอาเซียน
สรุปข้อเปรียบเทียบศ ักยภาพของข้าวไทย
กับเวียดนาม
้ั
มีทงหมด
5 ด้าน
1.
2.
3.
4.
5.
ด้านปั จจัยการผลิต
ด้านกลยุทธ ์การแข่งขัน
ด้านอุปสงค ์และความต้องการของตลาด
่ อมโยงและสนั
่
ด้านอุตสาหกรรมทีเชื
บสนุ นกัน
ด้านนโยบายของภาคร ัฐ
สรุปข้อเปรียบเทียบศ ักยภาพของข้าวไทย
กับเวียดนาม
1. ด้านปั จจัยการ
ผลิต
สรุปข้อเปรียบเทียบศ ักยภาพของข้าวไทย
กับเวียดนาม
2. ด้านกลยุทธ ์การ
แข่งขัน
3. ด้านอุปสงค ์
และความ
ต้องการของ
ตลาด
สรุปข้อเปรียบเทียบศ ักยภาพของข้าวไทย
กับเวียดนาม
4. ด้าน
อุตสาหกรรม
ที่
่
เชือมโยงและ
สนับสนุ น
5. ด้านอุปสงค ์
และความ
ต้องการของ
ตลาด
่ สรุปจาก อัทธ ์ พิศาลวานิ ช และคณะ (2554)
ทีมา:
้
นโยบายศ ักยภาพข้าวไทยทังระบบ
รวมกลุ่ม กัน ระหว่า งชาวนา ผู ป
้ ระกอบการโรงสี
ข ้าว ผูส้ ่งออก รวมถึงตัวแทนจากหน่ วยงานภาคร ฐั ที่
่
่ ดตังเป็
้ นองค ์กรอิสระทีดู
่ แลข ้าวไทยทัง้
เกียวข
้อง เพือจั
ระบบ ตั้งแต่ ร ะดับ การผลิ ต การแปรรู ป และการ
่ ้การดาเนิ นงานในทุกส่วนสอดคล ้องกับ
ส่งออก เพือให
ความต อ้ งการของตลาด ตลอดจนนโยบายของ
่ ้ทุกหน่ วยงาน
ภาคร ัฐ ราคา และด ้านการตลาด เพือให
ที่ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น
การแกป้ ั ญหาแสดงความคิดเห็ น เสนอแนะแนวทาง
แก ไ้ ข และเข า้ ใจสถานการณ์ข า้ วของไทยอย่ า ง
ปั ญหาข้าว ไทย
ปั ญ หาของข้า วไทยมีมากมายหลายอย่าง
้ั
ตงแต่
 ปัญหาด ้านการผลิต
 ปัญหาประสิทธิภาพทางการผลิตตกต่า
่ ตไดม้ ีคุณภาพต่าเนื่ องจากพันธุ ์ที่
 ปั ญหาจากข า้ วทีผลิ
ปลูกไม่เหมาะสมกับ
้ ่
สภาพพืนที
 ปัญหาด ้านการตลาด
 ปัญหาการบริหารจัดการของนโยบายร ัฐบาล
ปั ญหาประสิทธิภาพทางการผลิต
่
ตกตา
้ ่ ท าให ผ
พัน ธุ ท์ ี่ปลู กไม่ เ หมาะกับ สภาพพืนที
้ ล
่ และมีการปะปนกันในระหว่าง
ผลิตมีคุณภาพเปลียน
ข า้ วพัน ธุ ต์ ่ า งกัน เนื่ องจากมี พ ัน ธุ ห์ ลากหลายใน
แหล่งเพาะปลูกเดียวกัน
ปั ญหาด้านการตลาด
่
่
การทีผลผลิ
ตขา้ วมีการเก็บเกียวพร
้อมกันในระยะเวลา
้ ทาใหเ้ กิดปั ญหาราคาข า้ วเปลือกตกต่ า แถมข า้ วไทย
สันๆ
ขาดการวางระบบการตลาดที่เหมาะสม ท าใหร้ าคาข า้ วใน
ป ร ะ เ ท ศ ถู ก ก า ห น ดโ ด ย ร า ค า ใ น ต ล า ดโ ล ก ท า ใ ห ้ขี ด
ความสามารถในการแข่งขันส่งออกขา้ วไทยมีแนวโน้มลดลง
การดาเนิ นการดา้ นการตลาดในการรกั ษาตลาดเก่าและหา
ตลาดใหม่ ขาดประสิท ธิภ าพ ไม่ ส ามารถแข่ง กับ ประเทศผู ้
ส่งออกขา้ วรายใหม่ได ้ ประเทศไทยจึงสูญเสียความสามารถ
ในการแข่งขันในตลาดขา้ วคุณภาพดีใหก้ บ
ั ประเทศผูส้ ่ งขา้ ว
ออกต่างประเทศรายใหม่
่ าคัญก็คอ
ทีส
ื เราขาดการวิจย
ั และพัฒนาในการ
่
สร า้ งมู ล ค่ า เพิ่มในเรืองข้
า ว โดยเฉพาะการแปรรู ป
่
ปั ญหาการบริหารจัดการของ
นโยบายร ัฐบาล
่
รฐั ใหค้ วามสาคัญกับการแกไ้ ขปัญหาเรืองราคา
ข า้ วตกต่ ามากกว่ า การลดต น
้ ทุน การผลิต และการ
่ คณ
ผลิตข ้าวทีมี
ุ ภาพดี ทาให ้มาตรการด ้านการผลิต
้
ไม่ ไดร้ บั งบประมาณดาเนิ นการทังทางด
า้ นวิจยั และ
พัฒนา พันธุ ์ ปุ๋ ย ดิน และการหาแหล่งน้าชลประทาน
่ จะบรรลุ
่
่ ้องการได ้
เพือที
ผลตามทีต
้ เพาะปลู
่
ระบบชลประทานในพืนที
ก
มีจากัด
ใ น ปั จ จุ บั น มี ร ะ บ บ ช ล ป ร ะ ท า น อ ยู่ ใ น พื ้น ที่
เ พ า ะ ป ลู ก ข ้ า ว เ พี ย ง
้ ่ปลู ก ข า้ วทังหมดของประเทศ
้
ร ้อยละ 32 ของพืนที
่
้าฝนเป็ นหลัก ซึงพื
่ นที
้ ่
ส่วนอีกร ้อยละ 68 ต ้องพึงพาน
ปลู ก ข า้ วที่ไม่ มีร ะบบชลประทานส่ ว นใหญ่ จ ะอยู่ ใ น
ภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ และภาคเหนื อของไทย
่ ยดนามมีระบบชลประทานกระจายอยู่ใน
ในขณะทีเวี
้ เพาะปลู
่
้ เพาะปลู
่
พืนที
กมากถึงร ้อยละ 50 ของพืนที
ก
ข ้า ว ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ ท า ใ ห ้เ ก ษ ต ร ก ร ที่ อ ยู่ ใ น เ ข ต
้ั อปี
ชลประทานสามารถปลูกข ้าวได ้ 2-3 ครงต่
ราคาส่งออกข้าวไทยสู งกว่าประเทศ
่
เพือนบ้
าน
เมื่อพิจ ารณาเปรีย บเทียบราคาส่งออกขา้ วของ
่
่
ไทยกับประเทศเพือนบ
า้ นในอาเซียน ทีสามารถผลิ
ต
้
า ลาว กัมพูชา และเวียดนาม
และส่งออกขา้ วทังพม่
ราคาข า้ วของไทยถือ ว่ า อยู่ ใ นระดับ ที่ค่ อ นข า้ งสู ง
่
่ นคูแ่ ข่ง
โดยเฉพาะเมือเปรี
ยบเทียบกับเวียดนาม ซึงเป็
่ าคัญของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก ซึง่
ทีส
่ ่ากว่าไทยค่อนข ้างมากถือ
ราคาข ้าวของเวียดนามทีต
่ าใหเ้ วียดนามสามารถ
ว่าเป็ นจุดแข็ งและจุดขายทีท
้
แย่งตลาดขา้ วในหลายประเทศทังในและนอกอาเซี
ยน
จากไทย