สมุททานุภาพทางทะเล - Tanit Sorat V

Download Report

Transcript สมุททานุภาพทางทะเล - Tanit Sorat V

ความมั่นคงทางทะเล
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
ประธานกรรมการ V-SERVE GROUP
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
วันที่ 19 กรกฎาคม 2555 ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
1
ความมั่นคงทางทะเล (Sea Security)
ความหมาย :
• ความมัน่ คงแห่ งรัฐและอธิปไตยแห่ งชาติ ซึ่ งอาจมาจากภัยคุกคามทางทะเล มีผล
ต่อความมัน่ คงของประเทศ
• ภัยคุ กคามทางเศรษฐกิจ ซึ่ งเกี่ ยวข้องกับความมัน่ คงทางทะเล ทั้งทางตรงและ
ทางอ้อ ม รวมทั้ง การดู แ ล คุ ้ม ครองทรั พ ยากรทางธรรมชาติ ท างทะเล และ
ผลประโยชน์ทางทะเล
• การคุกคาม หรื อริ ดรอนต่ อเส้ นทางการเดินเรื อ ทั้งเชิงพาณิ ชย์และทางทหาร ซึ่ ง
กระทบทางเศรษฐกิจและความมัน่ คงแห่งชาติ
(ธนิต โสรัตน์, 2012)
2
ประเทศไทยมี พื้น ที่ ช ายฝั่ ง ทะเล ทั้ ง ฝั่ ง
อ่ าวไทยและอันดามันรวมเป็ นระยะทาง
2,614 กิโลเมตร
• ด้ านอ่าวไทย 1,660 กิโลเมตร
• ด้ านอันดามัน 954 กิโลเมตร
ท่าเรื อสาคัญของไทย
• ท่าเรื อแหลมฉบัง
• ท่าเรื อคลองเตย
• ท่าเรื อมาบตาพุด
• ท่าเรื อสงขลา
• ท่าเรื อปากบารา
3
ประเทศไทยมีพนื้ ที่ทับซ้ อนทางทะเลกับประเทศเพือ่ นบ้ าน
ท่ าเรือจิ่งหง
จ้ าวผิว(ยะไข่ )
ท่ าเรือดานัง
ท่ าเรือเมาะลาไย
ท่ าเรือแหลมฉบัง
ท่ าเรือทวาย
ท่ าเรือระนอง
ท่ าเรือกรุ งเทพ
ท่ าเรืสตูล
ท่ าเรือไซ้ ง่อน
ท่ าเรือสงขลา
ท่ าเรือปี นัง
ท่ าเรือสิ งคโปร์
ท่ าเรือกรัง
ท่ าเรือตันจุง เพเลพาส
4
ความมั่นคงทางทะเลเกีย่ วข้ องกับสมุททานุภาพ (SEA POWER)
• สมุททานุ ภาพ (Sea Power) คือขีดความสามารถของรัฐที่จะสามารถ
ดาเนิ นการนาเอาสิ่ งที่เป็ นคุณประโยชน์จากทะเลใช้ให้เกิดเป็ นพลังส่ วน
หนึ่ งของกาลังอานาจแห่ งชาติ ยุทธศาสตร์ เป็ นวิชาการเตรี ยมการสงคราม
และยุทธวิธีเป็ นวิชาใช้กาลังเมื่อปะทะกับข้าศึก
5
ทาไมสมุททานุภาพทางเศรษฐกิจจึงเกีย่ วข้ องกับความมั่นคงทางทะเล
1. พื้นที่โลกร้อยละ 70 เป็ นทะเลที่ต้ งั ของเมืองอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และท่าเรื อของโลก
2. ทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็ นต่อการดารงชีวติ และเศรษฐกิจ กว่าร้อยละ 60-70 อยูใ่ นทะเลและใต้พ้นื
ทะเล
3. พื้นที่ชายฝั่งและอ่าว-เกาะแก่งในทะเล เป็ นทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวที่สาคัญและเป็ นที่ตอ้ งการของ
ทุกประเทศ
4. มหาสมุทรและทะเลเปิ ดเป็ นเส้นทางที่ไม่ตอ้ งลงทุนในการก่อสร้าง
5. สิ นค้าร้อยละ 90-95 ขนส่ งทางทะเลและเป็ นต้นทุนที่ประหยัดที่สุดเมื่อเทียบกับการขนส่ งประเภทอื่นๆ
6. การค้าโลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่ งผลให้มีการขนส่ งทางทะเลเพิ่มมากขึ้นทาให้มีการปกป้ องเส้นทาง
เดินเรื ออาจเป็ นประเด็นความขัดแย้งทางทหาร
7. ประเทศต่างๆ แข่งขันในการพัฒนาท่าเรื อ-กองเรื อและปกป้ องหรื อต้องการยึดครองพื้นที่ทางทะเลเพื่อ
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
8. การประกาศเขตเศรษฐกิจจาเพาะ (EEZ: Exclusive Economic Zone) และการประกาศ Baseline เขต
แดนทางทะเลฝ่ ายเดียว ทาให้มีการละเมิดและอ้างสิ ทธิการเป็ นเจ้าของ นาไปสู่การพิพาททางทะเล 6
ความมัน่ คงทางทะเลเกีย่ วข้ องกับความเชื่อมัน่ ทางเศรษฐกิจ
• World Port Connectivity
• Sea Economic Corridor
• Food Security
• National Resources
• GAS & Energy Power
• Petro-Chemical Industries
• Tourism
แหลมฉบังเป็ นท่าเรื อและประตูเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก
การนาเข้าส่ งออก 90%-95% ใช้การขนส่ งทางทะเล
มูลค่า 10.26 ล้านล้านบาท/ปี
ทะเลเป็ นแหล่งจับปลาและอาหารทะเล เป็ นความมัน่ คง
ทางอาหาร
แหล่งทรัพยากรทางทะเลแห่งชาติ
แหล่งแก๊สและน้ ามันของไทยส่ วนใหญ่อยูใ่ นอ่าวไทย
อุตสาหกรรมต้นน้ าที่เกิดจากการแยกและกลัน่ น้ ามัน
ต้องการท่าเรื อน้ าลึก
ชายฝั่งทะเลไทยเป็ นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญของโลก
(ปี 54 ไทยมีนกั ท่องเที่ยวประมาณ 20 ล้านคน)
ชายฝั่งของไทยอยูท่ ี่อยูใ่ นอ่าวไทยมักมีปัญหาการอ้างสิ ทธิ ความเป็ นเจ้าของ
กับประเทศเพื่อนบ้าน
7
มูลค่ าผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล (ต่ อปี )
(ล้านบาท)
มูลค่ าผลประโยชน์ แห่ งชาติทางทะเล
1. ส่ งออก
2. นาเข้า
2. แก๊สธรรมชาติในทะเลไทย (ผลิตได้ 3,200 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน)
3. อุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ
4. ทรัพยากรมีชีวิต (ปลาจากอ่าวไทย 27,803 ล้านบาท
หน่ วย : ล้ านบาท
8,316,000
7,878,000
205,000
341,061
42,758
เปอร์ เซนต์
554,400
49,786
17,387,005
3.19 %
0.28 %
100%
47.83 %
45.31 %
1.18 %
1.96 %
0.25 %
ปลาจากมหาสมุทรอินเดีย 14,954 ล้านบาท)
5. การท่องเที่ยว (มูลค่า 792,000 ล้านบาท/ ปี )
6. อื่นๆ
รวมมูลค่าผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล
8
ความมัน่ คงทางทะเล มีผลต่ อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
GDP ปี 55 : 11.572* ล้ านล้ านบาท
ภาคส่ งออก-นาเข้ า มีผลต่ อเศรษฐกิจไทย 138% ของ GDP
มีแรงงานอุตสาหกรรม 9.5 ล้านคน และแรงงานเกษตร 14.0 ล้านคน
ท่ องเทีย่ ว ลงทุน BOI
6.84% 4.80%
7.92 แสนล้ านบาท 5.56 แสนล้ านบาท
บริโภคภายใน
54%
10%
17.1-19.8%
70% ส่ งออก
8.316 ล้ านล้ านบาท
68% นาเข้ า
7.878 ล้ านล้ านบาท
การขนส่ งทางทะเล เป็ นร้ อยละ 95 ของการขนส่ งระหว่ างประเทศ
9
คาดการณ์ การขนส่ งทางทะเลระหว่ างประเทศ
ในอีก 5 ปี ข้ างหน้ าเพิม่ ขึน้ ร้ อยละ 40
ล้านเมตริ กตัน/ปี
สินค้าส่ งออก
สินค้านาเข้ า
ปี
คู่คา้ หลักด้านอ่าวไทย
คู่คา้ หลักด้านอันดามัน
คู่คา้ หลักด้านอ่าวไทย
คู่คา้ หลักด้านอันดามัน
2555
น้ าหนัก
25.69
น้ าหนัก
15.56
น้ าหนัก
21.94
น้ าหนัก
57.09
2560
36.03
21.82
30.77
80.08
2565
50.54
30.61
43.16
112.31
2570
70.88
42.93
60.53
157.52
2575
99.41
60.21
84.90
220.93
2580
139.43
84.45
119.08
309.87
สัดส่ วนการส่ งออก : คู่คา้ หลักด้านอ่าวไทย 62 % คู่คา้ หลักด้าอันดามัน 38 %
10
AEC … กับความมั่นคงและผลประโยชน์ ทางทะเลแห่ งชาติ
• Maritime Security Cooperation ความร่ วมมือเพือ่ ความมั่นคง
ทางทะเลของอาเซียน
ภัย คุ ก คามต่ อ ความมั่น คงและผลประโยชน์ ท ะเลระหว่ า งประเทศ
อาเซียน เช่น แหล่งแก๊สธรรมชาติไทย-มาเลเซีย ปัญหาอ้างคืนเกาะกูดและแหล่งน้ ามัน
Unname ของประเทศกัมพูชา รวมทั้งเส้นแบ่งเขตแดนทางทะเล เกาะสอง – ระนอง
• Maritime Economic Cooperation ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจด้ าน
ผลประโยชน์ ทางทะเล
ประเทศอาเซี ยน รวมทั้งไทย กัมพูชา มาเลเซี ย และเวียดนาม มีพ้ืนที่
ทับซ้อ นทางทะเล จ าเป็ นที่ จ ะต้องมี ข ้อตกลงการใช้ประโยชน์ร่ว มกัน ทั้ง ด้า นการ
ประมง และการขุดเจาะแก๊ส-น้ ามัน
• Maritime Route Cooperation การร่ วมมือด้ านการใช้ เส้ นทางเดินเรือร่ วมกัน
ภูมิภาคอาเซียนมีช่องแคบสาคัญ เช่น ช่องแคบมะละกา (Malacca Strait) เป็ นเส้นทางคมนาคมหลักทาง
ทะเลของภูมิภาคและของโลกในการเชื่ อมมหาสมุทร รวมทั้งช่ องแคบลอมบอก (Lombok Strait) ปลายเกาะชวา
ตะวันออกของอินโดนีเซีย และช่องแคบซุนดา (Sunda Strait) ระหว่างเกาะสุ มาตราและเกาะชวา เป็ นเส้นทางขนส่ งเรื อ
บรรทุกน้ ามัน
11
อาเซียนกับปัญหาความมัน่ คงด้ านเขตแดนทางทะเล
• การประกาศสิ ทธิ ทาให้พ้ืนที่เขตแดนทางทะเล มีการทับซ้อนกัน ต่างอ้างกรรมสิ ทธิ เช่น
หมู่เกาะสแปรตลีย ์ ซึ่งฟิ ลิปปิ นส์ เวียดนาม มาเลเซี ย บรู ไน นาไปสู่ การขัดแย้งกับประเทศจีน
โดยเฉพาะกรณี ของเวียดนาม
• อาเซี ยนกับกรณีพิพาทเขตแดนในทะเลจีนใต้ การเผชิ ญหน้า ระหว่างประเทศจีน
และฟิ ลิปปิ นส์ เกี่ยวกับน่านน้ ารอบแนวหิ นโสโครก “สการ์โบโรจ์” อันนาไปสู่ ความล้มเหลว
ในการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซี ยน ครั้งที่ 45 ณ กรุ งพนมเปญ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม
2555 ซึ่ งเป็ นครั้ งแรกในรอบ 45 ปี ที่ ก ารประชุ ม มี ก ารขัด แย้ง กัน จนไม่ ส ามารถออก
แถลงการณ์ใดๆ ได้
• การเสริ มสร้ างกองทัพเรื อของสมาชิ กอาเซี ยน นาไปสู่ การขาดสมดุลของ
ความมั่นคง (Unbalancing of Navy Power) เช่น กรณี มาเลเซีย สิ งคโปร์ และ
เวียดนาม มีกองกาลังเรื อดาน้ า และเสริ มกาลังทางอากาศ อาจนาไปสู่ ความขัดแย้งในอนาคต
• การประกาศเขต Baseline และ EEZ ของบางประเทศสมาชิ กอาเซี ยน
ก่อให้เกิดการขัดแย้งพิพาททางทะเล และจะทวีความรุ นแรงในอนาคต
• โจรสลัดและการลักลอบขนสิ นค้ าผิดกฎหมายทางทะเล Piracy and Illegality การปล้นเรื อสิ นค้าแถบช่อง
แคบมะละกา และโจรสลัดโซมาเลีย เป็ นภัยต่อความมัน่ คงด้านการขนส่ งสิ นค้า รวมทั้งการใช้พ้ืนที่ทางทะเลและชายฝั่ง เป็ น
แหล่งขนส่ งและขนถ่ายสิ นค้าผิดกฎหมาย เช่น ยาเสพติด อาวุธ สิ นค้าหนีภาษี และขนย้ายสิ นค้ามนุษย์ เป็ นภัยคุกคามทาง
12
เศรษฐกิจและความมัน่ คงแห่งชาติ
ศตวรรษที่ 21 ประเทศไทย บริบทเวทีการค้ าโลก
การเป็ นศูนย์ กลางการผลิตการค้ าและการลงทุนของภูมภิ าค
จาเป็ นต้ องอาศัยสมุททานุภาพทางเศรษฐกิจ
PRC
Develop Sister Cities
as a production bases
Chiang Rai
Myanmar
Lao PDR
Mukdahan -Savannakhet
MaeSod-Myawaddy
Danang
Yangon
Andaman
Sea Dawai
BKK.
Vietnam
Cambodia
Trad- Koh Kong
Hochiminh City
AEC
GMS
ACMECS
MJ-CI
BIMSTEC
IMT-GT
Gulf of
Thailand
Song-Kla
Pak-Bara
13
ผลประโยชน์ ของชาติทางทะเล ผลประโยชน์ ร่วมของเพือ่ นบ้ าน
1. ประเทศไทยมีชายฝั่ง 2 มหาสมุทร และอยูท่ ่ามกลางจีนและอินเดียเป็ นภูมิภาคที่เติบโตสูงสุ ดของโลก
2. เศรษฐกิจไทยพึ่งพิงความมั่นคงทางทะเลสู งสุ ด การขนส่ งทางทะเลส่ วนใหญ่อยู่ในอ่าวไทย เป็ น
ประตูนาเข้า-ส่ งออกน้ ามัน ขณะที่พ้นื ที่ชายฝั่งทางฝั่งตะวันตกอยูใ่ นภาคการท่องเที่ยว (กว่าร้อยละ 6065)
3. มูลค่ าผลประโยชน์ ทางทะเลของไทย ประมาณ 16.388 ล้ านล้ าน/ปี มีแท่นขุดเจาะแก๊สธรรมชาติใน
ทะเลไทย 265 แท่น เป็ นแหล่งอาหารทะเลของประเทศ ด้วยมูลค่ากว่า 42,000 ล้านบาท / ปี
4. อุปสรรคของไทยคือประเทศไทยมีพนื้ ทีท่ บั ซ้ อนทางทะเลกับประเทศเพือ่ นบ้ าน ความไม่มีเสถียรภาพ
ทางการเมืองส่ งผลต่อความไม่มีประสิ ทธิ ภาพของการเจรจาแบ่งเขตน่ านน้ าของประเทศเพื่อนบ้าน
และการขาดสมดุลทางสมุททานุภาพทางทหาร
5. ประเทศเพื่อ นบ้ านไทยยังไม่ ล งนามสนธิ สัญญาว่ า ด้ วยกฎหมายทางทะเล ซึ่ งมี ผลบังคับใช้เ มื่ อ ปี
ค.ศ.1994 ทาให้หลายประเทศกาหนด Baseline ตามใจชอบ เช่น ประเทศกัมพูชา
6. โอกาสการเกิดกรณีพพิ าททางทะเลในอนาคต เพื่อลดความขัดแย้ง นาไปสู่ การพิพาททางทะเล ควรใช้
ความเป็ นหุน้ ส่ วนเศรษฐกิจด้วยการใช้ประโยชน์ร่วมกัน
14
ข้ อพิพาทน่ านนา้ ทางทะเล อาจนาไปสู่ การปิ ดอ่ าว
หรือปิ ดกั้นการขนส่ งทางทะเล
สิ นค้ านาเข้ า-ส่ งออก
อาหาร วัตถุ ดิบเพื่อ
การผลิต และน้ามั น
ต้ อ ง พึ่ ง พ า ก า ร
ขนส่ งทางทะเลเป็ น
หลัก
(เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ และ
อุปกรณ์ สานักงาน)
(ยานยนต์ )
33 , 0.5%
176,877.00ลบ.
18 , 1.18%
176,877.00ลบ.
(อุปกรณ์ โทรคมนาคม)
(เหล็ก)
สิ่ งทอ :18,1.3%
เครื่องนุ่งห่ ม: 15,1.4%
(แผงวงจร และ
ชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ )
15
West Gate Policy ??
ทิศทางนโยบายพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันตกต้ องชัดเจน
ท่ าเรือทวาย VS ท่ าเรือปากบารา
MYANMAR - CHINA
MYANMAR –THAILAND - LAOS
MYANMAR –THAILAND - VIETNAM
Gateway
DAWEI
MYANMAR –THAILAND - CAMBODIA
16
นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้ องทางทะเล
Marine Industry Policy
•
•
•
•
•
•
นโยบายพัฒนาท่ าเรือฝั่งตะวันตก
การพัฒนากองเรือแห่ งชาติ
การพัฒนาอุตสาหกรรมต่ อเรือ ให้ ไทยเป็ น “อู่ต่อเรือของโลก”
การพัฒนาอุตสาหกรรมชายฝั่งทะเล(Coastal Industrial)
การพัฒนากองเรือประมงไทยเป็ นวาระแห่ งชาติ
การส่ งเสริมการสารวจและขุดเจาะนา้ มัน-แก๊สในทะเล
17
ยุทธศาสตร์ ความมั่นคงทางทะเลจะต้ องเอือ้ ต่ อความเชื่อมั่น
ในการลงทุนของภาคเอกชน
ประเทศไทยเป็ นแหล่ ง
ลงทุนสาคัญของ
ภูมิภาค
อุตสาหกรรมหลักของ
ไทยส่ วนใหญ่ อยู่
บริเวณชายฝั่งทะเล
ตัวเลขการลงทุนผ่ าน BOI
ปี 2555 : 556,940 ล้ านบาท
18
ยุทธศาสตร์ ว่าด้ วยแผนพัฒนาพาณิชย์ นาวีแห่ งชาติ
การรักษาผลประโยชน์ ทางทะเล
• จะต้องมี Master Plan แผน 5 ปี
• จะต้องมี Action Plan ที่ชดั เจน
• จะต้องมี Integrated การบุรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
–
–
–
–
–
–
กรมเจ้าท่า
กองทัพเรื อ
กรมประมง
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปตท.
คณะกรรมการพัฒนากิจการพาณิ ชย์นาวี
19
ความมั่นคงทางทะเล ความสั มพันธ์ ทเี่ กือ้ กูลกันระหว่ าง
เศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืนและความมั่นคงแห่ งชาติ
ของสมุททานุภาพทางทะเลและเศรษฐกิจ
• Sea Power จะก่อให้เกิดอานาจในการต่อรองทางเศรษฐกิจ
• Sea Security จะเป็ นปัจจัย เกื้อหนุนความเชื่อมัน่ ให้ภาคเอกชนมีการ
ลงทุนและการค้า
• Sea Power จะก่อให้เกิดความสมดุลย์ (Balance of Power) ของภูมิภาค
นาไปสู่การแบ่งปันผลประโยชน์กบั ประเทศเพื่อนบ้าน
• ความมั่นคงทางทะเล ด้วยการลงทุนด้านสมุททานุภาพทางทหารอย่าง
เหมาะสม จะก่อให้เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน
20
END
ข้ อมูลเพิม่ เติมที่ www.tanitsorat.com
หรือ
www.fti.or.th
21