นวัตกรรม ดูดสารพิษจากเครื่องล้างฟิล์มอัตโนมัติ Innovations: Hood for

Download Report

Transcript นวัตกรรม ดูดสารพิษจากเครื่องล้างฟิล์มอัตโนมัติ Innovations: Hood for

โรงพยาบาลดอกคาใต้
อาเภอดอกคาใต้ จังหวัดพะเยา
นวัตกรรม
ต้ ูดูดสารเคมีสาหรับเครื่องล้ างฟิ ล์ มอัตโนมัติ
Innovations:
Hood for chemical in
automatic processing
โดย :
คุณณัฐพงษ์ แสงเพชร วทบ.รังสี เทคนิค
นักรังสี การแพทย์ ระดับชานาญการ
คุณพงศ์ นรินทร์ ศรีคา วทบ.รังสี เทคนิค
จ.รังสี การแพทย์ ชานาญงาน
แผนกรังสี โรงพยาบาลดอกคาใต้
อาเภอดอกคาใต้ จังหวัดพะเยา 56120
วัตถุประสงค์
ป้ องกันสารเคมีที่เป็ นสารพิษซึ่งเกิดจากขบวนการล้างฟิ ล์มเข้าสู่
ร่ างกายของเจ้าหน้าที่แผนกรังสี
 เพื่อป้ องกันการเกิดโรค Dark room disease กับ
นักรังสี การแพทย์
 เพื่อให้สุขภาพของนักรังสี การแพทย์แข็งแรงสมบูรณ์ปราศจาก
สารพิษในห้องล้างฟิ ล์ม
 เพื่อป้ องกันการเกิดโรคมะเร็ งจากสารเคมี(carcinosing
agent)

หลักการและเหตุผล
ขบวนการล้ างฟิ ล์ มด้ วยเครื่องล้ างฟิ ล์ มอัตโนมัติ(automatic
processing) เป็ นขบวนการทีใ่ ช้ ล้างฟิ ล์ มเอกซเรย์ ระบบอัตโนมัติ
มีขบวนการ 4 ขบวนการคือ
1.ขบวนการสร้ างภาพ(Developing processing)
2.ขบวนการผ่ านนา้ (Washing)
3.ขบวนการคงสภาพ (Process of fixation)
4.ขบวนการอบแห้ ง(drying) ทาให้ ฟิล์ มแห้ งในขบวนการสุ ดท้ าย
ก่ อนทีฟ่ ิ ล์ มจะออกมา
สารเคมีที่ใช้ ในขบวนการล้ างฟิ ล์ ม

Developer solution
- Phenidone and Hydroquinone
- Sodium carbonate
- Glutaraldehyde complex [bisulphite]
- Potassium bromide
- Sodium sulphate
- Boric acid
- Diethyl glycon
- Water:solvent etc.
สารเคมีที่ใช้ ในขบวนการล้ างฟิ ล์ ม(ต่ อ)

Fixer solution
- Ammonium thiosulphate
- Sodium thiosulphate
- Acetic acid or Sulphuric acid
- Sodium metaborate tetrahydrate
- Aluminium chloride or
- Aluminium sulphate
- Sodium sulphite or Bisulphite
- Water:solvent etc.
Film automatic processing
Developer processing
Washing
Fixer processing
Dryer system
Radiation image
Dryer system
เป็ นขบวนการอบแห้งของฟิ ล์มเอกซเรย์ก่อนที่ภาพถ่ายรังสี จะออก
จากเครื่ องล้างฟิ ล์มอัตโนมัติ เป็ นขบวนการที่สาคัญที่สุดเพราะ
ขบวนการอบแห้งจะใช้ความร้อนและลมเป่ า โดยใช้ Heater,
Blower, High heat thermostat
ขบวนการนี้จะทาให้สารเคมีต่างที่ติดมากับฟิ ล์มเอกซเรย์ ฟุ้ ง
กระจายออกมาทัว่ ทั้งห้องล้างฟิ ล์ม (Dark room) ซึ่ งเป็ น
สารเคมีที่เป็ นพิษต่อร่ างกายเป็ นสาเหตุทาให้เกิดโรคต่างๆมากมาย
โดยเรี ยกรวมกันว่า “ DARK ROOM DISEASE ”
Chemical from
automatic processing




Hydroquinone, Potassium Hydroxide, Sodium Bisulphate :
ระคายเคืองต่อดวงตาและผิวหนัง, ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ
Pentanedial : ระคายเคืองต่อดวงตาและผิวหนังอย่างรุ นแรง, ระคาย
เคืองต่อระบบทางเดินหายใจ
Aluminium Sulfate : ระคายเคืองต่อดวงตาและผิวหนัง, ระคายเคือง
ต่อระบบทางเดินหายใจ
Sulphuric acid, Acetic acid:ระคายเคืองต่อดวงตาและผิวหนัง
, ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ
Chemical from
automatic processing
 Glutaraldehyde ซึ่ งเป็ นส่ วนผสมของน้ ายาล้าง
ฟิ ล์ม Developer ทาให้เกิดอันตรายต่อสุ ขภาพ
โดยมีผลทั้งในระยะเฉี ยบพลันและเรื้ อรัง ทาให้เกิดการ
ระคายเคือง กัดกร่ อน เป็ นสารก่อมะเร็ ง และเป็ น
ตัวกระตุน้ ได้ อาจก่อให้เกิดโรคผิวหนังและโรคระบบ
ทางเดินหายใจได้
Dark Room Disease is…..
หมายถึง โรคทีเ่ กิดจากการได้ รับสารเคมีทใี่ ช้ ในขบวนการ
ล้ างฟิ ล์ มของเครื่องล้ างฟิ ล์ มอัตโนมัติ ซึ่ งอยู่ในห้ องล้ าง
ฟิ ล์ มหรือห้ องมืด (Dark room)โดยได้ รับสารเคมี
ซึ่งเป็ นสารพิษจากการสั มผัส, กลืนกิน, สู ดดูดทางเดิน
หายใจเข้ าไป
Dark Room Disease is…..
Darkroom Disease (DD) is a term used to
describe a variety of irritant or allergic-type
reactions reported by radiology
workers. Symptoms reported include
headaches, skin rashes, and shortness of
breath, and, while this illness continues to
pose certain diagnostic challenges, it has been
linked with exposure to processing chemicals.
อาการและอาการแสดงของโรคห้ องมืด
อาการของผู้ทเี่ ป็ นโรคห้ องมืดจะมีอาการมากน้ อยต่ างกันตาม
ปริมาณการได้ รับสารเคมีคอื
headaches, sore throat/hoarseness,
unexpected fatigue, sore eyes,
chemical taste, sinus problems/nasal
discharge, persistent cold-like
symptoms, catarrh, painful joints,
mouth ulcers, skin rash, chest
pains/breathing difficulties. contact
dermatitis, Allergy, Asthma etc.
หลักการกาจัดสารเคมีจากเครื่องล้ างฟิ ล์ มอัตโนมัติ
 ควบคุมสารเคมีไม่ ให้ ฟุ้งกระจายทัว
่ บริเวณห้ องล้ างฟิ ล์ ม
(Limitation of chemical area)
 การทาให้ เจือจาง (Dilution)
 การระบายทิง้ (Disperse)
ขั้นตอนการสร้ างต้ ูดูดสารเคมี
สารวจพื้นที่และวางแผนการติดตั้งท่อระบายอากาศและติดตั้ง
พัดลมดูดอากาศ
 ออกแบบตูด
้ ูดอากาศโดยให้วศิ วกรออกแบบร่ วมกับนักรังสี
การแพทย์ โดยฝ่ ายวิศวกรต้องออกแบบให้ตดู้ ูดอากาศให้ดูด
อากาศออกให้ได้มากที่สุด โดยคานวณแรงลมที่พดั ลมดูดออก
จากตูส้ มั พันธ์กบั ขนาดพื้นที่ของตูแ้ ละท่อส่ งอากาศที่ดูด
ออกไป และกาหนดขนาดและความแรงของพัดลมดูดอากาศ

ขั้นตอนการสร้ างต้ ูดูดสารเคมี(ต่ อ)





นักรังสี การแพทย์ ต้ องออกแบบตู้ให้ สะดวกต่ อการใช้ งาน โดยคานึงถึง
การล้างฟิ ล์มในห้ องมืดและการล้างทาความสะอาดเครื่องฟิ ล์ มและการ
เปลีย่ นนา้ ยาล้างฟิ ล์ม ต้ องออกแบบให้ สะดวกต่ อการทางานให้ สะดวก
ทีส่ ุ ด
ทาการสร้ างตู้ดูดสารเคมีตามแบบทีอ่ อกแบบไว้
ทดสอบการดูดอากาศออกโดยจุดธูปภายในตู้ สั งเกตดูทศิ ทางควันธูปที่
ดูดออกไป
ทดสอบดูควันธูปทีจ่ ุดใกล้ๆตู้ดูดสารเคมี
ทดลองการใช้ งานโดยลองล้างฟิ ล์มในห้ องมืด, เปิ ดเครื่องล้างฟิ ล์มและ
ลองดึงถังนา้ ยาทีอ่ ยู่ใต้ ตู้ออกมา ว่ าการทางานสะดวกหรือไม่
มาตรฐาน Air change
มีค่าเท่ ากับ 4 – 10 ลบ.ฟุต/นาที
สารเคมีระบายออกสู่ อากาศ
ภายนอก
ท่ อระบายสารเคมี
แบบจาลองการสร้ างตู้ดูดสารเคมี
เจาะช่ องเพดานเดินท่ อระบาย
ด้ านบนติดเพดานห้ อง
ผนังใสทาด้ วยอะคริลคิ
ทิศทางการระบายสารเคมี
เจาะช่ องตรงประตูสาหรับสอดฟิ ล์ มเข้ า
เครื่องล้ างและนาฟิ ล์ มออกมา
ด้ านล่ างตู้ยกให้ พ้นจากพืน้
ประมาณ 5 ซม.
อุปกรณ์ ในการสร้ างต้ ูดูดสารเคมี
โครงสร้างตูเ้ ป็ นเส้นสแตนเลส เพื่อป้ องกันการเกิดสนิม เพรา
สารเคมีมีท้ งั สภาพเป็ นกรดและเป็ นด่าง
 ผนังประตูเป็ นวัสดุอะคริ ริคใส เพื่อเห็นเครื่ องล้างฟิ ล์มภายใน
และป้ องกันผนังแตก
 ท่อต่อระบายอากาศทาด้วยสังกะสี หนาและข้อต่อ
 พัดลมดูดอากาศอุตสาหกรรมความแรงตามขนาดห้องและ
ความยาวของท่อระบายอากาศ (ตามวิศวกรออกแบบ)
 เบรกเกอร์

รูปตู้ดูดสารเคมีจากเครื่องล้ างฟิ ล์ มอัตโนมัติ
เพดาน
โครงสร้ างสแตนเลส
ผนังอะคริริค
เครื่องล้ างฟิ ล์ ม
ประตูเจาะช่ องกว้ าง
แสดงเจาะช่ องระบายอากาศเพดาน
ช่ องระบายอากาศบริเวณ
เพดาน
AIR
แสดงการสอดฟิ ล์ มเข้ าเครื่องล้ างฟิ ล์ ม
ช่ องประตูเจาะกว้ าง
พอสมควรสามารถสอด
ฟิ ล์ มเข้ าเครื่องล้ างฟิ ล์ ม
สะดวกต่ อการทางาน
ประตูบานใหญ่ เจาะกว้ าง
พอสมควรสามารถสอด
ฟิ ล์ มเข้ าเครื่องล้ างฟิ ล์ ม
สะดวกต่ อการทางาน
พัดลมอุตสาหกรรมดูดอากาศ
พัดลมอุตสาหกรรมดูดอากาศออกจากตู้ครอบเครื่องล้ างฟิ ล์ม
ท่ อระบายอากาศ
ท่ อระบายอากาศ
ท่ อระบายอากาศ
ท่ อระบายอากาศ
งบประมาณ
ประมาณ 25,000
บาท
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
เจ้าหน้าที่แผนกรังสี สามารถป้ องกันสารเคมีที่เป็ นสารพิษซึ่ งเกิดจาก
ขบวนการล้างฟิ ล์มเข้าสู่ร่างกายได้ และ
 สามารถป้ องกันการเกิดโรค Dark room disease กับ
นักรังสี การแพทย์ได้ท้ งั ผลระยะสั้นและผลระยะยาว
 สุ ขภาพของนักรังสี การแพทย์แข็งแรงสมบูรณ์ปราศจากสารพิษในห้องล้าง
ฟิ ล์มซึ่งต้องทางานในห้องล้างฟิ ล์มเป็ นเวลานาน
 สามารถป้ องกันการเกิดโรคมะเร็ งจากสารเคมีที่เกิดจากขบวนการล้างฟิ ล์ม
ได้ (carcinosing agent)
 ได้มาตรฐานตามข้อกาหนดของ HA, HNQA, QC, QA, ISO,
TQM ฯลฯ

การพัฒนาขั้นต่ อไป
แนะนาให้ ทาชุดดูดสารเคมีเฉพาะตรงบริเวณ
ทีม่ สี ารเคมีฟุ้งกระจายออกมาเท่ านั้น และมี
ม่ านอากาศกั้นรอบๆเพือ่ ไม่ ให้ สารเคมีฟุ้ง
กระจายออกมา และมีท่อต่ อขึน้ ไปสามารถยืด
หดได้ กรณีที่มีการเปิ ดฝาครอบเครื่องล้าง
ฟิ ล์มอัตโนมัติ
บริเวณฟิ ล์ มออก
ม่ านอากาศ
ท่ อระบายอากาศ
สามารถยืดหดได้
สารเคมี
กล่องใสครอบบริเวณสารเคมี
ออกและติดตั้งม่ านอากาศ
ไม่ ให้ สารเคมีฟุ้งกระจายออก
นอกบริเวณ
เครื่องล้ างฟิ ล์ ม
เอกสารอ้ างอิง

Radiographic photography
ผศ.ราไพ ไวปัญญา คณะแพทยศาสตร์ริราชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิ ดล
Thank you for
your attention