p0g4rrfvgix5orijsngham45

Download Report

Transcript p0g4rrfvgix5orijsngham45

Processor Quality Control
(การควบคุมคุณภาพการล้างฟิ ล์ม)
โดยใช้ step wedge
วัตถุประสงค์
• เพื่อให้ มนั่ ใจได้ วา่ การล้ างฟิ ล์มเอกซเรย์ในแต่ละวันจะ
ให้ ผลฟิ ล์มที่มีคณ
ุ ภาพดีสม่าเสมอ
• เพื่อลดปริ มาณฟิ ล์มเสียที่มีสาเหตุเนื่องจากขบวนการ
ล้ างฟิ ล์ม
• เพื่อลด ภาระ เวลา และปริ มาณรังสีดดู กลืนในผู้ป่วยและ
เจ้ าหน้ าที่ในห้ องเอกซเรย์เนื่องจากการถ่ายเอกซเรย์ซ ้า
• เพื่อเป็ นตรวจสอบขบวนการล้ างฟิ ล์มโดยใช้ อปุ กรณ์อย่าง
ง่ายที่มีอยูใ่ นแผนก X-RAY
อุปกรณ์ที่ใช้
คาสเซ็ทพร้อมฟิ ล์มที่บรรจุแล้ว
step wedge
เครื่ องx-ray
เครื่ องล้างฟิ ล์มอัตโนมัติ
การเตรี ยมเครื่ องล้างฟิ ล์มอัตโนมัติ
1. ทาการเตรี ยมเครื่ องล้างฟิ ล์มโดยการล้างเครื่ องล้าง
ฟิ ล์มอัตโนมัติที่ใช้ในแผนก(โคนิกา้ )รุ่ นSRX-101A
2. ผสมน้ ายาล้างฟิ ล์ม developer และfixer
โหลดน้ ายาเข้าเครื่ องล้างฟิ ล์มอัตโนมัติ
3. ทาการวอร์มเครื่ องและโหลดฟิ ล์มเปล่าเข้าเครื่ อง1-3
แผ่นเพื่อทดสอบว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมหรื อคราบน้ า
น้ ายาติดอยูใ่ นเครื่ องล้างฟิ ล์ม
ขั้นตอนการทดสอบ
1. นาคาสเซ็ทขนาด 8 x10 นิ้วบรรจุฟิล์มแล้ว1 แผ่น
วางบนเตียงเอกซเรย์หนั ด้านหน้าขึ้น
2. นาstep wedge วางบนด้านหน้าของคาสเซ็ท
3. ใช้ตลับเมตรวัดระยะFFD (SID) 100
เซนติเมตรให้จุดกึ่งกลางลาแสงตรงกับ step
wedge และปรับลาแสงให้คลุมเฉพาะstep
wedge และคาสเซ็ทที่ถูกแบ่งออกโดยใช้ตะกัว่ ใน
กรณี ที่ตอ้ งการสร้างภาพมากกว่าหนึ่งภาพบนฟิ ล์ม
4. ตั้งค่าปริ มาณรังสี ที่เห็นภาพความดาของทุกขั้นของ
step wedge และฉายรังสี ในครั้งแรกนั้นอาจจะ
ต้องทดลองเพื่อหาช่วงปริ มาณรังสี ที่เหมาะสมกับฟิ ล์ม/
และสกรี นที่ใช้(ประมาณรังสี ที่ใช้คือ 62 kvp 160
mA 4.0 mAs)12ms
5. ล้างฟิ ล์มภายใต้แสงเซฟไลท์ในเครื่ องล้างฟิ ล์ม
อัตโนมัติที่เตรี ยมไว้
6. ป้ อนฟิ ล์มในตาแหน่งเดิมของถาดทุกครั้งและให้
ภาพขนานกับลูกกลิ้ง
7. การสร้างด้วย step wedge จะต้องทาในสภาวะ
มาตรฐานและเหมือนกันทุกครั้ง
8. ใช้แผ่นแผ่นฟิ ล์มที่ลา้ งแล้วและมีความขาว-ดาที่
แตกต่างกันทุกระดับของ step wedge ไว้เป็ นค่า
มาตรฐาน 1 แผ่น
9. ทาการฉายเอกซเรย์แผ่นฟิ ล์มแผ่นเดิมและตั้งค่า
ปริ มาณรังสี ที่กาหนดไว้ทุกวันและบันทึกผล
(แผ่ นมาตรฐาน)
การบันทึกผล
1. เลือกแถบของภาพ step wedge ที่มีความ
คมชัดที่สุดเป็ นค่ากลางของการแปลผล นับ1 ช่อง
เท่ากับ 1 step
2. เก็บบันทึกการถ่ายภาพทุกวันสังเกต การ
เปลี่ยนแปลงของฟิ ล์มในแต่ละวัน
3. สร้างกราฟการบันทึกผลในแต่ละวันเพื่อสะดวก
พิจารณาในการปฏิบตั ิงานและการแก้ไขน้ ายาล้างฟิ ล์ม
ความคมชัดของภาพจะอยูช่ ่องกึ่งกลางของ step wedge
กราฟของการบันทึกผลของการประเมินผล
เริ่ มทาการควบคุมคุณภาพ 10เม.ย.54
ครั้งที่2ของการเปลี่ยนน้ ายา
21เม.ย.54
30เม.ย.54
ครั้งที่3เปลี่ยนน้ ายา
15พ.ค.54
ครั้งที่4เปลี่ยนน้ ายา
15มิ.ย.54
ครั้งที่5เปลี่ยนน้ ายา
การประเมินการบันทึกผล
จากบันทึกการควบคุมคุณภาพของขบวนการล้างฟิ ล์ม
สังเกตว่าจากระยะของการเปลี่ยนน้ ายาล้างฟิ ล์มในแต่ละครั้ง
จะมีระยะห่างกันไม่เกิน10วันหลังจากนั้นน้ ายาล้างฟิ ล์มมี
การเปลี่ยนแปลงคือระดับของกราฟจะต่าลงถึงระดับ
ที่ไม่สามารถยอม
รับได้คือ3step
และจะกลับมาอยูใ่ นระดับเสมอกราฟและคงที่อยูอ่ ีก
ระยะหนึ่งหลังจากการเปลี่ยนน้ ายา และในการลดระดับลง
ของกราฟไม่เท่ากันนั้นประเมินได้วา่
อายุของน้ ายาล้างฟิ ล์มหลังจากการผสมแล้วใน
อุณหภูมิปกติอยูไ่ ด้ไม่เกิน10วัน
ในกรณี ที่มีจานวนผูม้ าใช้บริ การมากในช่วงไม่
เกิน10วันจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงของน้ ายามากนักเพราะ
น้ ายาล้างฟิ ล์มหมดถังก่อนที่น้ ายาจะหมดอายุ
ซึ่งในการควบคุมคุณภาพของการภาพถ่าย
เอ็กซเรย์ให้ได้ภาพที่มีความคมชัดในระดับที่ยอมรับได้
ในขบวนการล้างฟิ ล์มจึงสามารถทาได้เอง
- โดยการสังเกตการเปลี่ยนแปลงระดับของ
กราฟแล้วเปลี่ยนน้ ายาล้างฟิ ล์ม
- หรื อเปลี่ยนเปลี่ยนน้ ายาเลยหลังจากผสม
น้ ายาเกิน10วัน(ในกรณี น้ ียงั ไม่ได้ทา)
โอกาสในการพัฒนา
ในครั้งต่อไปคือการควบคุมคุณภาพของเครื่ องล้ างฟิ ล์ ม
อัตโนมัติ ซึ่งอาจมีผลให้น้ ายาเปลี่ยนแปลงส่ งผลให้
คุณภาพของภาพที่ได้ไม่คงที่
จัดการทดลองคุณภาพโดย
เสาวลักษณ์ เกิดพืชน์
จพง.รังสี การแพทย์
ขอบคุณทุกท่าน