Transcript Click

การดาเนินงานอาชีวอนามัย
ในโรงพยาบาล
อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
ความสาคัญ
บ ุคลากรในโรงพยาบาลเป็นกลมุ่ ผูใ้ ห้บริการกลมุ่ ใหญ่
มีลกั ษณะและกระบวนการทางานที่มีความซับซ้อน
มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาด้านส ุขภาพ อ ุบัติเหต ุ
ควรมีระบบในด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่ดี
ความหมาย
การดาเนินงานเพื่อการดูแลสุขภาพและความปลอดภัย
ในการทางานให้แก่บคุ ลากรที่ปฏิบตั งิ านอยู่ใน
โรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล
ความเสี่ยงของผูป้ ฏิบตั ิงานในโรงพยาบาล
มีอตั ราอ ุบัติการณ์การเกิดผลกระทบต่อส ุขภาพใน
ลักษณะเฉียบพลัน (Acute conditions) ที่สงู กว่า*
*Gun อ้างในNational Institute for Occupational Safety and Health: NIOSH
ความสาคัญ
ปัญหาการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อหลัง (low-back injury)
มักพบในเพศหญิงและมีความเสี่ยงสูงถึง 166 เท่า*
*Gun อ้างในNational Institute for Occupational Safety and Health: NIOSH
หลักการและองค์ประกอบ*
• บูรณาการเข้าไปเป็ นส่วนหนึง่ ของการบริหาร และ
ระบบการควบคุมคุณภาพ
• จัดบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยให้กบั
บุคลากรทุกระดับ
• ประเมินความเสี่ยงในการทางานแก่บคุ ลากรอย่าง
สมา่ เสมอในทุกด้าน
*International Commission on Occupational Health (ICOH)
และ International Social Security Association (ISSA)
หลักการและองค์ประกอบ*
• จัดการป้องกันความเสี่ยงจากการทางานอย่างเป็ น
ระบบ และมีการจัดสรรทรัพยากรโดยการมีสว่ นร่วม
• บุคลากรได้รบั ข้อมูลข่าวสาร และการฝึ กอบรมที่จาเป็ น
• นามาตรการป้องกันความเสี่ยงมาปฏิบตั ิ รวมทัง้ จัดหา
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่จาเป็ น
*International Commission on Occupational Health (ICOH)
และ International Social Security Association (ISSA)
หลักการและองค์ประกอบ*
• บูรณาการการป้องกันการติดเชือ้ เข้าเป็ นส่วนหนึง่ ของ
นโยบายด้านสุขอนามัยขององค์กร
• จัดทาและนาโครงการให้ภมู คิ มุ้ กันที่จาเป็ นแก่บคุ ลากร
ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ รวมทัง้ การเข้าถึงบริการเกี่ยวกับ
การให้คาแนะนาทางการแพทย์
• ทบทวนมาตรการป้องกันความเสี่ยงอย่างสมา่ เสมอ
เพื่อปรับปรุงมาตรการป้องกันให้ดยี ิ่งขึน้
*International Commission on Occupational Health (ICOH)
และ International Social Security Association (ISSA)
หลักการและองค์ประกอบ*
• การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทางานรวมทัง้ การจัดทา
ประวัตกิ ารตรวจสุขภาพที่ครบถ้วนการตรวจสุขภาพเป็ น
ระยะ
• การให้ความรูด้ า้ นสุขภาพและความปลอดภัยในการ
ทางาน
• การให้ภมู คิ มุ้ กันโรคที่จาเป็ น
• การให้บริการดูแลกรณีเกิดการบาดเจ็บ/เจ็บป่ วยใน
การทางาน
* National Institute for Occupational Safety and Health: NIOSH
หลักการและองค์ประกอบ*
• การให้คาแนะนาปรึกษาด้านสุขภาพและความปลอดภัย
ในการทางาน
• การป้องกันควบคุมสิ่งคุกคาม และเฝ้ าระวังด้าน
สิ่งแวดล้อมในการทางาน
• การจัดทาระบบข้อมูลด้านสุขภาพและความปลอดภัยใน
การทางาน
• ประสานการวางแผนงานร่วมกับแผนกต่างๆ และการ
ให้บริการทางสุขภาพแก่บคุ ลากรในโรงพยาบาล
* National Institute for Occupational Safety and Health: NIOSH
บทบาทหน้าที่ของบ ุคลากรในโรงพยาบาล
“โรงพยาบาลควรเป็นตัวอย่างแก่สาธารณชนในการที่จะ
ดาเนินงานในการให้ส ุขศึกษา การป้องกันโรคจากการ
ทางานและส่งเสริมให้มีความปลอดภัยในการทางาน”*
*American Medical Association/American Hospital Association
ปัญหาในการดาเนินงาน
• บ ุคลากรด ูแลตนเองได้
• เข้าถึงข้อมูล ข้อแนะนาทางการแพทย์ได้
• เน้นไปที่การรักษาโรคมากกว่าสร้างเสริมส ุขภาพ
บทบาทหน้าที่ที่สาคัญของคณะกรรมการ*
• ตรวจประเมินสถานที่ปฏิบตั งิ านเพื่อสืบค้นความเสี่ยง
• วิเคราะห์ทบทวนข้อมูลการบาดเจ็บ/เจ็บป่ วย
• จัดเตรียมข้อมูลสาหรับผูป้ ฏิบตั งิ าน เพื่อใช้ในการสืบค้น
• จัดการฝึ กอบรมให้ความรู้
• ทาการวิเคราะห์ทบทวนมาตรการ
• ทาการสอบสวนอุบตั เิ หตุจากการทางาน
• จัดทาโครงการเพื่อสร้างแรงจูงใจผูป้ ฏิบตั งิ าน
*National Institute for Occupational Safety and Health: NIOSH
ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
สร้างนโยบาย
กาหนดวัตถ ุประสงค์
กาหนดคณะกรรมการ
จัดเตรียมเอกสารวิชาการ
จัดทาแผนงาน
พัฒนาทีมงาน
ประเมินความเสี่ยง
สร้างความเข้าใจ
ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
ตรวจส ุขภาพ
ให้ภมู ิคม้ ุ กัน
รวบรวมข้อมูล
ประเมินผล
จัดทาสถานการณ์
รายงานผล
จัดระบบเฝ้าระวัง
กระบวนการพัฒนาและการรับรอง
สมัครเข้าร่วมโครงการ ใช้แบบฟอร์ม RAH. 05
สคร./สสจ.ชีแ้ จ้งขัน้ ตอนการดาเนินงาน ตรวจประเมิน
โรงพยาบาลศึกษาแบบประเมินและทาความเข้าใจ
กระบวนการพัฒนาและการรับรอง
โรงพยาบาลกาหนดแผนการประเมิน
ประเมินนโยบาย
ประเมินตาม RAH.01
วิเคราะห์และสรุปผล ตามแบบ RAH.02
จัดทาแผนดาเนินการป้องกันและแก้ไข
กระบวนการพัฒนาและการรับรอง
ดาเนินการแก้ไขตามแผน
แก้ไขไม่ได้ปรึกษาสคร./สสจ.
ตรวจประเมินผลการดาเนินงาน แบบ RAH.03
แก้ไขตามการประเมิน RAH.03 ครัง้ ที่ 1 และประเมิน RAH.03
พร้อมประเมินตนเองตามแบบฟอร์ม SRAH.1 เพื่อขอรับรอง และ
ส่งแบบประเมินความเสี่ยงของบุคลากร RAH.06
RAH.05
RAH.01
RAH.02
RAH.03
SRAH.1
RAH.06
องค์ประกอบหลักของการประเมิน
องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ
• นโยบายด้านส ุขภาพและความปลอดภัย
• คณะกรรมการรับผิดชอบ
• มีแผนงานโครงการ
องค์ประกอบหลักของการประเมิน
องค์ประกอบที่ 2 การดาเนินงานประเมินและ
แก้ไขความเสี่ยง
• การประเมินความเสี่ยง
• การจัดทาข้อเสนอแนะ มาตรการให้
ผูบ้ ริหาร
• การตรวจส ุขภาพบ ุคลากร
• การป้องกันและส่งเสริมส ุขภาพ
• การจัดระบบข้อมูล
• การจัดทาคมู่ ือ แนวทางปฏิบตั ิ
องค์ประกอบหลักของการประเมิน
องค์ประกอบที่ 3 การติดตามประเมินผล
• การติดตามประเมินผลแผนงาน/โครงการ
• การสร ุปผลการดาเนินงานและปัญหา
อ ุปสรรค
รายละเอียดตามองค์ประกอบ
สิ่งค ุกคามส ุขภาพ อ ุบัติเหต ุ อัคคีภยั
และภัยพิบตั ิในโรงพยาบาล
สิ่งค ุกคามส ุขภาพ อ ุบัติเหต ุ อัคคีภยั และภัยพิบตั ิ
• สิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพ
• สิ่งคุกคามสุขภาพทางชีวภาพ
• สิ่งคุกคามสุขภาพทางเคมี
• สิ่งคุกคามสุขภาพทางการยศาสตร์
• สิ่งคุกคามสุขภาพทางจิตวิทยาสังคม
• อัคคีภยั และภัยพิบตั ิ
• อันตรายจากก๊าซภายใต้ความดัน
• อันตรายจากอุปกรณ์ไฟฟ้า
• คุณภาพอากาศภายในอาคาร
สิ่งค ุกคามทางกายภาพ (Physical health hazards)
หมายถึง การทางานในสิ่งแวดล้อมที่มคี วามร้อน ความ
เย็น เสียงดัง ความสัน่ สะเทือน แสงสว่าง ความกด
บรรยากาศสูง อย่างใดอย่างหนึง่ หรือหลายอย่าง ซึ่งมี
ผลกระทบต่อสุขภาพคนทางาน สิ่งคุกคามสุขภาพ
ทางกายภาพ ที่พบในโรงพยาบาล
สิ่งค ุกคามทางกายภาพ (Physical health hazards)
1. ความร้อน (Heat)
2. เสียงดัง (Noise)
3. รังสีที่กอ่ ให้เกิดการแตกตัว (Ionizing radiation)
4. รังสีที่ไม่แตกตัว (Non-ionizing radiation)
1. ความร้อน (Heat)
แหล่งที่พบ โรงซักรีด ห้องติดตัง้ หม้อไอน้า
งานโภชนาการ แผนกซักฟอก
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
1) การเป็ นลมเนือ่ งจากความร้อนในร่างกายสูง (Heat
Stroke)
2) การอ่อนเพลียเนือ่ งจากความร้อน (Heat Exhaustion)
3) การเป็ นตะคริวเนือ่ งจากความร้อน (Heat Cramp)
4) อาการผดผืน่ ตามผิวหนัง (Heat Rash)
การป้องกันและควบค ุม
1) ลดความร้อนในผูต้ วั ปฏิบตั ิงานและที่ทางาน
- จัดให้ผปู้ ฏิบตั งิ านมีระยะพักบ่อยขึน้ และพักในที่มอี ากาศเย็น
- เครื่องมืออุปกรณ์ที่มแี หล่งความร้อนสูง ควรมีฉนวน หุม้ กัน
ความร้อน
- ติดตัง้ ระบบดูดอากาศเฉพาะที่
- ติดตัง้ ฉากกันความร้อน ระหว่างแหล่งกาเนิดความร้อนกับตัว
ผูป้ ฏิบตั งิ าน
การป้องกันและควบค ุม
- จัดให้มพี ดั ลมเป่ า เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของอากาศและการ
ระเหยของเหงือ่
- จัดให้มบี ริเวณสาหรับพักที่มอี ากาศเย็น
-ให้ความรูก้ บั ผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนที่ทางานในที่มีแหล่งความร้อน
- ในผูป้ ฏิบตั งิ านใหม่ในระยะแรก ควรกาหนดชัว่ โมงการทางานที่
ต้องสัมผัสกับความร้อน
การป้องกันและควบค ุม
2) จัดให้มีโครงการเฝ้าค ุมสิ่งแวดล้อมการทางาน
โดยมีกิจกรรมการประเมินการสัมผัสความร้อนในรูป
ของ
ดัชนีความร้อน (WBGT index)
ดัชนีกระเปาะเปียกและโกลบ
(Wet Bulb globe thermometer)
2. เสียงดัง (Noise)
หมายถึง เสียงที่ไม่พึงปรารถนา เกิดจากคลื่นเสียง
สัน่ สะเทือนอย่างรวดเร็วในอากาศ สามารถตรวจวัดได้
โดยใช้เครื่องมือวัดเสียง หน่วยที่วดั ความเข้มเสียงคือ
เดซิเบล (Decibel)
2. เสียงดัง (Noise)
แหล่งที่พบ โรงซักรีด ห้องติดตัง้ หม้อไอน้า
งานโภชนาการ แผนกซักฟอก
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
1. สูญเสียการได้ยินแบบชัว่ คราว (Temporary hearing loss)
2. สูญเสียการได้ยินแบบถาวร (Permanent hearing loss)
3. เกิดการเปลี่ยนแปลงการทางานของร่างกาย
4. รบกวนการพูด การสื่อความหมาย และกลบเสียง
สัญญาณต่างๆ
การป้องกันและควบค ุม
1) จัดให้มีโครงการเฝ้าค ุมเฝ้าระวังเสียงดัง
2) จัดให้มีโครงการลดระดับเสียงดัง
- ด้านวิศวกรรม เช่น ใช้วิธีการปิ ดล้อมอุปกรณ์
เครื่องจักรส่วนที่ทาให้เกิดเสียงดัง การใช้วัสดุรองกัน
การสัน่ สะเทือนของเครื่องจักร
- การบริหารจัดการ เช่น ลดระยะเวลาการทางานที่
ต้องสัมผัสเสียงดัง
- การใช้อ ุปกรณ์ป้องกันเสียง เช่น ที่ครอบหู ที่อดุ หู
3. รังสีที่กอ่ ให้เกิดการแตกตัว (Ionizing radiation)
รังสีที่กอ่ ให้เกิดการแตกตัวได้ถกู นามาใช้ในโรงพยาบาล
ในรูปแบบที่แตกต่างกัน เช่น รังสีเอ๊กซ์ หรือรังสีแกมม่า
ได้แก่
• การวินจิ ฉัยโรคด้วยสารรังสี
• การรักษาโรคด้วยสารรังสี
• การฉายรังสีเพื่อรักษาโรคผิวหนัง
• เวชศาสตร์นวิ เคลียร์ในขัน้ ตอนการวินจิ ฉัยและรักษา
• การเตรียมยาและผลิตยา
กลมุ่ เสี่ยง แพทย์ พยาบาล นักรังสีเทคนิคการแพทย์
และผูเ้ กี่ยวข้องกับสารกัมมันตรังสี บ ุคลากรอื่น
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
ปริมาณมากกว่า 100 Roentgens (เรินต์เกน)
• ผลเฉียบพลัน การได้รบั ปริมาณรังสีที่กอ่ ให้เกิด
การแตกตัวทาให้ผวิ หนังบวมแดง คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องเดิน อ่อนเพลีย หมดสติ
• ผลเรื้อรัง ทาให้เกิดการกลายพันธุข์ องยีนส์ การ
เปลี่ยนแปลงของโครโมโซม การแบ่งตัวของเซลล่าช้า
และเซลถูกทาลาย
การป้องกันและควบค ุม
1) การควบค ุมการสัมผัส การควบคุมปริมาณการ
ได้รบั รังสีเอ็กซ์ หรือแกมม่า
2) การเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมการทางาน โดย ตรวจวัด
ปริมาณรังสีในพื้นที่การทางานเป็ นระยะๆ ตรวจวัด
ปริมาณรังสีที่ดดู กลืนเข้าสูร่ ่างกายขณะที่
3) การเฝ้าระวังทางการแพทย์ ตรวจสุขภาพก่อนเข้า
ทางาน และตรวจเป็ นระยะๆ
4. รังสีที่ไม่แตกตัว (Non-ionizing radiation)
รังสีที่ไม่แตกตัวเป็ นรังสีที่อะตอมไม่แตกตัว แต่จะทาให้เกิด
ความร้อน เกิดจากการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ทาง
การแพทย์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น รังสีอลั ตราไวโอเลท รังสี
ในช่วงคลื่นที่สายตามองเห็นได้ รังสีใต้แดง รังสีไมโครเวฟ
รังสีอลั ตราซาวน์ และเลเซอร์ เป็ นต้น
กลมุ่ เสี่ยง ได้แก่ แพทย์ พยาบาล และบ ุคลากรอื่นที่
เกี่ยวข้อง
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
1) รังสีอลั ตราไวโอเลท (แสง UV) ทาให้ ตาแดง เยื่อบุ
ในชัน้ ตาดาอาจถูกทาลายผิวหนังอักเสบ คัน สัมผัสเป็ น
เวลานานทาให้เกิดมะเร็งผิวหนังได้
2) รังสีในช่วงคลื่นที่มองเห็นได้ คือ แสงจากหลอดไฟ
ฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไฟชนิดมีไส้ ทาให้เกิดความ
เมือ่ ยล้าของสายตา ปวดศีรษะ
3) รังสีอินฟาเรด (IR) ทาให้เกิดอันตรายต่อเกิด
ตกตะกอนของสารประกอบที่อยู่ในเซลล์ เป็ นมากอาจตา
บอด อาจทาให้ผวิ หนังไหม้ได้
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
4) อัลตราซาวนด์ ทาให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน
Tinitus ปวดหู มึนงง อ่อนเพลีย เกิดการสูญเสียการได้ยิน
ชัว่ คราว
5) เลเซอร์ ทาให้เกิดอันตรายต่อตา โดยเฉพาะส่วนกระจก
ตาและเลนส์ตา มีผลต่อผิวหนังที่สมั ผัสทาให้เกิดตุม่
6) ไมโครเวฟ มีผลทาให้เกิดอันตรายต่อตา ระบบ
ประสาทส่วนกลางและระบบสืบพันธุ์
การป้องกันและควบค ุม
1) ให้ความรก้ ู บั บ ุคลากรที่ทางานเกี่ยวข้องกับรังสีที่ไม่
แตกตัว เน้นเรื่องอันตรายและการป้องกัน
2) การสวมใส่อ ุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะทางาน เช่น
สวมแว่นตานิรภัย ป้องกัน แสง UV, แสง IR, เลเซอร์
3) มีการตรวจสอบเครือ่ งมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์
และการบารุงรักษา เพื่อป้องกันการรัว่ ไหลของรังสี
4) ตรวจส ุขภาพประจาปี โดยเน้นการตรวจตาและ
ผิวหนัง
สิ่งค ุกคามส ุขภาพทางชีวภาพ
(Biological health hazards)
หมายถึง สิ่งแวดล้อมการทางานที่มเี ชือ้ จุลินทรีย์ เช่น
แบคทีเรีย รา ไวรัส ปาราสิต เป็ นต้น ซึ่งอาจแพร่มาจาก
ผูป้ ่ วยด้วยโรคติดเชือ้ ที่มารับการรักษาพยาบาล และเกิด
การแพร่เชือ้ สูผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านได้
1. HIV และ AIDs
กลมุ่ เสี่ยง แพทย์ พยาบาล และบุคลากรที่ทางานเกีย่ วข้อง
ในแผนกต่างๆ
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
มีผลกระทบต่อระบบอวัยวะภายใน 3 – 8 สัปดาห์
หลังจากติดเชือ้ จะเกิดอาการเจ็บป่ วยแบบเฉียบพลัน
กินเวลานาน 2 – 3 สัปดาห์ โดยมีอาการเป็ นผืน่ ปวด
ตามข้อ และกล้ามเนือ้ เจ็บคอ อาการอื่นที่ร่วมด้วย ได้แก่
ต่อมนา้ เหลืองโต อ่อนเพลีย มีไข้ เหงือ่ ออกกลางคืน
ท้องเดินบ่อย นา้ หนักตัวลด
การป้องกันและควบค ุม
1) ระมัดระวังมิให้สมั ผัสเลือด หรือ body fluids ที่มเี ชือ้ HIV
2) ขณะที่มกี ารใช้เข็มฉีดยา หรือของมีคม ควรระมัดระวัง
3) เพิ่มความระมัดระวังในการส่งตัวอย่างและทางานใน
ห้องปฏิบตั กิ าร
4) ระมัดระวังในการทางานอื่นๆ ที่อาจสัมผัสเชื้อ
5) การให้ความรูแ้ ก่ผปู้ ฏิบตั งิ านที่มโี อกาสเสี่ยงต่อการ
ได้รบั เชือ้ HIV
2. Mycobacterium tuberculosis
เชือ้ นีท้ าให้เกิดโรค Tuberculosis ติดต่อโดยตรงคือการ
หายใจรับเชือ้ จากผูป้ ่ วยขณะที่ผปู้ ่ วยไอ จาม หายใจรด
กันสาหรับการติดต่อทางอ้อมคือ การหายใจเอาเชือ้ ที่
อยู่ตามเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอนของผูป้ ่ วย
กลมุ่ เสี่ยง แพทย์ พยาบาล ผูป้ ฏิบตั งิ านในแผนก
ซักฟอก และบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้อง
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
เกิดอาการไอตลอดเวลา 3 สัปดาห์ หรือมากกว่า
หลังจากรับเชือ้ เสมหะมีเลือดปน หายใจสัน้ ๆ เจ็บ
หน้าอกอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร นา้ หนักลด มีไข้ เหงือ่
ออกเวลากลางคืน
การป้องกันและควบค ุม
1) แยกผูป้ ่ วย หรือผูส้ งสัยว่าเป็ นวัณโรคไม่ให้ปะปนกับ
ผูป้ ่ วยอื่น
2) หอพักผูป้ ่ วยวัณโรค ควรมีระบบการระบายอากาศที่ดี
3) กาหนดแนวทางการปฏิบตั งิ านที่ถกู ต้อง ปลอดภัย
4) บุคลากรที่ดแู ลผูป้ ่ วยวัณโรค ควรได้รบั การตรวจ
ร่างกาย
สิ่งค ุกคามส ุขภาพทางเคมี
(Chemical health hazards)
หมายถึง สิ่งแวดล้อมการทางานที่มกี ารใช้สารเคมีใน
ขัน้ ตอนใดขัน้ ตอนหนึง่ ของกระบวนการทางาน และมี
โอกาสเกิดผลกระทบต่อสุขภาพผูป้ ฏิบตั งิ าน
กลมุ่ เสี่ยง แพทย์ พยาบาล ผูป้ ฏิบตั งิ านให้ปฏิบตั กิ าร
และบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้อง
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
1) ทาให้เกิดการขาดอากาศหายใจ
2) ทาให้เกิดการระคายเคือง
3) ทาให้เกิดอันตรายต่อระบบการสร้างโลหิต
4) ทาให้เกิดอันตรายต่อระบบประสาท
5) ทาอันตรายต่อระบบหายใจ
6) ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
7) ทาให้เกิดมะเร็ง
การจัดการข้อมูลสารเคมีที่ใช้ในโรงพยาบาล
• มีการจัดเก็บข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีที่ใช้
ในโรงพยาบาล หรือที่เรียกว่า Material Safety Data
Sheet (MSDS)
• เก็บไว้อยู่ในแต่ละแผนก/หน่วยที่มกี ารใช้สารเคมี
และมีอยู่ที่ศนู ย์รวมข้อมูลเคมีภณ
ั ฑ์ที่ใช้
ในโรงพยาบาลทัง้ หมด
การป้องกันและควบค ุม
• การป้องกันที่แหล่งกาเนิดของสารเคมี
• การป้องกันที่ทางผ่านของสารเคมี
• การป้องกันที่ตวั บุคคล หรือผูร้ บั
การป้องกันที่แหล่งกาเนิดของสารเคมี
1) เลือกใช้สารเคมีที่มอี นั ตรายน้อยกว่าแทน
2) แยกกระบวนการทางานที่มกี ารใช้สารเคมีออกต่างหาก
3) การจัดให้มที ี่ปกปิ ดแหล่งของสารเคมีให้มดิ ชิด
4) การติดตัง้ ระบบดูดอากาศเฉพาะที่
5) การบารุงรักษาอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่สะอาด
ปลอดภัยพร้อมใช้
6) มีการจัดเก็บสารเคมีที่ถกู ต้องปลอดภัย
การป้องกันทางผ่านของสารเคมี
1) การรักษาสถานที่ทางานให้สะอาด ไม่เป็ นที่สะสมของ
ฝุ่ น สารเคมี ซึ่งจะฟุ้ งกระจายเมือ่ มีลมพัด
2) ติดตัง้ ระบบระบายอากาศทัว่ ไป เช่น ประตู ช่องลม
หน้าต่างระบายอากาศ หรือมีพดั ลมช่วย
3) การเพิ่มระยะห่างของแหล่งกาเนินสารเคมีกบั
ผูป้ ฏิบตั งิ าน
การบริหารจัดการ
1) ตรวจหาระดับหรือความเข้มข้นของสารเคมี
2) ลดชัว่ โมงการทางานกับสารเคมีอนั ตรายให้สนั้ ลง
3) มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนผูป้ ฏิบตั งิ าน
4) ตรวจสุขภาพร่างกายของบุคลากร
5) บริเวณที่มกี ารใช้สารเคมี ควรมีกอ๊ กนา้ อุปกรณ์การ
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การป้องกันที่บ ุคคล
1) ให้ความรู้ อบรมบุคลากร ให้ทราบถึงอันตราย
จากสารเคมี วิธีการใช้และการป้องกัน
2) การใช้อปุ กรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล แต่ละ
ชนิดที่เหมาะสมกับงาน
สิ่งค ุกคามทางการยศาสตร์ (Ergonomics)
สิ่งคุกคามทางการยศาสตร์ หมายถึง สิ่งคุกคาม
สุขภาพที่เกิดขึน้ จากท่าทางการทางานที่ผดิ ปกติ หรือ
ฝื นธรรมชาติ
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
เกิดความผิดปกติของกล้ามเนือ้ และกระดูกโครงร่าง
(Musculoskeletal disorders: MSDs)
• โรคปวดหลังส่วนบัน้ เอว (Low back pain)
• เอ็นอักเสบ (Tendinitis)
• เอ็นและปลอกหุม้ อักเสบ (Tenosynovitis)
• กลุม่ อาการอุโมงค์คาร์ปาล (Carpal Tunnel
Syndrome: CTS)
การประเมินปัญหาการยศาสตร์
1. การค้นหา
ปั ญหา (Risk
identification)
2. วิเคราะห์
ปั ญหา (Risk
evaluation)
3. การควบคุม
แก้ไขปั ญหา
(Risk control)
• ทางวิศวกรรม
• ทางการบริหารจัดการ
• การปฏิบตั ิงาน
สิ่งค ุกคามทางการยศาสตร์ ที่พบบ่อย
1. การยก เคลื่อนย้ายผูป้ ่ วย หรือวัสด ุ
สิ่งของอย่างไม่เหมาะสม
กลมุ่ เสี่ยง พยาบาล และเจ้าหน้าที่เคลื่อนย้ายผูป้ ่ วย
นักกายภาพบาบัด เจ้าหน้าที่โรงซักฟอก โรงครัว
หน่วยจ่ายกลาง
สิ่งค ุกคามทางการยศาสตร์ ที่พบบ่อย
จากการศึกษาในนักกายภาพบาบัดไทย พบมีความชุก
ของ MSDs
• ที่คอ(66%)
• หลัง (61%)
• ข้อไหล่ (60.7%)
ปั จจัยเสี่ยงจากงานที่ทาให้เกิดอาการมากที่สดุ คือ การ
ยก พยุง หรือการเคลื่อนย้ายผูป้ ่ วย (76.8%)
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
1) แนวทางการปฏิบตั ติ นในการยก หรือเคลื่อนย้าย
ผูป้ ่ วย
2) ข้อแนะนาการยกวัสดุ สิ่งของอย่างปลอดภัยที่ ควร
พิจารณา และฝึ กให้เกิดความเคยชิน
3) หลักการทัว่ ไปในการยก เคลื่อนย้ายวัสดุ สิ่งของ
หรืออุปกรณ์เครื่องใช้
2. การยืนทางานเป็นเวลานาน
กลมุ่ เสี่ยง ศัลยแพทย์ เจ้าหน้าที่หน่วยจ่ายกลาง
เจ้าหน้าที่โรงครัว
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
1) พิจารณาใช้โต๊ะที่สามารถปรับระดับได้เพื่อเกิดความ
เหมาะสมกับผูใ้ ช้งาน
2) ระดับความสูงของหน้างานอาจจะแตกต่างกันไปตาม
ลักษณะงานที่ทา
3) เมือ่ ผูป้ ฏิบตั งิ านยืนทางานที่มลี กั ษณะงานต้องใช้ความ
ละเอียด ควรจัดให้มกี ารหนุนรองข้อศอกไว้
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
4) มีการจัดวางเครื่องมือ วัตถุดบิ และวัสดุอื่นๆ บนโต๊ะ
ทางานตามความถี่ของการใช้งาน
5) เมือ่ ผูป้ ฏิบตั งิ านต้องยืนทางานเป็ นระยะเวลานานบนพื้น
แข็งควรใช้แผ่นยางหรือพรมรองพื้นที่มคี วามนุม่
6) ควรจัดให้มรี าวพิงหลัง หรือที่พกั เท้า กรณีที่ตอ้ งยืน
ทางาน
3. การนัง่ ทางานเป็นเวลานาน
กลมุ่ เสี่ยง เจ้าหน้าที่โรงครัว เจ้าหน้าที่หน่วยจ่ายกลาง
เจ้าหน้าที่งานธุรการ หรือ ป้อนข้อมูลลงคอมพิวเตอร์
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
1) ข้อเสนอแนะเพื่อการจัดสถานีงานอย่างเหมาะสม
2) ข้อแนะนาในการปฏิบตั งิ านกับคอมพิวเตอร์
สิ่งค ุกคามส ุขภาพทางจิตวิทยาสังคม
(Psychosocial health hazards)
กลมุ่ เสี่ยง แพทย์ พยาบาล และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ผลกระทบต่อส ุขภาพ
• ทาให้เบื่ออาหาร เกิดแผลอักเสบในกระเพาะอาหาร
• เกิดความผิดปกติดา้ นจิตใจ ปวดศีรษะ ข้างเดียว
นอนไม่หลับ
• มีอารมณ์แปรปรวน ส่งผลต่อสัมพันธภาพภายใน
ของครอบครัวและสังคม
• กระทบต่อทัศนคติ และพฤติกรรม การติดต่อสื่อสาร
กับผูป้ ่ วย และเพื่อนร่วมงาน
การป้องกันและควบค ุม
1) จัดให้มโี ครงการจัดการบริหารความเครียด
2) จัดให้มกี ารทางานเป็ นกะอย่างเหมาะสม และมีจานวน
ทีมงานที่เพียงพอ
3) ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทางานให้นา่ อยู่ น่าทางาน
4) ผูท้ ี่ทาหน้าที่ควบคุม กากับงาน ควรมีความยืดหยุ่น
และยอมรับฟั งความคิดเห็น
5) จัดให้มกี ิจกรรมคลายเครียด
6) จัดภาระงานให้เหมาะสมกับความสามารถของ
ผูร้ บั ผิดชอบงาน