Transcript Click

การประเมินทางสิ่งแวดล้อม
อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
การประเมินสิ่งแวดล้อมในการทางาน
การดาเนินงานเพื่อทราบถึงปริมาณ และระดับ
ของความเค้นในสิ่งแวดล้อมการทางาน เพือ่
นามาเปรียบเทียบกับระดับมาตรฐาน และ
ประเมินว่าสภาพการทางานนัน้ เป็ นอันตรายต่อ
ส ุขภาพผูป้ ฏิบตั ิงานหรือไม่
วัตถ ุประสงค์
1. ทาให้ทราบแหล่งมลพิษและปริมาณมลพิษ
2. นาผลไปออกแบบควบคุมสภาพแวดล้อม
3. ดูความสัมพันธ์ระหว่างการเจ็บป่ วย หรือ
บาดเจ็บกับสภาพแวดล้อม
4. ตรวจสอบและประเมินระบบควบคุมมลพิษ
5. ใช้เป็ นหลักฐานในการปฏิบตั ติ ามระเบียบ
ข้อบังคับ หรือกฎหมาย
ขัน้ ตอนการประเมินทางสิ่งแวดล้อม
เตรียมตัว
ตรวจวัดและ
เก็บตัวอย่าง
วิเคราะห์และ
แปลผล
การสารวจขัน้ ต้น (Preliminary/Walkthrough Survey)
เป็ นการค้นหาความเสี่ยงที่เกิดขึน้ ในแต่ละแผนก เพื่อเป็ น
การเตรียมเครื่องมือและเทคนิคก่อนสารวจละเอียด
และเพื่อเลือกบริเวณที่จะเก็บตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม
สิ่งที่ผป้ ู ระเมินต้องเตรียม
• แผนผัง/กระบวนการทางานในแต่ละแผนก
• รายชือ่ ของสารเคมีหรือวัสดุอปุ กรณ์ที่ใช้ใน
ข้
อ
มู
ล
สามารถหาได้
จ
ากข้
อ
มู
ล
การ
กระบวนการทางาน
นความเสี
่ยงทางสุ
ขภาพ RAH.01
•ประเมิ
จานวนผู
ป้ ฏิบตั งิ านในแต่
ละแผนก
• วิธีการควบคุมป้องกันที่มอี ยู่ในแผนก
• ลักษณะมลพิษหรือของเสียที่เกิดขึน้ ในแผนก
RAH.01
การสารวจอย่างละเอียด
ต้องใช้เครื่องมือที่สามารถอ่านค่าได้อย่างละเอียด
ถูกต้องแม่นยา แบ่งเป็ น
• เครื่องมือที่สามารถอ่านค่าได้โดยตรงทราบผลทันที
เช่น เครื่องวัดฝุ่ น เครื่องวัดความร้อน
• ต้องเก็บตัวอย่าง แล้วนามาวิเคราะห์ทาง
ห้องปฏิบตั กิ าร เช่น ตัวอย่างอากาศ ตัวอย่างนา้
ตัวอย่างนา้ ตัวอย่างเลือด ตัวอย่างปั สสาวะ
วัตถ ุประสงค์
1. เพื่อระบุพื้นที่ที่เป็ นปั ญหาและต้องการปรับปรุงแก้ไข
2. เพื่อระบุผปู้ ฏิบตั งิ านที่ควรหรือจาเป็ นต้องตรวจ
สุขภาพเฉพาะ
3. เพื่อหาแนวทางในการควบคุมทางวิศวกรรม
ทางการบริหารจัดการ หรือการใช้อปุ กรณ์ป้องกัน
อันตราย
4. เพื่อนาค่าที่ตรวจวัดได้ไปเปรียบเทียบกับค่า
มาตรฐาน
การเลือกใช้เครือ่ งมือ
• วัตถุประสงค์ของการเก็บตัวอย่าง
• ความพร้อมของเครื่องมือและผูใ้ ช้เครื่องมือ
• ความพร้อมและความสามารถของห้องปฏิบตั กิ าร
การเลือกใช้เครือ่ งมือ
1. มีความสะดวกในการขนย้าย และนาไปใช้ในภาคสนาม
2. วิธีการใช้งา่ ยและมีประสิทธิภาพสูง
3. มีความแม่นยาและเที่ยงตรง แม้จะถูกนาไปใช้ใน
ภาคสนาม
4. มีวิธีการวิเคราะห์ตวั อย่างที่เชือ่ ถือได้
5. เป็ นเครื่องมือที่มอี ยู่แล้วในหน่วยงาน หรือสามารถ
เช่า หรือยืมได้สะดวก
6. ผูใ้ ช้มปี ระสบการณ์ในการใช้เครื่องมือนัน้
ค่ามาตรฐาน
ทางสิ่งแวดล้อมและส ุขภาพ
อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
ความสาคัญ
ค่าที่ตรวจได้ > ค่ามาตรฐาน
= ค ุกคามต่อส ุขภาพ
ความหมายของคานิยาม
TLV (Threshold Limit Value)
PEL (Permissible Exposure Limit)
IDLH (Immediately Dangerous to Life or Health)
ppm (Parts Per Million Parts of Air)
NFPA (National Fire Protection)
OSHA (Occupational Safety and Health Administration)
ACGIH (American Conference of Governmental Industrial
Hygienists)
NIOSH (National Institute for Occupational Safety and
Health)
ค่ามาตรฐานสาร
Acetone
Ammonia
Benzene
Chlorine
Chloroform
Ether หรือ Ethyl ether
Ethylene oxide
Formaldehyde
Glutaraldehyde
ค่ามาตรฐานสาร
Glycerol
Halothane
Lead
Mercury
Methanol
Phenol
Xylene
ค่ามาตรฐานของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ค่ามาตรฐานระดับความร้อน
ลักษณะงาน ค่ามาตรฐาน* ตัวอย่างแผนก
งานเบา
<34 C
ตูย้ าม
งานปานกลาง <32 C
โภชนาการ, ซักฟอก, หน่วย
จ่ายกลาง
งานหนัก
<30 C
ห้องควบคุมหม้อไอนา้ , งาน
รีดผ้าปูเตียง
*WBGT (Wet Bulb Globe Temperature)
เครือ่ งวัดความร้อน
WBGT
(Wet Bulb Globe Temperature)
มาตรฐานระดับเสียงดัง
แหล่งกาเนิดของเสียงในโรงพยาบาล เช่น แผนกซักรีด
แผนกซ่อมบารุง ห้องครัว (บริเวณที่ลา้ งจาน
โดยใช้เครื่องล้างจานอัตโนมัติ การตัดเฝื อก ฯลฯ)
ระดับเสียงเฉลี่ยตลอดเวลาการทางาน
8 ชัว่ โมง ไม่เกิน 90 เดซิเบล (เอ)
มาตรฐานแสงสว่าง
• ความเข้มของแสงสว่างของอาคาร
• ความเข้มของแสงสว่างสาหรับทางาน
• งานละเอียดสูงมากเป็ นพิเศษ เช่น ผ่าตัด > 2,400 ลักซ์
•งานละเอียดน้อย เช่น การพิมพ์ > 400 ลักซ์
• งานละเอียดน้อย เช่น ปรุงอาหาร > 300 ลักซ์
มาตรฐานแสงสว่าง
• มาตรฐานด้านแสงสว่างที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลของ
สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย
• มาตรฐานด้านแสงสว่างที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลตาม
มาตรฐาน CIE (International Commission on Illumination)
สาหรับโรงพยาบาล
ค่ามาตรฐานรังสี
• แปลผลจากอุปกรณ์บนั ทึกปริมาณรังสีประจาตัว
บุคคล
• ปริมาณรังสีสะสม หมายถึง ค่าปริมาณรังสีที่ลกู จ้าง
คนนัน้ ได้รบั ในช่วงห้าปี ติดต่อกัน
• สาหรับค่ามาตรฐานของปริมาณรังสีได้รบั < 20
มิลลิซีเวอร์ตต่อปี โดยเฉลี่ยในช่วง 5 ปี ติดต่อกัน
• แต่ละปี จะรับปริมาณรังสีสะสมได้ < 50 มิลลิซีเวอร์ต
ค่ามาตรฐานค ุณภาพอากาศภายในอาคาร
• อุณหภูมิ 20-26 C
• ความชืน้ สัมพัทธ์ 30-60%
การเลือกใช้อ ุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายส่วนบ ุคคล
อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
(Personal Protection Equipments, PPE)
สิ่งที่ออกแบบมาให้เหมาะสมกับส่วนใดส่วนหนึ่งของ
ร่างกายเพื่อป้องกันอันตรายหรือลดความร ุนแรง
ของอันตรายที่จะเกิดขึน้ กับร่างกายส่วนนัน้ ในขณะ
ปฏิบตั งิ าน
อันตรายจากการไม่ใช้ PPE
แบ่งตามลักษณะการป้องกัน
1. อุปกรณ์ปกป้องศีรษะ
2. อุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและ
ดวงตา
3. อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดิน
หายใจ
4. อุปกรณ์ปกป้องการได้ยิน
5. อุปกรณ์ปกป้องมือและแขน
6. อุปกรณ์ปกป้องลาตัว
7. อุปกรณ์ปกป้องเท้า
เกณฑ์ทวั่ ไปในการเลือกใช้ PPE
1. เหมาะสมกับลักษณะงานหรืออันตรายที่เกิดจากงานนัน้
2. ประสิทธิภาพของอุปกรณ์ตอ้ งสูงพอที่จะป้องกัน
อันตรายที่เกิดขึน้
3. อุปกรณ์ตอ้ งได้รบั การรับรอง
4. ขนาดพอเหมาะกับผูใ้ ช้ หรือมีหลายขนาดให้เลือก
5. สวมใส่สบาย นา้ หนัก ไม่เป็ นอุปสรรคต่อการทางาน
6. การใช้งานและการดูแลรักษาไม่ย่งุ ยาก
7. ผูจ้ าหน่ายอุปกรณ์ควรให้ขอ้ มูล ข้อแนะนา และ
ให้บริการ
การด ูแลรักษา
1. ทาความสะอาดเป็ นประจา โดยเฉพาะหลังการใช้งาน
ทุกครัง้ ด้วยนา้ เปล่า หรือสารชะล้างที่มฤี ทธิ์อ่อน
2. ล้างด้วยนา้ สะอาด และผึง่ ลมให้แห้ง ไม่ควรตากแดด
3. ตรวจสภาพของอุปกรณ์เพื่อหารอยแตก ร้าว ฉีก
ขาด หรืออื่นๆ ที่แสดงถึงความชารุด หากพบให้เปลี่ยน
อะไหล่หรือเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ทงั้ ชิน้ การตรวจสภาพนี้
ควรทาทัง้ ก่อนและหลังการใช้งาน
1. อ ุปกรณ์ปกป้องศีรษะ
( SAFETY Helmet )
ใช้สาหรับป้องกันวัตถุฟาดหรือตกใส่ศีรษะ ซึ่ง
บางประเภทสามารถต้านทานไฟฟ้าได้
1. อ ุปกรณ์ปกป้องศีรษะ
1.1 ชัน้ คุณภาพ A สามารถป้องกันการกระทบกระแทก
และการเจาะทะลุของของแข็ง รวมทัง้ แรงดันไฟฟ้าไม่เกิน
2,200 โวลท์
1. อ ุปกรณ์ปกป้องศีรษะ
1.2 ชัน้ คุณภาพ B ป้องกันอันตรายจากการกระทบ
กระแทก และการเจาะทะลุของของแข็ง และป้องกัน
อันตรายจากกระแสไฟฟ้าได้ถึง 20,000 โวลท์ จึงเหมาะ
สาหรับงานที่ตอ้ งเสี่ยงต่อกระแสไฟฟ้าแรงดันสูง
1. อ ุปกรณ์ปกป้องศีรษะ
1.3 ชัน้ คุณภาพ C สามารถป้องกันการกระทบกระแทก
และการเจาะทะลุของของแข็ง แต่ไม่ป้องกันอันตรายจาก
กระแสไฟฟ้า เหมาะสาหรับการทางานในที่ไม่มอี นั ตราย
จากไฟฟ้ า
การเลือกใช้
1. ชนิดของอันตรายและความรุนแรงที่เกิดขึน้ จากงาน
และประสิทธิภาพการป้องกันของหมวก
2. มาตรฐานรับรอง หมวกนิรภัยต้องผ่านการทดสอบ
ประสิทธิภาพการป้องกันตามข้อกาหนดของสถาบัน
ที่นา่ เชือ่ ถือ
3. ขนาดเหมาะสมกับศีรษะ
4. สวมใส่สบาย นา้ หนักเบา
สิ่งควรพิจารณา
• หน่วยงานซ่อมบารุงเป็ นกลุม่ ที่เสี่ยงต่อการบาดเจ็บที่
ศีรษะ จึงควรได้รบั หมวกนิรภัยเป็ นอุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายส่วนบุคคลพื้นฐาน
• ในหน่วยงานอื่นอาจสวมใส่หมวกคลุมศีรษะที่ทาจากผ้า
หรือวัสดุอื่น เพื่อป้องกันการกระเด็นของของเหลว หรือ
การรับสัมผัสอันตรายอื่นที่ไม่ใช่การกระแทกของของแข็ง
2. อ ุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตา
1. แว่นตานิรภัย (Safety spectacles)
2. ครอบตานิรภัย (Safety Goggles)
3. กระบังหน้า (Face shields)
2. อ ุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตา
1. แว่นตานิรภัย (Safety spectacles) มีรปู ร่างเหมือน
แว่นสายตาทัว่ ไป มีความแข็งแรง ทนแรงกระแทก
แรงเจาะของวัตถุที่พง่ ุ เข้าสูใ่ บหน้าได้ ใช้สาหรับป้องกัน
อันตรายที่มที ิศทางมาจากทัง้ ด้านหน้าและด้านข้าง
2. อ ุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตา
2. ครอบตานิรภัย (Safety Goggles) เป็ นอุปกรณ์ครอบ
ปิ ดดวงตาทัง้ สองข้าง สามารถป้องกันอันตรายทั้งจาก
ของแข็งและของของเหลวที่พง่ ุ หรือกระเด็นเข้าใส่ดวงตา
ได้รอบด้าน
2. อ ุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตา
3. กระบังหน้า (Face shields) เป็ นแผ่นวัสดุโค้งครอบ
ใบหน้า ใช้สาหรับป้องกันอันตรายต่อใบหน้า ดวงตา
และลาคอ และการกระเด็น อีกแบบคือกระบังหน้า
สาหรับงานเชือ่ มโลหะ (Welding shields)
การเลือกใช้
1. ประสิทธิภาพและมาตรฐานรับรอง
2. ความพอดีกบั ใบหน้า ไม่บดบังสายตา และมองเห็ น
ภาพได้เหมือนจริง
3. ความสบายขณะสวมใส่ นา้ หนักเบา
4. ทนทานต่อความร้อน การกัดกร่อนของสารเคมี
และไม่เกิดความระคายเคืองต่อผิวหนัง
5. ไม่เป็ นอุปสรรคต่อการสวมใส่อปุ กรณ์ป้องกัน
อันตรายส่วนบุคคลชนิดอื่นบนใบหน้า
6. ทนทาน ทาความสะอาด และฆ่าเชือ้ โรคได้
สิ่งควรพิจารณา
1. ลักษณะงานบางอย่างในโรงพยาบาล เช่น ทันตกรรม
การผ่าตัด งานในห้องปฏิบตั กิ ารจุลชีววิทยา มีความ
เสี่ยงในการรับสัมผัสสารคัดหลัง่ ของคนไข้โรคติดเชือ้ ใน
รูปแบบของการกระเด็น และเป็ นละอองปะปนในอากาศ
ความแนบสนิท พอดีกบั ใบหน้าของอุปกรณ์ปกป้อง
ใบหน้าและดวงตาจึงเป็ นเรื่องสาคัญมาก
สิ่งควรพิจารณา
2. ผูส้ วมแว่นสายตา ควรเลือกแว่นนิรภัยที่เป็ นเลนส์ปรับ
สายตา หรือเลือกใช้แว่นหรือครอบตานิรภัยที่สามารถ
สวมครอบลงบนแว่นสายตาได้โดยไม่มผี ลต่อตาแหน่ง
การสวมใส่ของแว่นสายตาและการมองเห็น
สิ่งควรพิจารณา
3. การใช้เลนส์สมั ผัส (Contact lenses) อาจไม่ได้รบั
อนุญาตหากงานนัน้ มีความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของ
ดวงตาแต่หากไม่สามารถเลี่ยงได้ ควรใช้ครอบตาหรือ
แว่นตานิรภัยที่เหมาะสมร่วมด้วยตลอดเวลาที่ทางาน
4. การทางานกับแสงเลเซอร์ ควรใช้อปุ กรณ์ปกป้อง
ใบหน้าและดวงตาสาหรับป้องกันแสงเลเซอร์เฉพาะ
3. อ ุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ
1. ชนิดกรองอากาศ หรือหน้ากากกรองอากาศ
2. ชนิดส่งผ่านอากาศ
3. อ ุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ
1. ชนิดกรองอากาศ หรือหน้ากากกรองอากาศ มีสว่ น
สาคัญคือตัวกรองทาหน้าที่ดกั จับสารอันตรายในอากาศ
3. อ ุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ
ผ้าปิดจมูกแบบบาง
ประโยชน์ ใช้สาหรับป้องกันฝุ่ นละออง เช่น ฝุ่ น ฝอยจาก
การไอ จาม
3. อ ุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ
หน้ากากอนามัยใช้ครัง้ เดียว (Single-Use Hygienic
Face Masks)
Surgical Mask
3. อ ุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ
หน้ากากอนามัยใช้ครัง้ เดียว (Single-Use Hygienic
Face Masks)
N95
3. อ ุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ
ชนิดเปลี่ยนไส้กรองได้
3. อ ุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ
ชนิด Respiratory Protective Mask
3. อ ุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ
2. ชนิดส่งผ่านอากาศ เป็ นอุปกรณ์ปกป้องระบบ
ทางเดินหายใจที่อาศัยอากาศสะอาดจากแหล่งอื่น ไม่ใช่
อากาศในบริเวณทางาน แล้วส่งผ่านไปยังบริเวณ
หายใจ (Breathing zone) ของผูส้ วมใส่
การเลือกใช้
1. เลือกชนิดของอุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ
ตามปริมาณของสารอันตรายในอากาศ ไม่เกิน 10-50
เท่า
2. ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพการป้องกันและ
คุณสมบัตอิ ื่นๆ ตามข้อกาหนดของหน่วยงานที่เชือ่ ถือได้
3. ความกระชับในการสวมใส่
4. นา้ หนักเบา
5. ส่วนต่างๆ ของหน้ากากต้องไม่บดบังสายตาขณะ
สวมใส่
สิ่งควรพิจารณา
1. ศึกษาข้อแนะนาหรือแนวทางจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้
2. ผูใ้ ช้ตอ้ งทราบวิธีการสวมใส่และถอดอุปกรณ์อย่าง
ถูกต้อง
3. ความกระชับแนบสนิทของอุปกรณ์เป็ นเรื่องสาคัญ
4. อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจที่ทาจากวัสดุที่
ต่อต้านการซึมผ่านของของเหลวต้องได้มาตรฐาน
5. อายุการใช้งานของอุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดิน
หายใจ
4. อ ุปกรณ์ปกป้องการได้ยนิ
1. ที่อดุ หู (Ear plug) เป็ นอุปกรณ์ที่สอดไว้ในช่องหู
เพื่อกัน้ ทางเดินเสียงและดูดซับเสียง
2. ที่ครอบหู (Ear muff)
Ear muff
Ear plug
การเลือกใช้
1. ประสิทธิภาพและมาตรฐานรับรอง
2. ความสบายขณะสวมใส่ และความกระชับพอดี
กับช่องหูหรือศีรษะ
3. อุปสรรคเมือ่ ใช้งานร่วมกับอุปกรณ์อื่นบนศีรษะ
สิ่งควรพิจารณา
• การสูญหายและปนเปื้ อนในงาน หรือผลิตภัณฑ์ทที่ า
หน่วยงานในโรงพยาบาลที่อาจจาเป็ นต้องใช้และควรระวัง
คือ หน่วยผลิตยา หน่วยโภชนาการ และหน่วยซักฟอก
5. อ ุปกรณ์ป้องกันมือและแขน
1. ถุงมือป้องกันสารเคมี ใช้สาหรับป้องกันสารเคมีทงั้ ใน
สภาพที่เป็ นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
2. ถุงมือป้องกันการขีดข่วน
3. ถุงมือป้องกันอุณหภูมิ
4. ถุงมือป้องกันไฟฟ้า
5. อ ุปกรณ์ป้องกันมือและแขน
1. ถุงมือป้องกันสารเคมี ใช้สาหรับป้องกันสารเคมีทงั้ ใน
สภาพที่เป็ นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
5. อ ุปกรณ์ป้องกันมือและแขน
2. ถุงมือป้องกันการขีดข่วน
5. อ ุปกรณ์ป้องกันมือและแขน
3. ถุงมือป้องกันอุณหภูมิ
4. ถุงมือป้องกันไฟฟ้า
5. อ ุปกรณ์ป้องกันมือและแขน
4. ถุงมือป้องกันไฟฟ้า
การเลือกใช้
1. ประสิทธิภาพในการป้องกันและมาตรฐานรับรอง
2. ลักษณะอันตราย ลักษณะงาน ชนิดของสารเคมี
3. การใช้งาน ระยะเวลาสัมผัสอันตราย ส่วนของร่างกายที่
สัมผัส (มือ แขน นิว้ )
4. ผิวสัมผัสของวัตถุ (แห้ง เปี ยก มีนา้ มัน) และการจับยึด
5. ขนาด ความหนาของวัสดุ
6. ความสบาย
สิ่งควรพิจารณา
• Disposable gloves ที่ใช้ทวั ่ ไปในโรงพยาบาล อาจใช้ครั้ง
เดียวแล้วทิ้ง หรือนากลับมาใช้ใหม่เมือ่ ผ่านกระบวนการ
ฆ่าเชือ้ โรคแล้ว มักทาจากยางธรรมชาติหรือยาง
สังเคราะห์ บางคนอาจเกิดอาการแพ้ (ผิวหนังเป็ นผื่นแดง
บวม มีอาการคล้ายเป็ นลมพิษ หายใจหอบ) จึงควร
หลีกเลี่ยงใช้ถงุ มือที่ทาจากยางสังเคราะห์แทน
6. อ ุปกรณ์ปกป้องลาตัว
6.1 ช ุดป้องกันสารเคมี
1. ชุดป้องกันก๊าซพิษ (Gas-Tight Encapsulating Suit)
2. ชุดป้องกันการกระเด็นของของเหลวอันตราย (Liquid
Splash-Protective Suits)
3. ชุดป้องกันการปนเปื้ อนทัว่ ไป (Non-hazardous
Chemical Protective Clothing)
6. อ ุปกรณ์ปกป้องลาตัว
ชุดป้องกันการปนเปื้ อนทัว่ ไป (Non-hazardous
Chemical Protective Clothing)
การเลือกใช้
1. ประสิทธิภาพในการป้องกันและมาตรฐานรับรอง
2. นา้ หนักและความสะดวกสบายเมือ่ ใช้งาน
3. ขนาด
6.2 ช ุดป้องกันความร้อน
ใช้สาหรับป้องกันอันตรายจากความร้อนที่แผ่ออกมา
จากแหล่งกาเนิด การกระเด็นของโลหะหลอมเหลว หรือ
ป้องกันอันตรายจากการสัมผัสแหล่งความร้อนโดยตรง
ได้แก่ งานผจญเพลิง งานซ่อมบารุงบางชนิด เป็ นต้น
วัสดุที่นามาทาชุดกันความร้อนมีหลายชนิดและมีความ
แตกต่างกันไปตามระดับอุณหภูมทิ ี่ป้องกันได้
การเลือกใช้
1. ประสิทธิภาพในการป้องกันและมาตรฐานรับรอง
2. รูปแบบ ขนาด และความพอดี
3. ความรูส้ ึกสบายเมือ่ สวมใส่
4. คุณสมบัตอิ ื่นๆ ที่อาจส่งผลกระทบถึงผูส้ วมใส่ เช่น
การระบายอากาศ นา้ หนัก ความระคายเคือง เพื่อป้องกัน
ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ กับผูส้ วมใส่ การเพิ่มขึน้ ของ
อุณหภูมขิ องร่างกายมากเกิน การเป็ นลม
สิ่งควรพิจารณา
• ชุดป้องกันในโรงพยาบาล อาจมีทงั้ แบบสวมด้านหน้า
ปิ ดทางด้านหลัง หรือผ่าหน้าติดกระดุมหรือเทป
สาเร็จรูป แขนยาวหรือสัน้ ก็ได้ หรืออาจเป็ นแบบคลุม
ทัง้ ตัว เสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวติดกันเป็ นชิ้นเดียว
• การเลือกใช้ชดุ ป้องกันการปนเปื้ อนเพื่อใช้ในงานที่ตอ้ ง
สัมผัสกับคนไข้ที่เป็ นโรคติดเชือ้ รุนแรง ควรพิจารณา
ข้อแนะนาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพเช่น WHO,
CDC เป็ นแนวทาง
7. อ ุปกรณ์ปกป้องเท้า
เป็ นอุปกรณ์สาหรับป้องกันอันตรายที่อาจขึน้ กับเท้า
ได้แก่ การกระแทก ทับ หนีบ หรือทิ่มแทงจากวัตถุ
ต่างๆ ป้องกันสารเคมี ป้องกันความร้อน และ
ป้องกันการลื่นล้ม
ชนิด
1. รองเท้านิรภัยทัว่ ไป
2. รองเท้าตัวนาไฟฟ้า (Electrically conductive shoes)
3. รองเท้าป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า (Electrical
hazard, safety-toe shoes)
การเลือกใช้
1. ประสิทธิภาพและมาตรฐานรับรอง
2. เหมาะสมกับลักษณะงาน
3. ขนาดพอดี
4. นา้ หนักเบา
5. ความสวยงาม
สิ่งควรพิจารณา
• บุคลากรในหน่วยงานซ่อมบารุงเป็ นกลุม่ ที่เสี่ยงต่อการ
บาดเจ็บที่เท้ า จึงควรได้ รับรองเท้ านิรภัยเป็ นอุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายส่วนบุคคลพื ้นฐาน
• หน่วยงานอื่น เช่น หน่วยจ่ายกลาง หน่วยซักฟอก อาจมี
ลักษณะงานที่เสี่ยงต่อการบาดเจ็บที่เท้ าบ้ าง เจ้ าหน้ าที่ความ
ปลอดภัยในการทางานควรพิจารณาทาการประเมินความ
เสี่ยง เพื่อตัดสินความจาเป็ นในการใช้ อปุ กรณ์