Transcript COPD

80
66.67
70
70.53
60
50
40
30
26.87
19.23
20
22.73
20
10
10.33
7.58
1.15
0
0
เม.ย.-ก.ย. 2555
Admit
Re-admit
ปี 2556
Re-visit
12
2.1
ปี 2557
Respiratory failure
Definition of COPD






Dyspnea (Progressive, not fully reversible airflow limitation)
Chronic cough
Chronic sputum production
History of exposure to risk factors : tobacco smoke, smoke frome home
cooking&heating fuels, occupationa dusts& chemicals
โรคที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจที่ไม่สามารถทาให้กลับมาเป็ นปกติได้
มีอาการเหนื่อย ไอเรื้ อรัง มีเสมหะ โดยมีอาการเป็ นๆ หายๆ ปี ละอย่างน้อย 3
เดือน และเป็ นติดต่อกันอย่างน้อย 2 ปี
Pathogenesis & Pathophysiology
Noxious Gases
Lung inflammation
Oxidative stress
Proteinases
COPD pathology
Small Airway Disease
Parenchymal Destruction
- Airway inflammation
- Airway fibrosis, luminal plugs
- Increased airway resistance
-Loss of aveolar attachments
-Decrease of elastic recoil
Reversible airflow obstruction
Irreversible airflow obstruction
Diagnosing COPD
มีประวัติเสี่ ยงต่อการเกิดโรค เช่น สูบบุหรี่ มีอาการไอ มีเสมหะ และ
หอบเหนื่อย
 ตรวจสมรรถภาพปอดด้วย spirometry หลังได้ยาพ่นขยายหลอดลม แล้ว
ค่า FEV1 / FVC < 0.7

• FEV1 (force expiratory volume in 1 second) คือ ปริ มาตรของลมที่เป่ าออกได้ในวินาทีแรก
ของการหายใจออกอย่างเร็วและแรงเต็มที่ หน่วยเป็ นลิตร
• FVC (force vital capacity) คือ ปริ มาตรของลมที่เป่ าออกได้ท้ งั หมดของการหายใจออกอย่าง
รวดเร็ว และแรงเต็มที่ หน่วยเป็ นลิตร
การตรวจสมรรถภาพปอด Spirometry
Peak Flow meter (เครือ
่ งว ัดความเร็วสูงสุด)
Management of COPD
เป้าหมายของการรักษา







บรรเทาอาการ โดยเฉพาอาการหอบเหนื่อย
ทาให้ exercise tolerance ดีข้ ึน
ทาให้คุณภาพชีวิตดีข้ ึน
ป้ องกันหรื อชะลอการดาเนิ นโรค
ป้ องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อน
ป้ องกันและรักษาภาวะอาการกาเริ บ
ลดอัตราการเสี ยชีวิต
REDUCE SYMPTOMS
REDUCE RISK
Assessment of COPD
Assess Symptoms :
 COPD Assessment Test (CAT)
เป็ นการประเมินผลกระทบของ COPD ต่อผูป้ ่ วย ประกอบด้วยคาถาม 8 ข้อๆละ 5 คะแนน
คะแนนเต็ม 40 คะแนน < 10 มีผลกระทบน้อย, ถ้า > 10 มีผลกระทบมาก
 Modifies British Medical Reserch Council (mMRC)
ระดับ 0 : ปกติ ไม่มีเหนื่อยง่าย
ระดับ 1 : มีอาการเหนื่อยง่าย เมื่อเดินเร็ วๆ ขึ้นทางชัน
ระดับ 2 : เดินในพื้นราบไม่ทนั เพื่อนที่อยูใ่ นวัยเดียวกัน เพราะเหนื่อยหรื อต้องหยุดเดินเป็ นพักๆ
ระดับ 3 : เดินได้นอ้ ยกว่า 100 เมตร
ระดับ 4 : เหนื่อยง่ายเวลาทากิจวัตรประจาวัน เช่นแต่งตัว อาบน้ า จนไม่สามารถออกนอกบ้านได้
Assessment of COPD
COPD Assessment Test (CAT)
Assessment of COPD
Assess Degree of Airflow Limitation Using Spirometry :
( Based on Post-Bronchodilator FEV1 )
GOLD 1 : Mild
GOLD 2 : Moderate
GOLD 3 : Severe
GOLD 4 : Very Severe
FEV1 ≥ 80%
50% ≤ FEV1 < 80%
30% ≤ FEV1 < 50%
FEV1 < 30%
GOLD guideline 2013
(Global Initiative for Chronic Obstructive Lung Disease)
GOLD guideline 2013
(Global Initiative for Chronic Obstructive Lung Disease)
Patient
characteristic
Spirometric
classification
Exacerbation per year
mMRC
CAT
A
อาการน้อย
โอกาสกาเริ บน้อย
GOLD 1-2
≤1
0-1
< 10
B
อาการมาก
โอกาสกาเริ บน้อย
GOLD 1-2
≤1
≥2
≥ 10
C
อาการน้อย
โอกาสกาเริ บมาก
GOLD 3-4
≥2
0-1
< 10
D
อาการมาก
โอกาสกาเริ บน้อย
GOLD 3-4
≥2
≥2
≥ 10
Management

การเลือกใช้ยาตามกลุ่มผูป้ ่ วย
Group
การรักษา
A
อาการน้อย โอกาสกาเริบน้อย
• Short acting B2 agonist (SABA)
B
อาการมาก โอกาสกาเริบน้อย
• Long acting B2 agonist (LABA)
• SABA as needed
C
อาการน้อย โอกาสกาเริบมาก
D
อาการมาก โอกาสกาเริบมาก
• Long acting B2 agonist (LABA)
• SABA as needed
• considered inhaled corticosteroid if
frequent exacerbation
•
•
•
•
Long acting B2 agonist (LABA)
SABA as needed
inhaled corticosteroid
Consider Long term oxygen therapy
Management

การรักษาตามความรุนแรง
ความรุนแรง
FEV1
การรักษา
GOLD 1 : Mild
≥ 80%
• Short acting B2 agonist (SABA)
GOLD 2 : Moderate
50-79%
• Long acting B2 agonist (LABA)
• SABA as needed
GOLD 3 : Severe
30-49%
• Long acting B2 agonist (LABA)
• SABA as needed
• considered inhaled corticosteroid if
frequent exacerbation
GOLD 4 : Very severe
<30%
•
•
•
•
Long acting B2 agonist (LABA)
SABA as needed
inhaled corticosteroid
Consider Long term oxygen therapy
ยาทีใ่ ชใ้ นการร ักษา
Bronchodilator
Short-acting B2 agonists (SABA)








Inhaled, oral
จับกับ B2 receptor ทาให้หลอดลมขยาย
ยาพ่นออกฤทธิ์เร็ วภายใน 2-3 นาที อาการข้างเคียงน้อยกว่ายากินหรื อฉีด แต่
ฤทธิ์ยาสั้น 4-6 ชัว่ โมง
ใช้เฉพาะช่วงอาการกาเริบ
Salbutamol (MDI, DPI, solution และ oral)
Terbutaline (oral และ parenteral )
ขนาดยา salbutamol nebulizer solution (0.5%, 5 mg/ml) 0.03 ml/kg/dose
ผลข้างเคียง : skeletal muscle tremor, ปวดหัว, ใจสัน่
Bronchodilator
Long-acting B2 agonists (LABA)
 เป็ นยาขยายหลอดลมที่ออกฤทธิ์ ยาวอย่างน้อย 12 ชัว
่ โมงขึ้นไป
โดยจับกับ B2 receptor
 นาไปใช้เป็ นตัวควบคุมอาการ


Salmeterol (serevent®), Formeterol
Fixed combination :
Seretide® (salmeterol + fluticasone)
Symbicort® (formeterol + budesonide)
Inhaled Long-Acting 2-Agonists (LABA)
Salmeterol
(serevent®)
Symbicort®
(formeterol + budesonide)
Seretide®
(salmeterol + fluticasone)
Bronchodilator
Anticholinergics







ได้แก่ Ipratropium bromide
ออกฤทธิ์โดยจับกับ muscarinic receptor ยับยั้งการทางานของ acetylcholine
ทาให้หลอดลมขยายได้
ประสิ ทธิภาพน้อยกว่า SABA ออกฤทธิ์ชา้ กว่า ไม่ใช่เป็ นยาเดี่ยวๆ
onset 30 นาที, duration 6-8 ชม.
แนะนาให้ใช้ร่วมกับ inhaled SABA
Combivent® (ipratropium bromide+ salbutamol)
Berodual® (Ipratropium bromide + fenoterol)
Relievers
Salbutamol
Ventolin®
Combivent®
(ipratropium bromide
+ salbutamol)
Berodual®
(Ipratropium bromide
+ fenoterol)
Bronchodilator
Theophylline



เป็ นยากลุ่ม nonselective phosphodiesterase inhibitor
ออกฤทธิ์ขยายหลอดลม มีฤทธิ์ตา้ นการอักเสบของหลอดลมหากให้ในขนาด
ต่าๆ
อาการข้างเคียง ; คลื่นไส้ ปวดท้อง ใจสัน่ มือสัน่ นอนไม่หลับ
Inhaled corticosteroids ; ICS







ประสิ ทธิภาพไม่ชดั เจนเท่ากับในโรคหอบหื ด
ไม่ใช่เป็ นยาเดี่ยวในการรักษา COPD
ออกฤทธิ์ตา้ นการอักเสบของหลอดลม
ใช้ร่วมกับ LABA ใน COPD case severe
ช่วยลดอาการหอบเหนื่อย เพิม่ สมรรถภาพปอด ลดความถี่ในการกาเริ บ และเพิ่ม
คุณภาพชีวิต
Budesonide, Beclomethasone diproprionate
ผลข้างเคียง ; เสี ยงแหบ, มีเชื้อราในปาก
Inhaled corticosteroids
Fluticasone
Budesonide
Beclomethasone
Nebulizer : เป็ นวิธีการทาความชื้นแบบทาให้น้ ากลายเป็ น
ละอองเล็กๆแขวนไปกับอากาศ อากาศที่มีละอองน้ าแขวนลอยอยูน่ ้ ี
เรี ยกว่า aerosol ซึ่งสามารถมองเห็นเป็ นควันขาวๆ
JET Nebulizer :
อุปกรณ์ที่ใช้ –> กระเปาะใส่ ยาที่ต่อไปยังท่อนาก๊าซ (อาจเป็ นถัง
ออกซิเจน หรื อ air compressor) และอุปกรณ์พน่ ยา, mouthpiece
หรื อ face mask
- ยาเข้าสู่ปอดได้ 9-12 %







ใส่ ยาลงในกระเปาะ nebulizer
ใส่ NSS เพือ่ เจือจาง ให้ได้ปริ มาตรรวมประมาณ 4 ซีซี
เปิ ดก๊าซให้ได้อตั ราไหลที่ 6-8 L/min
ต่อกับ mouthpiece หรื อ facemask
หายใจเข้าออกปกติ ผ่าน facemask หรื อ mouthpiece
ถือกระเปาะ nebulizer ในแนวตั้ง
เคาะกระเปาะด้านข้างเป็ นระยะๆ
ี
ข้อเสย
ข้อดี
1. ไม่ตอ้ งอาศัยความร่ วมมือจากผูป้ ่ วย
ขนาดเล็ก พกพาง่าย
2. สามารถให้ยาหลายชนิ ดรวมกันได้
3. ใช้ได้ทุกช่วงอายุ และใช้ได้กบั ผูป้ ่ วยใส่
ท่อช่วยหายใจ
1.
2.
3.
4.
5.
ต้องมี compressor เพื่อใช้พน่ ก๊าซ
ราคาแพง
ระยะเวลาในการพ่นนาน
สูญเสี ยยามาก ยาเข้าปอดน้อย
อาจปนเปื้ อนได้ ถ้าล้างไม่สะอาด
ตกค้างที่หลอดลมและปอด 9-12%
 ตกค้างที่ oropharynx 80%
 อีก 10% ตกค้างอยูใ่ น MDI

Ventolin (salbutamol)
Berodual
(Ipratopium bromide+ Fenoterol)






ถ้ามีเสมหะควรกาจัดเสมหะก่อนพ่นยา
กรณีที่กระเปาะพ่นยาเย็นให้อุ่นในฝ่ ามือก่อน
เขย่ายาแรงๆ ในแนวดิ่ง 4-5 ครั้ง เพื่อเพิ่มการกระจายยา และเพิ่มแรงดันยา
เปิ ดฝาออกจาก mouth piece
ตั้ง canister ในแนวตรงโดยให้ปากกระบอกยาอยูด่ า้ นล่าง
วางปากพ่นยาอยูใ่ นปากแล้วปิ ดให้สนิ ท




เงย MDI ขึ้ น เพื่อให้ยาตกลงไปที่เพดานอ่อน
หายใจออกตามปกติจนสุด
สูดหายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ พร้อมกับกด MDI เอา MDI ออก กลั้นหายใจ
อย่างน้อย 10วินาทีเพื่อให้ละอองยาที่ลอยอยู่ ตกลงไปสู่หลอดลมส่วนล่าง
ตามแรงโน้มถ่วงมากขึ้ น ถ้าหายใจออกเร็วละอองยาก็จะออกตามมาด้วย
ค่อยๆ หายใจออกช้าๆ



ควรเว้นระยะเวลาอย่างน้อย 30-60 วินาที ก่อนพ่นยาครั้งต่อไป
ถ้าเป็ นยาพ่นสเตียรอยด์ ให้บว้ นปากทุกครั้ง เพื่อป้องกันการเกิดเสียงแหบ
การมีเชื้ อราในปาก
กรณีที่ใช้ยาพ่นร่วมกัน 2 ชนิ ด ต้องเว้นระยะในการพ่นยาแต่ละชนิ ด
ประมาณ 5 นาที ควรพ่นยาที่มีฤทธิ์ขยายหลอดลมก่อน
ข้อดี
1. ระยะเวลาในการพ่นยาสั้น
2. ขนาดเล็ก พกพาง่าย
3. ราคาไม่แพง
ี
ข้อเสย
1. พ่นยาต้องอาศัยความสัมพันธ์
ระหว่างการหายใจและกดยา
2. ทาได้ยากในเด็กเล็กและผูส้ ู งอายุ
3. มีปริ มาณยาตกสะสมในช่องปากและ
คอมาก
4. บางรุ่ นไม่มีที่นบั ปริ มาณยาที่เหลืออยู่




เป็ นยาผงประกอบด้วยผงยาขนาดเล็กที่เส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 5
micron
ใช้ไม่ยุง่ ยากเหมือน MDI เพราะไม่ตอ้ งอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างการกด
ยากับการหายใจเข้า
ต้องอาศัยแรงสูดที่เร็วและแรงอย่างน้อย 30-60 L/sec
เพื่อให้ยาแตกตัวเป็ นผงเล็กๆ
ชนิ ดของ DPI : accuhaler, turbuhaler,
easyhaler
Symbicort
คลายเกลียวและเปิ ดฝาออก จับขวด Turbuhaler ให้อยูใ่ นแนวตั้ง โดยให้
ฐานที่จบั อยูด่ า้ นล่าง
 เตรี ยมยาให้พร้อมที่จะสู ด 1 dose โดยหมุนฐานที่ใช้จบ
ั ไปทางขวาจนสุ ด
แล้วหมุนกลับที่เดิมจนได้ยนิ เสี ยง “คลิก”

หายใจออกจนหมดปอด ห้ามหายใจออกขณะที่ปากยังอม mouthpiece
ของ Turbuhaler อยู่
่ ะหว่างฟัน และปิ ดปากสนิท
 อมส่ วนที่เป็ น mouthpiece ให้อยูร





สูดลมหายใจเข้าเร็ วๆ แรงๆ ทางปากจนสุ ด
เอาขวด turbuhaler ออกจากปาก ค่อยๆ ผ่อนลมหายใจออก
ตรวจสอบปริ มาณยาที่เหลือ
ปิ ดฝาครอบให้แน่น
Seretide

การเปิ ด
เปิ ดเครื่อง Accuhaler โดยใช้มือด้านหนึ่ งจับตัวเครื่องด้านนอกไว้
แล้วใช้นิ้วหัวแม่มือของอีกมือหนึ่ งวางลงที่ร่อง ดันนิ้ วหัวแม่มือในทิศ
ทางออกจากตัวไปจนสุด

การเลือ
่ น
เตรี ยมยาให้พร้อมที่จะสูด 1 dose โดยถือเครื่ องไว้ให้ดา้ นปากกระบอก
หันเข้าหาตัว ดันแกนเลื่อนออกไปจนสุ ด จนได้ยนิ เสี ยง “ คลิก ”

การสูด
ถือเครื่ อง Accuhaler ให้ห่างจากปากไว้ก่อนแล้วหายใจออกให้สุด



อย่าพ่นลมหายใจเข้าไปในปอด
ถือเครื่ อง Accuhaler โดยให้ส่วนปากกระบอกทาบกับริ มฝี ปาก อมส่ วนที่เป็ น
mouthpiece ให้อยูร่ ะหว่างฟัน และปิ ดปากสนิท สูดลมหายใจเข้าทางปากโดยผ่าน
ทางเครื่ องมือให้เร็ วๆ แรงๆ ที่สุด
เอาเครื่ อง Accuhaler ออกจากปาก และกลั้นหายใจไว้ 5-10 วินาที

การปิ ด
ปิ ดเครื่ อง Accuhaler โดยวางนิ้วหัวแม่มือลงบนร่ องแล้วเลื่อนกลับเข้า
หาตัวจนสุ ด เมื่อเครื่ องถูกปิ ด จะมีเสี ยงดัง “คลิก” ตัวแกนจะเลื่อนคืน
กลับที่ตาแหน่งเดิม และจะถูกตั้งเครื่ องใหม่โดยอัตโนมัติเพื่อพร้อมใช้
งานครั้งต่อไป
Pursed lip breathing
- หายใจเข้าผ่านจมูก ให้หน้าท้องโป่ ง
- หายใจออกทางปาก พร้อมกับการทาปากจู๋ หรื อห่อปาก เพื่อค่อยๆ เป่ าลมออกทางปาก
- หายใจออกยาวประมาณ 2 เท่าของหายใจเข้า
- โดยทัว่ ไป หายใจเข้า 4 วินาที หายใจออก 6-8 วินาที
Early warning sign
อาการทีต
่ อ
้ งเฝ้าระว ัง
- อาการหอบเหนือ
่ ย
ี งปอด
- เสย
ี จร
- ชพ
- O2 sat
ึ ตัว
- ระดับการรู ้สก
Early warning signs
- RR > 26/min
้ ้ามเนือ
- ใชกล
้ ชว่ ยหายใจ
- Lung : Wheezing,
Decrease breath sound
- ปริมาณเสมหะมากไม่สามารถขับ
ออกเองได ้
- SBP > 180 mmHg
- PR > 120/min
- SpO2 <90 %ขณะได ้รับออกซเิ จน
ึ ตัวเปลีย
- ระดับการรู ้สก
่ นแปลง
Early warning sign
Action point
- จัดท่านั่งศรี ษะสูง
- On O2canula 3-5 LMP keep O2 sat ≥ 90%
- พ่นยาขยายหลอดลม
- ดูแลทางเดินหายใจให ้โล่ง ดูดเสมหะ
- วัด V/S SpO2 ทุก 15 นาที 30 นาที และทุก 1 ช.ม. จน
อาการคงที่
- รายงานแพทย์