หายใจตามปกติในขณะพ่นยา ในกรณีใช้ ท่อสูดยาทางปากจะต้องหายใจ เข้า

Download Report

Transcript หายใจตามปกติในขณะพ่นยา ในกรณีใช้ ท่อสูดยาทางปากจะต้องหายใจ เข้า

วิธีพ่นยา
1. ประกอบกระเปาะพ่ นยาให้ ถูกต้ อง
5. ในกรณีทใี่ ช้ ออกซิเจน
ให้ เปิ ดอัตราการไหลของก๊าซ
6-8 ลิตรต่ อนาที
หายใจตามปกติในขณะพ่นยา ในกรณีใช้
ท่ อสู ดยาทางปากจะต้ องหายใจ เข้ า-ออก
ทางปาก ซึ่งสั งเกตได้ จากขณะพ่นยา
ละอองยาจะพุ่งเข้ าปากในช่ วงหายใจเข้ า
และพุ่งออกจากปากในขณะหายใจออก
2. ใส่ ยาหรือยาผสม
นา้ เกลือลงในกระเปาะ
พ่นยา ตามทีแ่ พทย์สั่ง
3. ต่ อกระเปาะพ่นยากับหน้ ากาก หรือ
ท่ อสู ดยาทางปาก
6. สั งเกตความหนาแน่ น
ของละอองยาว่ามีพอดีหรือไม่
8. ขณะพ่นยาให้ เคาะ กระเปาะพ่นยา
เป็ นระยะ ๆ เพือ่ ไม่ ให้ ยาติดด้ านใน
กระเปาะ
9. พ่นยาต่ อจนกระทัง่ ไม่ เห็นละอองยา
คือพ่นจนยาหมดกระเปาะ
4. ต่ อสายพ่นยากับเครื่องพ่นยา
หรือ ถังออกซิเจน
7. นาไปครอบบริเวณหน้ าถ้ าต่ อ
กระเปาะพ่นยากับหน้ ากาก หรือ
ให้ เด็กอมทางปากถ้ าต่ อกระเปาะ
พ่ นยากับท่ อสู ดยาทางปาก
10. ติดตามผลการรักษา ได้ แก่ หายใจ
โล่งขึน้ ไม่ มีเสี ยงวีด๊ จากปอด สั งเกตผล
ข้ างเคียงของยาทีอ่ าจเกิดขึน้ เช่ น ใจสั่ น
การทาความสะอาด
นากระป๋ องพ่ นยามาล้ างด้ วยนา้ สบู่ หรือ
นา้ ยาล้างจาน ล้างตามด้ วยนา้ ประปา
จนสะอาด ผึง่ ไว้ให้ แห้ งสนิทก่อนนามาใช้
ข้ อแนะนาเพิม่ เติม
1. การพ่นยาแต่ ละครั้ง ควรใช้ เวลาอย่าง
น้ อย 10 นาที
2. การพ่นยาจะได้ ผลดีเมื่อเด็กให้ ความ
วิธีพ่นยา
แบบละออง
ร่ วมมือ และไม่ ควรให้ เด็กร้ องไห้ เพราะ
ปริมาณยาจะเข้ าสู่ ปอดได้ น้อยลง
3. ถ้ าไม่ เห็นละอองยาหรือละอองยาออกไม่
หนาแน่ นเท่าทีค่ วรจะต้ องสารวจสิ่ ง
ต่ อไปนี้ คือ
3.1 เครื่องพ่นยาทางานหรือไม่
3.2 ถ้ าใช้ ออกซิเจนในการพ่นยา
สารวจดูว่าเปิ ดอัตราการไหลของก๊ าซถึง
ระดับ 6-8 ลิตรต่ อนาทีหรือไม่
3.3 จุดต่ อบริเวณต่ าง ๆ หลุดหรือไม่
3.4 กระเปาะพ่ นยา ประกอบถูกต้ อง
หรือไม่
3.5 กระเปาะพ่ นยาอยู่ในตาแหน่ งที่
ถูกต้ องหรือไม่
เรี ยบเรี ยงโดย
จงรักษ์ อุตรารัชต์ กจิ
แพทย์ หญิงอรุณวรรณ พฤทธิพนั ธุ์
โครงการส่ งเสริ มและฟื้ นฟูสมรรถภาพปอดเด็ก
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี