ระบบบริหารความเสี่ยง โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว

Download Report

Transcript ระบบบริหารความเสี่ยง โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว

วัตถุประสงค์
มีระบบบริหารความเสี่ ยง ความปลอดภัย
และคุณภาพ ของโรงพยาบาลทีม่ ีประสิ ทธิภาพและ
ประสานสอดคล้ องกัน รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพ
การดูแลผู้ป่วยในลักษณะบูรณาการ
เป้าหมาย
1. ผู้รับบริการปลอดภัยในการรับบริการ
2. องค์ กรมีมาตรฐานความปลอดภัยทั้งด้ านคลินิกบริการและระบบ
โครงสร้ างสิ่ งแวดล้ อม
3. มีการป้องกันความเสี่ ยงอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
4. ความเสี่ ยงที่เกิดขึน้ ได้ รับการแก้ ไขอย่ างเหมาะสมและรวดเร็ว
• ความเสี่ ยงทางคลินิก (Clinic)
• ความเสี่ ยงทั่วไป ( Non Clinic )
• Sentinel event
• โปรแกรมเฝ้ าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล (IC)
• โปรแกรมความคลาดเคลื่อนทางยา ( Med error)
• โปรแกรมด้านคลีนิก ( ความเสี่ยงที่เกิดกับผูป้ ่ วย )
• โปรแกรมด้านสารสนเทศ
• โปรแกรมด้านสิทธิผปู้ ่ วยและจริ ยธรรมองค์กร
• โปรแกรมด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
• โปรแกรมด้านเครื่ องมือและอุปกรณ์
•โปรแกรมด้านชีวอนามัย
•โปรแกรมด้านอื่นๆ
ความเสี่ยงอื่นที่ไม่ใช่เกี่ยวกับผู้ป่วยโดยตรง
เช่น การเงิน ธุรการ งานเอกสาร เป็ นต้ น
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ผูป้ ่ วยเสียชีวิตโดยไม่ได้คาดหมาย
ผูป้ ่ วยหนี / หาย หรือถูกลักพาออกจากโรงพยาบาล
การลักขโมยทรัพย์สินทีเ่ กิดขึ้ นภายในโรงพยาบาล
เหตุการณ์ทีม่ ีโอกาสจะถูกฟ้ องร้อง ร้องเรียนและเผยแพร่ผ่าน
สือ่ มวลชนและทาให้เสือ่ มเสียชื่อเสียงโรงพยาบาล
การเกิดอัคคีภยั ในโรงพยาบาล
อุบตั ิเหตุหมู่
การเกิดโรคระบาดรุนแรงทีต่ อ้ งระวังเป็ นพิเศษ
เหตุการณ์จลาจลในเขตอาเภอ
ความเสี่ ยงใน รพ.
Non-clinic
ด้ าน Clinic
General Clinical Risk
- สิ่ งคุกคามทางกายภาพ
- สิ่ งคุกคามทางเคมี
- สิ่ งคุกคามทางกายศาสตร์
- จากสิ่ งคุกคามทางจิตวิทยาสั งคม
- จากคุณภาพอากาศ
Sentinel Event
Specific Clinical Risk
- ข้ อมูลการเฝ้ าระวังการติดเชื้อใน
โรงพยาบาล (IC)
- ข้ อมูลความคลาดเคลือ่ นทางยา (
Med error)
- ข้ อมูลด้ านอาชี วอนามัย
- ข้ อมูลทางคลินิค
- สิ ทธิผ้ ปู ่ วยและจริยธรรมองค์ กร
- สารสนเทศ
- เครื่องมือ อุปกรณ์
ความเสี่ ยงเฉพาะโรคหรือทีเ่ กีย่ วข้ อง
กับโรคของผู้ป่วยเฉพาะบุคคล
1. ผู้ป่วยเสี ยชี วติ โดยไม่ ได้ คาดหมาย
2. ผู้ป่วยหนี / หาย หรือถูกลักพาออกจาก
โรงพยาบาล
3. การลักขโมยทรัพย์สินทีเ่ กิดขึน้ ภายใน
โรงพยาบาล
4. เหตุการณ์ ทมี่ ีโอกาสจะถูกฟ้องร้ อง ร้ องเรียน
และเผยแพร่ ผ่านสื่ อมวลชนและทาให้ เสื่ อมเสี ย
ชื่อเสี ยงโรงพยาบาล
5. การเกิดอัคคีภัยในโรงพยาบาล
6. การเกิดเหตุการณ์ ภัยพิบัติในพืน้ ทีอ่ าเภอ
8. การเกิดโรคระบาดรุ นแรงที่ต้องระวังเป็ นพิเศษ
9. เหตุการณ์ จลาจลในเขต

การค้นหาความเสีย่ งเชิงรุก
IC. Round, ENV. Round, RM.Round
 การทบทวน 12 กิจกรรมคุณภาพ
 การตรวจประเมินภาวะสุขภาพ


การค้นหาความเสีย่ งเชิงรับ

การรายงานอุบตั ิการณ์ตามระบบบริหารความเสีย่ ง
 ระบบรับข้อร้องเรียนและเสนอแนะบริการ
การบันทึกรายงานโดยใช้แบบฟอร์ม (ใบ IR )
 การบันทึกในสมุดรายงานความเสีย
่ งของหน่วยงาน

การแบ่งระดับความเสีย่ งคลินิก
แบ่งเป็ น 9 ระดับตั้งแต่ A – I
แบ่งออกเป็ น 3 ระดับ
ความรุนแรงระดับตา่
ความรุนแรงระดับปานกลาง
ความรุนแรงระดับสูง
ข้อร้องเรี ยน/ความเสี่ ยง
ระดับ A –B
(ไม่เป็ นอันตราย)
หรือความเสี่ยงระดับต่า
รายงานภายใน 7 วัน
บันทึกเหตุการณ์ในสมุด RM
ของหน่วยงาน
ส่ง RMU ประจาหน่วยงานหรื อ
หัวหน้างาน
รายงานภายใน 1สัปดาห์
ระดับ c – F
(เป็ นอันตราย)
หรื อความเสี่ยงระดับปานกลาง
รายงานภายใน 7 วัน
หน่วยงาน / แพทย์ที่รับผิดชอบดูแล
ผูป้ ่ วย
-ส่ง RMU ประจาหน่วยงานหรื อ
หัวหน้างาน
ศูนย์ประสานงานความเสี่ยง ทีม RM
-ทีม RM )ประสานไปยังโปรแกรมกาเนินการ
ทบทวนอุบตั กิ ารณ์ความเสี่ยงที่เกิดขึ ้น
ส่งข้ อมูลไปยังศูนย์คณ
ุ ภาพ กรรมการบริหาร รพ. /
ทีมนาที่เกี่ยวข้ อง เพื่อปรับปรุ งระบบ
ระดับ G – I
(เป็ นอันตรายอาจถึงแก่ชีวิต)
หรื อความเสี่ยงระดับสูง
รายงานภายใน 1 วัน
บันทึกเหตุการณ์ในใบรายงานความเสี่ยง
รายงานภายใน 1 วัน
ส่งRMU ประจาหน่วยงานหรื อหัวหน้ างาน
รายงานภายใน 1 วัน และ RCA ภายใน 3 วัน
- จัดทาคู่มือระบบบริหารความเสีย่ ง ทีมRMทาความเข้าใจกับทุกหน่วยงาน
- ปรับปรุงโปรแกรมการรายงานความเสีย่ งให้มีความชัดเจนยิง่ ขึ้ น
- กระตุน้ ให้หน่วยงานรายงานความเสีย่ ง โดยช่องทางที่เหมาะสมกับบริบท
ของหน่วยงาน
- เพิม่ ช่องทางรายงานความเสีย่ งทางตูแ้ สดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ
ทั้งเจ้าหน้าที่และผูม้ ารับบริการ
ด้ าน Clinic
จานวนครั้ง

เดือน
ด้ าน Non Clinic
จานวนครั้ง

เดือน


ด้าน Clinic
1. ความคลาดเคลือ่ นทางเวชระเบียน
2. ความคลาดเคลือ่ นทางยา
3. พฤติกรรมบริการ
ด้าน Non Clinic
1. เอกสารสูญหาย
2. การเรียกเก็บเงินจากใบสังยา
่

เรียงตามลาดับดังนี้
1 บันทึกเหตุการณ์ประจาหน่วยงาน
2. แบบฟอร์มใบรายงานอุบตั ิการณ์
3. ตูแ้ สดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ



พัฒนาโปรแกรมให้จนท.ได้ใช้ง่ายขึ้ น
กระตุน้ ให้หน่วยงานปฎิบตั ิตามแนวทางที่ได้วางไว้ เพือ่ ลดการเกิดอุบตั ิการซ้ า
กระตุน้ ให้หน่วยงานเห็นความสาคัญของระบบรายงาน
ความเสีย่ งมากขึ้ น
ขอได้ รับข้ อเสนอแนะจากทุกท่ าน