การประเมินความเสี่ยง
Download
Report
Transcript การประเมินความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงจากการทางาน
http://www.ecom.training.dupont.com
นายโกวิทย์ บุญมีพงศ์
สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้ อม
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เนือ้ หาการบรรยาย
การประเมินความเสี่ยง
การประยุกต์ใช้ เกณฑ์
การประเมินความเสี่ยง
จากการทางานของบุคลากร
ในโรงพยาบาล ......
........สูส่ ถานประกอบการ
การประเมินความเสี่ยง : ความจาเป็ น?
http://www.pantip.com/cafe/social/topic/U12052428/U12052428.html
http://www.shawpat.or.th/news/
www.naewna.com
การประเมินผลกระทบต่ อสุขภาพจากการทางาน
งาน
ป่ วย
สิ่งคุกคามสุขภาพ
บาดเจ็บ
ลักษณะ
การทางาน
ดร.พญ.ฉันทนา ผดุงทศ
สภาพแวดล้ อม
สิ่งคุกคาม (Hazard)
สิง่ ใดก็ตามที่มีศกั ยภาพในอันที่จะก่อให้ เกิดอันตรายและส่งผลกระทบต่อ
สุขภาพกายและใจของผู้ประกอบอาชีพ
• สิง่ คุกคามสุขภาพทางกายภาพ (Physical Health Hazards)
• สิง่ คุกคามสุขภาพทางเคมี (Chemical Health Hazards)
• สิง่ คุกคามสุขภาพทางชีวภาพ (Biological Health Hazards)
• สิง่ คุกคามทางเออร์ กอนอมิคส์ (Ergonomics)
• สิง่ คุกคามสุขภาพทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial Health Hazards)
ประชาคมอาเซียน
CSR:
Corporate Social Responsibility
การประเมินความเสี่ยง
พรบ.โรงงาน พ.ศ.2535
พรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้ อมในการทางาน พ.ศ. 2554
ประชาคมอาเซียน
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
CSR
• หมายถึง ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้ อมขององค์กร ซึง่ คือ
การดาเนินธุรกิจภายใต้ หลักจริยธรรมและการจัดการที่ดี โดยรับผิดชอบ
สังคมและสิง่ เเวดล้ อมทังในระดั
้
บไกลและใกล้ อันนาไปสูก่ ารพัฒนาที่
ยัง่ ยืน"
http://www.csrcom.com
ระดับของ CSR
• ระดับ 1 Mandatory Level: ข้ อกาหนดตามกฎหมาย หมายถึง ธุรกิจมี
หน้ าที่ต้องปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นไปตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกีย่ วข้ อง เช่น
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค, กฎหมายเเรงงาน, การจ่ายภาษี เป็ นต้ น
• ระดับ 2 Elementary Level: ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
• ระดับ 3 Preemptive Level: จรรยาบรรณทางธุรกิจ
• ระดับ 4 Voluntary Level: ความสมัครใจ
• ทังนี
้ ้ ธุรกิจต้ องดาเนินการตามเกณฑ์ในระดับ 1 เป็ นอย่างน้ อย ส่วนการ
ดาเนินการในระดับต่อไปให้ ขึ ้นกับความพร้ อมของแต่ละองค์กร
http://www.csrcom.com
หลักแนวคิดของ CSR
•
•
•
•
•
•
•
•
1. การกากับดูเเลกิจการที่ดี
2. การประกอบธุรกิจด้ วยความเป็ นธรรม
3. การเคารพสิทธิและการปฏิบตั ิตอ่ เเรงงานอย่างเป็ นธรรม
4. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
5. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม
6. การดูเเลรักษาสิง่ เเวดล้ อม
7. การเผยเเพร่นวัตกรรมจากการดาเนินความรับผิดชอบต่อสังคม
8. การจัดทารายงานด้ านสังคมและสิ่งเเวดล้ อม
http://www.csrcom.com
พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535
• ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542) เรื่ อง มาตรการ
คุ้มครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน
•
-กาหนดให้ มีการชี ้บ่งอันตราย และการประเมินความเสี่ยง
•
-แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง
• ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่ อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัย
ในการดาเนินงาน(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552
•
-กาหนดประเภทหรื อชนิดของโรงงาน
พรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้ อมในการทางาน พ.ศ. 2554
• หมวด 4 การควบคุม กากับ ดูแลมาตรา 32 เพื่อประโยชน์ในการ
ควบคุม กากับ ดูแลการดาเนินการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้ อมในการทางาน ให้ นายจ้ างดาเนินการดังต่อไปนี ้
• (1) จัดให้ มีการประเมินอันตราย
• (2) ศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้ อมในการทางานที่มีผลต่อลูกจ้ าง
• (3) จัดทาแผนการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้ อมในการทางาน
พรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้ อมในการทางาน พ.ศ. 2554
• (4) ส่งผลการประเมินอันตราย การศึกษาผลกระทบ แผนการ
ดาเนินงานและแผนการควบคุมตาม (1) (2) และ (3) ให้ อธิบดีหรื อผู้ซงึ่
อธิบดีมอบหมาย
• หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการดาเนินการ ประเภทกิจการ ขนาด
ของกิจการที่ต้องดาเนินการ และระยะเวลาที่ต้องดาเนินการ ให้ เป็ นไป
ตามที่รัฐมนตรี กาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
สิ่งที่ต้องดาเนินการ
การชี ้บ่งอันตราย
การประเมินอันตราย
การประเมินความเสี่ยง
การศึกษาผลกระทบของ
สภาพแวดล้ อมในการทางาน
ที่มีผลต่อลูกจ้ าง
การจัดทาแผนงาน
บริหารจัดการความเสี่ยง
การจัดทาแผนการดาเนินงาน
ด้ านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อม
ในการทางาน
การชีบ้ ่ งอันตราย Hazard Identification
• กระบวนการวิเคราะห์องค์ประกอบของเหตุการณ์ หรื อสภาวการณ์ที่
อาจก่อให้ เกิดการบาดเจ็บ เจ็บป่ วยทรัพย์สนิ เสียหาย มีผลกระทบต่อ
สิง่ แวดล้ อม มีผลกระทบต่อชุมชน โดยใช้ เทคนิควิธีตา่ งๆ เช่น
• Checklist
• What If Analysis
• Hazard and Operability Study (HAZOP)
• Fault Tree Analysis
• Failure Modes and Effects Analysis (FMEA)
• Event Tree Analysis
• JSA
Checklist
• เป็ นวิธีที่ใช้ ในการชี ้บ่งอันตรายโดยการนาแบบตรวจไปใช้ ในการ
ตรวจสอบการดาเนินงานในโรงงานเพื่อค้ นหาอันตราย
• แบบตรวจประกอบด้ วยหัวข้ อคาถามที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินงานต่าง
ๆ เพื่อตรวจสอบว่าได้ ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการออกแบบ มาตรฐานการ
ปฏิบตั งิ านหรื อกฎหมาย เพื่อนาผลจากการตรวจสอบมาทาการชี ้บ่ง
อันตราย
What If Analysis
• เป็ นกระบวนการในการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนเพื่อชี ้บ่งอันตราย
ในการดาเนินงานต่าง ๆ ในโรงงานอุตสาหกรรมโดยการใช้ คาถาม
• "จะเกิดอะไรขึ ้น….ถ้ า…." (What If)
• และหาคาตอบในคาถามเหล่านันเพื
้ ่อชี ้บ่งอันตรายที่อาจเกิดขึ ้นในการ
ดาเนินงานในโรงงาน
Hazard and Operability Study : HAZOP
• เป็ นเทคนิคการศึกษา วิเคราะห์และทบทวนเพื่อชี ้บ่งอันตรายและค้ นหา
ปั ญหาที่อาจเกิดขึ ้นจากการดาเนินงานโรงงาน โดยการวิเคราะห์หา
อันตรายและปั ญหาของระบบต่าง ๆ ซึง่ อาจจะเกิดจากความไม่สมบูรณ์
ในการออกแบบที่เกิดขึ ้นโดยไม่ได้ ตงใจด้
ั ้ วยการตังค
้ าถามที่สมมติ
สถานการณ์ของการผลิตในภาวะต่าง ๆ โดยการใช้ HAZOP Guide
Words มาประกอบกับปั จจัยการผลิตที่ได้ ออกแบบไว้ หรื อความ
บกพร่องและความผิดปกติในการทางาน เช่น อัตราการไหล อุณหภูมิ
ความดัน เป็ นต้ น เพื่อนามาชี ้บ่งอันตรายหรื อค้ นหาปั ญหาใน
กระบวนการผลิตซึง่ อาจทาให้ เกิดอุบตั เิ หตุหรื ออุบตั ภิ ยั ร้ ายแรงขึ ้นได้
Fault Tree Analysis : FTA
• เน้ นถึงอุบตั ิเหตุหรื ออุบตั ิภยั ร้ ายแรงที่เกิดขึ ้นหรื อคาดว่าจะเกิดขึ ้น เพื่อ
นาไปวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดเหตุ ซึง่ เป็ นเทคนิคในการคิด
ย้ อนกลับที่อาศัยหลักการทางตรรกวิทยาในการใช้ หลักการเหตุและผล
เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุหรื ออุบตั ภิ ยั ร้ ายแรง โดยเริ่ม
วิเคราะห์จากอุบตั ิเหตุหรื ออุบตั ิภยั ร้ ายแรงที่เกิดขึ ้นหรื อคาดว่าจะเกิดขึ ้น
เพื่อพิจารณาหาเหตุการณ์แรกที่เกิดขึ ้นก่อนแล้ วนามาแจกแจงขันตอน
้
การเกิดเหตุการณ์แรกว่ามาจากเหตุการณ์ยอ่ ยอะไรได้ บ้าง และ
เหตุการณ์ยอ่ ยเหล่านันเกิ
้ ดขึ ้นได้ อย่าง การสิ ้นสุดการวิเคราะห์เมื่อ
พบว่าสาเหตุของการเกิดเหตุการณ์ยอ่ ยเป็ นผลเนื่องจากความบกพร่อง
ของเครื่ องจักรอุปกรณ์ หรื อความผิดพลาดจากการปฏิบตั งิ าน
Failure Modes and Effects Analysis : FMEA
• เป็ นเทคนิคการชี ้บ่งอันตรายที่ใช้ การวิเคราะห์ในรูปแบบความล้ มเหลว
และผลที่เกิดขึ ้น ซึง่ เป็ นการตรวจสอบชิ ้นส่วนเครื่ องจักรอุปกรณ์ใน
แต่ละส่วนของระบบแล้ วนามาวิเคราะห์หาผลที่จะเกิดขึ ้นเมือ่ เกิดความ
ล้ มเหลวของเครื่ องจักรอุปกรณ์
Event Tree Analysis : ETA
• เป็ นเทคนิคการชี ้บ่งอันตรายเพื่อวิเคราะห์และประเมินหาผลกระทบ
ที่จะเกิดขึ ้นต่อเนื่องเมื่อเกิดเหตุการณ์แรกขึ ้น (Initiating Event) ซึง่ เป็ น
การคิดเพื่อคาดการณ์ลว่ งหน้ าเพื่อวิเคราะห์หาผลสืบเนื่องที่จะเกิดขึ ้น
เมื่อเครื่ องจักรอุปกรณ์เสียหายหรื อคนทางานผิดพลาด เพือ่ ให้ ทราบ
สาเหตุวา่ เกิดขึ ้นได้ อย่างไร และมีโอกาสที่จะเกิดมากน้ อยเพียงใด
รวมทังเป็
้ นการตรวจสอบว่าระบบความปลอดภัยที่มีอยูม่ ีปัญหาหรื อไม่
อย่างไร
Job Safety Analysis : JSA
• เทคนิคสาหรับการชี ้บ่งอันตรายวิธีหนึง่ ที่เหมาะสาหรับใช้ วิเคราะห์ ใน
แต่ละขันตอนการท
้
างานว่า ขณะที่คนทางานจะสัมผัสสิง่ คุกคาม/
อันตรายใดบ้ างที่อาจทาให้ คนบาดเจ็บ หรื อเจ็บป่ วย แล้ วจึงนามา
กาหนดมาตรการควบคุมป้องกันเพื่อจัดทาเป็ นวิธีปฏิบตั งิ านที่ปลอดภัย
www.safetycultureusa.com/images/Job_Safety_Analysis.jpg
Stop and Think (S & T)
•
•
•
•
•
•
หยุดคิด..ก่อนทา เมื่อไม่มีมาตรการกาหนดไว้
ถ้ า ......................จะ.......................หรื อไม่?
ถ้ า ...............แล้ ว..จะรุนแรง.........หรื อไม่?
ถ้ า จะไม่ให้ ...........จะต้ องทาอย่างไร.........?
ถ้ าตอบข้ อ 3 ได้ ให้ ทาตามที่ตอบ
ถ้ า ตอบข้ อ 3 ไม่ได้ ........หยุด!........แจ้ งหัวหน้ างาน
www.shawpat.or.th
www.mensfitnessonline.com/wp-content/uploads/2010/06/stop1.jpg&imgrefurl
แนวทางการเลือกวิธีการชีบ้ ่ งอันตราย
แบ
สภาพการณ์
บ
1 จะวิเคราะห์ระบบหรื อมาตรการควบคุมว่าถ้ า
ทางานไม่สาเร็จจะเกิดผลอย่างไร
2 จะวิเคราะห์ความล้ มเหลวของอุปกรณ์เป็ นชิ ้นๆ
3
4
จะวิเคราะห์ความเบี่ยงเบนไปจากค่าควบคุม
ปั จจัยการผลิต
จะวิเคราะห์เรื่ องอื่นๆที่ยงั อาจไม่ครอบคลุม
www.shawpat.or.th
วิธีการที่เหมาะสม
Even Tree Analysis
:ETA
Failure Mode and
Effect Analysis : FMEA
Hazard and Operability
Study : HAZOP
What-if
แนวทางการเลือกวิธีการชี้บ่งอันตราย
แบ
สภาพการณ์
บ
5 จะตรวจสอบว่าเป็ นไปตามมาตรฐาน/กม.
6 จะวิเคราะห์วา่ คนจะสัมผัสกับอะไร
จนทาให้ บาดเจ็บหรื อเจ็บป่ วย
7 มีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ ้น เป็ นกิจกรรมที่ไม่มีวิธี
ปฏิบตั ิ แต่บงั เอิญจะต้ องทา
8 จะวิเคราะห์เหตุการณ์รุนแรงที่ไม่ต้องการให้ เกิด
www.shawpat.or.th
วิธีการที่เหมาะสม
Check list
JSA
Stop and Think (S&T)
Fault Tree Analysis:FTA
ความเสี่ยง (Risk)
ลักษณะของสถานการณ์ หรื อการกระทาใด ๆ ที่มีองค์ประกอบ 2 อย่างคือ
• ความไม่แน่นอน หมายถึงไม่สามารถบอกได้ ด้วยความมัน่ ใจว่าจะเกิด
เหตุการณ์ที่กาลังสนใจ หรื อตามคาดการณ์หรื อไม่ บอกได้ เพียงโอกาส
ของการเกิด
• สิง่ ไม่พงึ ประสงค์ หรื อผลลัพธ์ที่ไม่พงึ ประสงค์ หมายถึง เหตุการณ์ที่
กาลังสนใจหรื อคาดการณ์นนเป็
ั ้ นสิง่ ที่ไม่ต้องการให้ เกิดขึ ้น หากมี
ผลลัพธ์หลายอย่างเกิดขึ ้นอย่างน้ อย 1 ในผลลัพธ์จะต้ องไม่พงึ ประสงค์
สถานการณ์ ความเสี่ ยง
•
•
•
•
เกิดแน่นอน 100%ไม่ใช่ความเสี่ยง
ไม่เกิดแน่นอน 0% ไม่ใช่ความเสี่ยง
ความเสี่ยงเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้ องกับอนาคต
ความเสี่ยงเป็ นผลมาจากความไม่แน่นอน
www.shawpat.or.th
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
• กระบวนการวิเคราะห์ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์หรื อสภาวะการณ์ที่
เป็ นอันตรายว่ามี มาก หรื อ น้ อย อยูใ่ นระดับที่ ยอมรับได้ หรื อ ยอมรับ
ไม่ได้ โดยพิจารณาถึง โอกาส และ ความรุนแรง ของอันตรายเหล่านัน้
• วิธีการประเมินความเสี่ยงที่นิยมใช้ ในประเทศไทยได้ แก่
• 1. วิธีระเบียบของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
• 2. วิธี OSHAS/TIS.18001
• ค่ าระดับความเสี่ยง = ค่ าระดับโอกาส x ค่ าระดับความรุ นแรง
www.shawpat.or.th
การพิจารณาโอกาสที่จะเกิดจากมาตรการที่มีอยู่
ระดับ
พิจารณาจากข้ อมูลในปั จจุบัน
1
มีโอกาสในการเกิดยาก เพราะ มีมาตรการที่เป็ นวัสดุอปุ กรณ์ PM
2
มีโอกาสในการเกิดน้ อย เพราะ มีมาตรการที่เป็ น W/I แบบมีตวั
ช่วย เช่นป้ายเตือน
มีโอกาสในการเกิดปานกลาง เพราะ มีมาตรการที่เป็ น W/I แบบ
ไม่มีตวั ช่วย
3
4
มีโอกาสในการเกิดสูง เพราะ ไม่มีมาตรการ
www.shawpat.or.th
การพิจารณาโอกาสที่จะเกิดจากสถิตกิ ารเกิดที่ผ่านมา
ระดับ
พิจารณาจากข้ อมูลในอดีต
1
ไม่ เคยเกิดเลยในช่ วงเวลาตัง้ แต่ 10 ปี ขึน้ ไป
2
ความถี่ในการเกิด เกิดขึน้ 1 ครัง้ ในช่ วง 5-10 ปี
3
ความถี่ในการเกิด เกิดขึน้ 1 ครัง้ ในช่ วง 1-5 ปี
4
ความถี่ในการเกิด เกิดมากกว่ า 1 ครัง้ ใน 1 ปี
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง
และการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยงพ.ศ. 2543
การพิจารณาความรุ นแรง
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง
และการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยงพ.ศ. 2543
การพิจารณาความรุ นแรง
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง
และการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยงพ.ศ. 2543
การพิจารณาความรุ นแรง
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง
และการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยงพ.ศ. 2543
การพิจารณาความรุ นแรง
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง
และการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยงพ.ศ. 2543
การจัดระดับความเสี่ยง
ระดับ
ผลลัพธ์
ความเสี่ยง
ความหมาย
1
1-2
ความเสี่ยงเล็กน้ อย
2
3,4,6
3
8,9
ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ต้ องมีการทบทวนมาตรการ
ควบคุม
ความเสี่ยงสูง ต้ องมีการดาเนินงานเพื่อลดความเสี่ยง
4
12,16
ความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้ ต้ องหยุดดาเนินการและ
ปรับปรุงแก้ ไขเพื่อลดความเสี่ยงลงทันที
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง
และการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยงพ.ศ. 2543
แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง
• หมายถึง การจัดทา แผนงานลดความเสี่ยง เพื่อจัดทามาตรการควบคุม
ป้องกันอันตรายเพิ่มเติมสาหรับอันตรายที่มีระดับความเสีย่ งสูงและ
ระดับยอมรับไม่ได้
• และจัดทาแผนงานควบคุมความเสี่ยง เพื่อควบคุมให้ มีการปฏิบตั ิตาม
มาตรการอย่างมีประสิทธิภาพสาหรับอันตรายที่มีระดับความเสี่ยงใน
ระดับยอมรับได้
แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง
แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง
การควบคุมป้องกันที่แหล่ งกาเนิด
• การระบายอากาศที่เหมาะสมเพื่อกาจัดฝุ่ น ไอ ควันพิษออกไป
• ติดตังอุ
้ ปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เครื่ องจักร
• สร้ างระบบที่สามารถป้องกันการเดินเครื่ องเองของเครื่องจักร
การควบคุมป้องกันที่กระบวนการทางาน
หรือการบริหารจัดการ
•
•
•
•
•
การกาหนดกฎระเบียบความปลอดภัย
การติดตามควบคุมตามกฎระเบียบอย่างสม่าเสมอ
การสลับสับเปลี่ยนผู้ปฏิบตั ิงาน
การลดระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน
การจัดการความเป็ นระเบียบ
เรี ยบร้ อยใน
สถานประกอบการ
การควบคุมป้องกันที่ตัวบุคคล
• การจัดให้ มีอา่ งล้ างมือ หน้ า ตา ที่อาบน ้า กรณีมกี ารทางาน
กับสารเคมีอนั ตราย
• การสวมใส่อปุ กรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เช่น แว่นตา
นิรภัยป้องกันตาจากวัตถุที่กระเด็น การสวมใส่อปุ กรณ์ปกป้อง
ระบบหายใจจากสารเคมี การสวมอุปกรณ์ป้องกันเสียงดัง
บริ เวณเครื่ องจักรที่มีเสียงดัง
การประเมินความเสี่ยงและการบริหารจัดการความเสี่ยง
การเตรี ยมการ
การระบุสิ่งคุกคาม
จานวนผู้ได้ รับผลกระทบ
ความรุนแรง
โอกาส
จัดระดับความเสี่ยง
ลด/ขจัด/หลีกเลี่ยง
เฝ้าคุม
สื่อสารความเสี่ยง
ไม่ได้
ความเสี่ยง
ยอมรับได้
หรื อไม่
ได้
ดาเนินการต่อไป
พร้ อมความเสี่ยงที่มีอยู่
การประยุกต์ ใช้ เกณฑ์ การประเมินความเสี่ยงจากการ
ทางานของบุคลากรในโรงพยาบาล ......
........สู่สถานประกอบการ
องค์ ประกอบที่ 3
การติดตามประเมินผล
องค์ ประกอบที่ 1
การบริ หารจัดการ
องค์ ประกอบที่ 2
การดาเนินการประเมิน
และควบคุมความเสี่ ยง
ระดับการประเมิน
ระดับการประเมิน
•
•
•
•
•
ระดับที่ 1
ระดับที่ 2
ระดับที่ 3
ระดับที่ 4
ระดับที่ 5
พอใช้
เริ่มมีการแก้ ไขปรับปรุง
มีแนวโน้ มที่ดีในกิจกรรมที่สาคัญ
มีผลลัพธ์ที่ดีในทุกกิจกรรมที่สาคัญ
มีการดาเนินงานผลลัพธ์ดีมาก
องค์ ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ
องค์ ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ
องค์ ประกอบที่ 2การดาเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง
องค์ ประกอบที่ 2การดาเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง
องค์ ประกอบที่ 2การดาเนินการประเมินและควบคุมความเสี่ยง
องค์ ประกอบที่ 3 การติดตามประเมินผล
รูปแบบการดาเนินงาน“สมุทรสาครโมเดล”
สปก.สมัคร
เข้ าร่วมโครงการ
สปก.ศึกษา
เกณฑ์ฯ
สปก.ดาเนินงาน
ตามเกณฑ์ฯ
จัดระดับ
การประเมิน
สปก.ส่งแบบ
ประเมินตนเอง
ตามเกณฑ์มายัง
รพ.สมุทรสาคร
สคร.4 & รพ.สมุทรสาคร
สนับสนุนการดาเนินงาน
รพ.สมุทรสาคร
ตรวจรับรองสปก.
ร่วมกับสคร. 4
ขอบคุณครับ