ภาพนิ่ง 1 - สคร.6 ขอนแก่น

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - สคร.6 ขอนแก่น

บทเรียน และประสบการณ์ การป้องกัน
ควบคุมอหิวาตกโรค จ.มหาสารคาม
นายพรสิทธิ์ ทวยนันท์
นักวิชาการสาธารณสุข 8ว.
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
กรอบการนาเสนอ
1.วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
2.ปั จจัยแห่งความสาเร็จ
3.ข้อเสนอแนะเพื่อการควบคุมโรค
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Man
จังหวัด
จัดทีมงานโดยรวมผูเ้ กี่ยวข้องทุกภาคส่วน เพื่อ
ดาเนินการ ประกอบด้วย
ทีมปฏิบตั กิ าร
เฝ้ าระวังโรค ควบคุมโรค สิ่งแวดล้อม สุขศึกษา
ชันสูตร 2 จุด ท้องถิ่น (เทศบาล/ อบต.)
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Man (ต่อ)
ทีม
ปฏิบตั กิ าร แบ่งออกเป็ น 2 ช่วง เช้า และเย็น
เพื่อรับช่วงการทางานที่ยงั ไม่เสร็จ
(ไม่เว้นวันหยุดราชการ)
ทีมสนับสนุน
เป็ นฝ่ ายสนับสนุนการปฏิบตั งิ าน (งานบริหาร)
เอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ ยานพาหนะ น้ ามัน
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Man (ต่อ)
อำเภอ
จัดทีม SRRT อาเภอละ 2-3 ทีม และ
มีเบอร์โทรศัพท์ตดิ ต่อทุกอาเภอ ได้ตลอดเวลา
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Money
นพ.สสจ.สนับสนุ นงบประมำณ
1.การดาเนินงานช่วง ตค.-ธค.50
จานวน 300,000 บาท
2.การประชาสัมพันธ์ และการเตรียม
Cary Blair รวมทั้งการตรวจนอกเวลา
ราชการ จานวน 115,000 บาท
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Money (ต่อ)
3.การป้องกันอหิวาตกโรคในช่วง
พระราชทานปริญญาบัตร มมส.(19 ธค.50)
จานวน 33,000 บาท
หนังสือสั ่งการให้แต่ละ CUP จัดสรร
งบประมาณให้ทีมปฏิบตั กิ ารของอาเภอ อย่าง
เพียงพอ และสารองให้สามารถเบิกจ่ายแก่ทีมได้
ตลอด
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Material
1.จ.จัดยานพาหนะพร้อมน้ ามัน และคนขับ
ไม่เว้นวันหยุดราชการ อย่างน้อย วันละ 2 คัน
2.เวชภัณฑ์ยา ให้แต่ละ CUP เตรียมยา
Norfloxacin ให้พร้อม
3.เตรียม Cary Blair โดย รพท.มค.
และ รพช.โกสุมพิสยั
4.น้ ายาฆ่าเชื้อ (Lysol)
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management
1.การประชุม War room ทุกวัน
ไม่เว้นวันหยุดราชการ เวลา 14.00 น. (ทีม
จังหวัดและอาเภอที่เกิดโรค) เนื่องจาก 1.1
ผล Lab ออกประมาณ 10.00 น.จังหวัดแจ้ง
อาเภอออกปฏิบตั งิ าน ร่วมกับจังหวัด1.2
ทีมงานระดับจังหวัดจะประชุมกันก่อนหลังจาก
ได้รบั รายงานผล Lab เพื่อการสนับสนุนการ
ทางานในระดับพื้นที่
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
1.3 ติดตามการปฏิบตั งิ านที่ได้รบั มอบหมายใน
ครั้งที่แล้ว
1.4 นาเสนอผลการ
ปฏิบตั งิ านในวันนั้น 1.5 พิจารณาความ
สมบูรณ์ของการควบคุมโรคและมอบภารกิจ
เพิ่มเติม
1.6 ปั ญหา
อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขซึ่งเกิดเป็ น
มาตรการ การปฏิบตั ดิ า้ นต่างๆ เช่น(เฉพาะส่วน
สาคัญ)
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
1.6.1 การค้นหาผูป้ ่ วยในสถานบริการ
การสอบสวนโรค และการทา RSC ของญาติ
ผูป้ ่ วยใน รพ.ท.
1.6.2 การให้การรักษาจากเดิมที่ผสู ้ มั ผัสร่วม
บ้านต้องได้ยา จะเน้น Food handler ผู ้
ติดเชื้อ ผูม้ ีอาการ เท่านั้นที่ตอ้ งได้ยา
1.6.3 การสนับสนุนยาฆ่าเชื้อ Lysol
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
1.6.4 การประเมินผลการดาเนินงาน
1.6.5 การให้สุขศึกษาเฉพาะพื้นที่
1.6.6 การป้องกันอหิวาตกโรคในช่วง
พระราชทานปริญญาบัตร มมส.
1.6.7 การดาเนินการควบคุมโรค เมื่อพบ
ผูป้ ่ วยสงสัยจะเป็ นอหิวาต์ก่อนผลชันสูตรจะออก
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
1.6.8 จัดทาป้ายประชาสัมพันธ์ทุกอาเภอ
1.6.9 เฝ้ าระวังโรคในหมู่บา้ นโดย อสม.
1.6.10 ทา RSC ผูป้ รุงอาหาร ผูข้ าย
อาหารเสี่ยงในตลาดสด
1.6.11 หน่วยประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
1.6.12 คุณภาพการเก็บ RSC ตัง้ แต่มี
การระบาดของอหิวาตกโรค คุณภาพ RSCเพียง
ร้อยละ 50 ก่อนปิ ดศูนย์ War room มี
คุณภาพเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 95
ฯลฯ
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
เปิ ดศูนย์ War room วันที่ 5 ตค. 50
ปิ ดศูนย์ War room วันที่ 1 ธค. 50
2.ออก War room ในอาเภอที่เสี่ยงต่อ
การเกิดโรค มาตรการยังไม่เข้มข้น และมีผูป้ ่ วย
เกิดขึ้นเป็ นประจา นาทีมโดย นพ.สสจ. (วาปี
ปทุม บรบือ เมือง กันทรวิชยั )
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
3.เชิญผูเ้ ชี่ยวชาญมาให้องค์ความรูแ้ ก่ จนท.
และ ร่วมกันวิเคราะห์การเกิดโรคตามหลักระบาด
วิทยา การสอบสวนโรค ระหว่างวันที่ 9-15
ตค. 50 (อ.นพ.ธวัช , อ.ประหยัด)
4.การติดตามประเมินผลการทางาน
4.1 การล้างตลาด
4.2 คลอรีนตกค้าง
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
4.3 มาตรการการป้องกัน ควบคุมโรคของ
จนท.
4.4 การรับรูข้ อง
ประชาชน
4.5 การ
ประชาสัมพันธ์ แต่ละ CUP
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
นาผลที่เป็ นจุดอ่อนไปแก้ไขปั ญหา เช่น
®คลอรีนตกค้าง ประสานประปา
®ความเข้าใจต่อมาตรการควบคุม
อหิวาตกโรคของ จนท. เน้นมาตรการใน War
room และทาหนังสือย้ามาตรการ
®การรับรูข้ องต่ออหิวาตกโรคในกลุม่ เสี่ยง
น้อย (69.5%) ประชาสัมพันธ์ในสถานศึกษา
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
5.ให้กาลังใจแก่ จนท.ที่ปฏิบตั งิ านได้ตาม
มาตรการ โดยเฉพาะการค้นหาผูป้ ่ วยสงสัยจะเป็ น
อหิวาตกโรค (5 สอ.)
6.เฝ้ าระวังผูป้ ระกอบการร้านอาหาร/ผูข้ าย
อาหารเสี่ยงในตลาดสด
7.ติดตามการรักษาจนไม่พบเชื้ออหิวาตกโรค
3 วัน ติดต่อกัน
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
8.เตรียมป้องกันอหิวาตกโรคในช่วง
พระราชทานปริญญาบัตร มมส. โดยการตรวจ
สุขภาพผูป้ รุง ผูเ้ สริฟ สิ่งแวดล้อม ห้องสุขา
แบ่งพื้นที่ดาเนินการ 4 จุด คือ
ร้านอาหารในเขต ตาบลท่าขอนยาง
©ร้านอาหารในเขต ตาบลขามเรียง
©เทศบาล/ต.เกิ้ง อ.เมือง
©ร้านอาหารใน มมส.
©
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
กิจกรรมประกอบด้วย
8.1 ประชุมภาคีเครือข่ายเตรียมการ
8.2 ประชุมผูป้ ระกอบการ
8.3 ออกตรวจสุขภาพผูป้ รุง ผูเ้ สริฟ
สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สุขา และมอบใบผ่าน
การตรวจสุขภาพให้
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
ผลการดาเนินงานมีดงั นี้
8.3.1 ดาเนินการตรวจสุขภาพ ผูป้ รุง
ผูเ้ สริฟในร้านอาหารเขตตาบลท่าขอนยาง และ
ตาบลขามเรียง 126 ร้าน RSC จานวน
291 ตัวอย่าง (ผล Neg)
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
8.3.2 ดาเนินการตรวจสุขภาพ ผูป้ รุง
ผูเ้ สริฟในร้านอาหารเขตตาบลเกิ้ง อ.เมือง
29 ร้าน RSC จานวน 69 ตัวอย่าง
(ผล Neg)
8.3.3 สารวจและปรับปรุงสุขาภิบาล
สิ่งแวดล้อม ร้านอาหาร/แผงลอย จานวน 129
ร้าน ผ่านเกณฑ์ 93 ร้าน (72.1%)
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
8.3.4 ดาเนินการตรวจสุขภาพ ผูป้ รุง
ผูเ้ สริฟในร้านอาหารเขต มมส. 19 ร้าน RSC
จานวน 41 ตัวอย่าง (ผล Neg)
8.4 การประชาสัมพันธ์เตือนภัยให้ประชาชน
และกลุม่ เสี่ยงทราบ โดยรถประชาสัมพันธ์
เคลื่อนที่ 12-20 ธค. 50
วิธีการทางานตามกรอบของ 4M
Management (ต่อ)
9.ประชุมวิชาการเรื่องการรักษา อหิวาตกโรค
วันที่ 6 ธค. 50 รพท.มค.จัด เชิญ แพทย์
พยาบาล ทีม SRRT ทุกอาเภอ และผูส้ นใจ
ปั จจัยแห่งความสาเร็จ
หลัก ทีมงานที่เข้มแข็ง จริงจัง และรวดเร็ว
ต่อการควบคุมโรค
รอง การสั ่งการของผูน้ า การติดตามประเมินผล
สนับสนุน งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์
ข้อเสนอแนะเพื่อการควบคุมโรค
1.ควรให้มีทุกภาคส่วนมาร่วมดาเนินงานกับ
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้มาก
โดยเฉพาะกระทรวงมหาดไทย (ผูว้ ่าราชการ
จังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด ประชาสัมพันธ์จงั หวัด
ฯลฯ) หรือคณะกรรมการป้องกัน ควบคุมโรค
ระดับจังหวัด/อาเภอ
2.ควรใช้ พรบ.สาธารณสุข พ.ศ.2535
พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2523 ให้เกิดผลการ
บังคับใช้ให้เป็ นรูปธรรม