มัลติมีเดีย - Open Source

Download Report

Transcript มัลติมีเดีย - Open Source

บทที่ 1
ความหมาย องค์ ประกอบ และ
ประโยชน์ ของมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย คือ อะไร ??
อะไร คือ มัลติมีเดีย ?
มัลติมีเดีย (Multimedia)
+
มัลติ (Multi)
หลาย ๆ อย่ าง,ประสม
มีเดีย (Media)
สื่ อ , ข่ าวสาร
สื่ อประสม
3
มัลติมีเดีย (Multimedia)
ความหมายมัลติมีเดีย
การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับซอฟต์แวร์ในการสื่ อความหมายโดย
การผสมผสานสื่ อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟิ ก(Graphic)
ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสี ยง (Sound) และ วีดิทศั น์ (Video)
ถ้าสามารถที่จะควบคุมสื่ อให้นาเสนอออกมาตามต้องการได้จะ
เรี ยกว่า “มัลติมีเดียปฏิสมั พันธ์(Interactive Multimedia)” การ
ปฏิสมั พันธ์ของผูใ้ ช้สามารถจะกระทาได้โดยผ่านทางคียบ์ อร์ด
(Keyboard) เมาส์ (Mouse) หรื อตัวชี้ (Pointer) เป็ นต้น
4
คณ
ุ ค่ าของมัลติมีเดีย
ส่ งเสริมการเรียนด้ วยตนเองแบบเชิงรุก (Active) กับแบบสื่ อนาเสนอ
การสอนแบบเชิงรับ (Passive)
จาลองการนาเสนอหรือตัวอย่ างทีเ่ ป็ นแบบฝึ ก และการสอนที่ไม่ มี
แบบฝึ ก
มีภาพประกอบและมีปฏิสัมพันธ์ เพือ่ ให้ เกิดการเรียนรู้ ได้ ดีขนึ้
ส่ งเสริมความสามารถ พัฒนาการตัดสิ นใจและการแก้ไขปัญหาของ
นักเรียนได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
จัดการด้ านเวลาในการเรียนได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพและใช้ เวลาในการ
เรียนน้ อย
5
องค์ ประกอบของมัลติมีเดีย
ข้ อความหรือ
ตัวอักษร
(Text)
ภาพนิ่ง
(Picture)
Multimedia
เสี ยง
(Sound)
วีดีโอ
(Video)
ภาพเคลือ่ นไหว
(Animation)
การรวมองค์ ประกอบ
พื้นฐานของมัลติมีเดียจะต้องมีองค์ประกอบมากกว่า 2
องค์ประกอบเป็ นอย่างน้อย
ใช้ตวั อักษรร่ วมกับการใช้สีที่แตกต่างกัน 2-3 สี ภาพศิลป์ ภาพนิ่ง
จากการวาดหรื อการสแกน นอกนั้นก็อาจมีเสี ยงและวีดีทศั น์ร่วม
อยูด่ ว้ ยก็ได้
การใช้มลั ติมีเดียที่นิยมกันมี 2 แบบ คือ
7

การใช้มลั ติมีเดียเพื่อการนาเสนอ

การใช้มลั ติมีเดียเพื่อการฝึ กอบรม หรื อการเรี ยนรู ้
ความเป็ นมาของมัลติมีเดีย
 ค.ศ.1643 ปาสกาล (Blaise Pascal) คิดค้ น "เครื่องบวกเลขเครื่อง
แรกของโลก"
ความเป็ นมาของมัลติมีเดีย
 ค.ศ.1822 ชาร์ ล แบบเบจ ประดิษฐ์ เครื่องจักรสาหรับการวิเคราะห์
(Analytical Engine) เป็ นเครื่องต้ นแบบของคอมพิวเตอร์
ประกอบด้ วย หน่ วยรับข้ อมูล หน่ วยประมวลผล หน่ วยควบคุม
หน่ วยแสดงผล และหน่ วยเก็บข้ อมูลสารอง
ความเป็ นมาของมัลติมีเดีย
 ค.ศ.1946 Mauchly และ Eckert ประดิษฐ์ เครื่อง ENIAC
ความเป็ นมาของมัลติมีเดีย
 ค.ศ.1970 บริษทั Intel คิดค้ น Chip สาหรับใช้ กบั เครื่อง
คอมพิวเตอร์
ความเป็ นมาของมัลติมีเดีย
 ค.ศ.1990 กาเนิดเทคโนโลยี Compact Disk
ความเป็ นมาของมัลติมีเดีย
 ค.ศ.1991 มีการจัดตั้งสมาคม MPC (Multimedia PC) และ
IMA
 ค.ศ.1992 กาหนดมาตรฐาน
มัลติมีเดียพีซี MPC-I,II,III
Hardware
MPC-I
MPC-II
MPC-III
CPU
386SX (16MHz)
386SX (16MHz)
386SX (16MHz)
RAM
4 Mb
8 Mb
16 Mb
Hardisk
30 Mb
160 Mb
500 Mb
การ์ดเสี ยง Audio Card
8 Bit
16 Bit
16 Bit
การ์ดวีดีโอ Video Card
VGA
SVGA
SVGA
ความละเอียด Resolution 640x480 Pixels
Resolution
640x480 Pixels
640x480 Pixels
ความลึกของสี (Color
Depth)
256
65K
65K
CD-ROM
Yes
Yes
Yes
ความเร็ ว Speed
150 Kb/s
300 Kb/s
600 Kb/s
เวลาในการค้ นหา (Seek
Time)
600 ms
400 ms
280 ms
ความจุ (Capacity)
650 Mb
650 Mb
650 Mb
มาตรฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์
“Multimedia PC Marketing Council” เป็ นผู้กาหนด
มาตรฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ โดยร่ างมาตรฐานขั้น
ตา่ ของตัวเครื่องและอุปกรณ์ ประกอบทีใ่ ช้ งานระบบ
มัลติมีเดียเพือ่ รองรับซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
เรียกว่ า ‘Multimedia PC’ ใช้ ตัวย่ อ ‘MPC’
15
มาตรฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์
คณ
ุ สมบัติปัจจบุ ันของมัลติมีเดียพีซี
ฮาร์ ดแวร์
MPC ปัจจุบนั
Processor: Pentium IV (2-2.5GHz.
RAM:
Floppy Drive:
Hard Drive:
CD-ROM Drive:
256MB – 1 GB ขึ้นไป
3.5 นิ้ว ความจุ 1.44 MB
ขั้นต่า 10 – 100 GB
Write and Re-write 48X
Sound Card: 64 bit Stereo + MIDI
External Speakers: อย่างน้อย 2 ชิ้น ย่านความถี่ 120 Hz – 17.5 kHz
Video Playback: ติดตั้ง MPEG1 Card
User Input: แป้ นพิมพ์ 101 คีย ์ , Mouse แบบ 2 ปุ่ ม
Communication: ADSL
16
มาตรฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์
โลโก้ทใี่ ช้ ในการรั บรองผลิตภัณฑ์
17
รูปแบบการนาเสนอมัลติมีเดีย
 แบบเส้ นตรง
 แบบอิสระ
 แบบวงกลม
 แบบฐานข้ อมูล
18
แบบเส้ นตรง
แต่ ละเฟรมจะเรี ยงลาดับกันไปอย่ างต่ อเนื่องตั้ งแต่ ต้น
จนถึงเฟรมสุ ดท้ าย
19
แบบอิสระ
การข้ ามไปมาระหว่ างเฟรมใดเฟรมหนึ่งมีความอิสระ
20
แบบวงกลมหรื อ Web
เหมาะส าหรั บ ข้ อ มู ล ที่ สั ม พัน ธ์ กัน ในแต่ ล ะส่ วนย่ อ ย ๆ แต่
จาแนกออกเป็ นหลายหัวข้ อ
Menu
21
แบบฐานข้ อมูล
จะใช้ ห ลักการของฐานข้ อมู ลมาเป็ นหลัก โดยใช้ ดัช นี เป็ นตัว ค้ นหา
ข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ อง
Text
Picture
Keyword
Animation
Sound
Video
22
ระบบมัลติมีเดีย
ประกอบด้ วย 3 ส่ วน คือ
 ส่ วนของการนาเข้ า
 ส่ วนประมวลผล
 ส่ วนแสดงผล
23
ระบบมัลติมีเดีย
อุปกรณ์ ต่อพ่วง
อุปกรณ์ ต่อพ่วง
สัญญาณดิจิตอล
สัญญาณดิจิตอล
สัญญาณอนาล็อก
สัญญาณอนาล็อก
สัญญาณเสียง
สัญญาณเสียง
Input Devices
Microcomputer
Output Devices
ระบบมัลติมีเดีย
อปุ กรณ์ ต่อพ่วงสัญญาณดิจติ อล (Digital signal)
Magnetic Storage - การเหนี่ยวนาแม่ เหล็ก (I,O)
Scanner - การทางานของแสง (I)
CD/DVD-ROM drive - การทางานของแสง (I)
CD/DVD-RW drive - การทางานของแสง (I,O)
Digital Camera – การเหนี่ยวนาแม่ เหล็ก + แสง (I)
Pocket PC – (I,O)
25
ระบบมัลติมีเดีย
ระบบมัลติมีเดีย
อปุ กรณ์ ต่อพ่ วงสัญญาณอนาล็อก
 Video Camera – กล้ องถ่ ายภาพวิดทิ ัศน์ (I)
 Video Tape – เครื่องบันทึกและเล่ นกับภาพวิดทิ ัศน์ (I)
 Video Disc – เครื่องบันทึกและเล่ นกับภาพวิดทิ ัศน์ (I)
 Projection TV – เครื่องถ่ ายทอดสั ญญาณภาพโทรทัศน์ (O)
26
ระบบมัลติมีเดีย
อปุ กรณ์ ต่อพ่ วงสัญญาณเสียง
 Microphone – ไมโครโฟน (I)
 CD Audio – เก็บบันทึกและเล่ นกลับสั ญญาณเสี ยง (I)
 MIDI – เครื่องสั งเคราะห์ ดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ (I)
 Speakers – ลาโพง (O)
 Headphone – ลาโพงหูฟัง (O)
27
ส่ วนประกอบพืน้ ฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์
1.
2.
3.
4.
5.
28
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
เครื่องอ่ านซีดรี อม (CD-ROM Drive)
แผงวงจรเสี ยง (Sound Board)
ลาโพงภายนอก (External Speaker)
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software)
ส่ วนประกอบพืน้ ฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
ต้ องเป็ นเครื่องที่ใช้ ไมโครโพรเซสเซอร์ ที่มีความเร็วสั ญญาณ
นาฬิ กาความถีส่ ู งๆ งานยิง่ มีประสิ ทธิภาพ รวมทั้งอุปกรณ์
ภายใน
•
•
•
•
29
Microprocessor
RAM
Graphic Accelerator Board
Harddisk
ส่ วนประกอบพืน้ ฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์
เครื่ องอ่ านซีดรี อม (CD-ROM Drive)
เป็ นส่ วนประกอบทีส่ าคัญที่ใช้ จดั เก็บและนาเสนอสื่ อ
มัลติมีเดีย คุณสมบัตพิ นื้ ฐานในการเลือกใช้ งาน ความเร็วการ
เข้ าถึงข้ อมูลสู ง,อัตราการส่ งถ่ ายข้ อมูลสู ง
• CD - ขนาด 5.25” ความจุ 650-800 MB
• Mini CD - ขนาด 8 cm ความจุ 185 MB
• DVD (Digital Video Disc) - 17 GB
30
แผงวงจรเสียง (Sound Board)
หน้ าที่ ห ลั ก ในการเก็ บ บั น ทึ ก เสี ย งและเล่ น เสี ย งจา ก
โปรแกรมมัลติมีเดีย สามารถบันทึกเสี ยงจากแหล่ งกาเนิดเสี ยง
ต่ าง ๆ ผ่ านไมโครโฟน หรือแหล่ งอืน่ ๆ แล้ วเปลีย่ นเป็ นสั ญญาณ
ดิจติ อล
• โมโน - ความถี่ 22.05 kMz
• สเตอริโอ - ความถี่ 44.10 kMz
31
ส่ วนประกอบพืน้ ฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์
ลาโพงภายนอก (External Speakers)
เป็ นส่ วนสาคัญที่สนับสนุนให้ มัลติมีเดียคอมพิวเตอร์
สามารถเล่ นเสี ยงระดับไฮไฟทีม่ คี ุณภาพได้
• ลาโพงเสี ยงแหลม
• ลาโพงเสี ยงกลาง
• ลาโพงเสี ยงทุ้ม
32
ซอฟท์ แวร์ ประยกุ ต์ (Application Software)
เป็ นซอฟต์ แวร์ ที่ใช้ สาหรั บจัดการด้ านมัลติมี เดียภายใต้
ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก า ร ซึ่ ง ท า ง า น สั ม พั น ธ์ กั บ ตั ว เ ค รื่ อ ง
ไมโครคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ประกอบ
• การนาเสนอข้ อมูลระบบมัลติมเี ดีย
• การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนระบบ
มัลติมีเดีย
33
เทคโนโลยีที่เกีย่ วข้ องกับมัลติมีเดีย
ระบบมัลติมเี ดีย ไม่ ใช่ เทคโนโลยีเดี่ยว ๆ แต่ รวมเอา
เทคโนโลยี ห ลายหลายเข้ า ด้ ว ยกั บ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ
สมบูรณ์ ในการทางานและผสมผสานกันอย่ างกลมกลืน
ทั้ง ข้ อความ, ภาพ , เสี ยง และ การปฏิสัมพันธ์
34
เทคโนโลยีที่เกีย่ วข้ องกับมัลติมีเดีย
เทคโนโลยี
ไมโครคอมพิวเตอร์
เทคนิคและวิธีการ
นาเสนอข้อมูล
เทคโนโลยี
ซอฟท์แวร์
เทคโนโลยีจอภาพ
เทคโนโลยี
มัลติมีเดีย
เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์เครื อข่าย
เทคโนโลยี
ในการเก็บบันทึกข้อมูล
เทคโนโลยี
ในการย่อขนาดข้อมูล
35
เทคโนโลยีอุปกรณ์นาเข้า
และแสดงผลข้อมูล
ประโยชน์ ของมัลติมีเดีย
 ง่ ายต่ อการใช้ งาน
 สั มผัสได้ ถงึ ความรู้ สึก
 สร้ างเสริมประสบการณ์
 เพิม่ ขีดความสามารถในการเรียนรู้
 เข้ าใจเนือ้ หามากยิง่ ขึน้
 คุ้มค่ าในการลงทุน
 เพิม่ ประสิ ทธิผลในการเรียนรู้
แบบฝึ กหัด
1.
2.
3.
4.
5.
ให้ นักศึกษาบอกโปรแกรมประยุกต์ ทางด้ านมัลติมีเดียมาอย่ างน้ อย 5
โปรแกรม
นักศึกษาสามารถใช้ โปรแกรมประยุกต์ ทางด้ านมัลติมีเดียอะไรได้ บ้าง
นักศึกษาคิดว่ าเมื่อเรียนวิชานีแ้ ล้ว ท่ านคิดว่ าจะได้ ความรู้อะไรบ้ าง จง
อธิบาย
นักศึกษาคิดว่ าเครื่องคอมพิวเตอร์ ทใี่ ช้ อยู่นีถ้ ือว่ าเป็ น Multimedia PC
หรือไม่ เพราะเหตุใด และจาเป็ นหรือไม่ ทเี่ ครื่องคอมพิวเตอร์ ใน
ปัจจุบันควรเป็ น Multimedia PC จงอธิบาย
ให้ นักศึกษาระบุโปรแกรมประยุกต์ ทางด้ านมัลติมเี ดียทีต่ นเองต้ องการ
เรียนรู้