การเตรียมความพร้อมในการตรวจประเมิน สมศ.

Download Report

Transcript การเตรียมความพร้อมในการตรวจประเมิน สมศ.

การเตรียมความพร้อมในการตรวจประเมิน
รอบ 3 ของ สมศ.
(กรณี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระหว่างวันที่ 5-9 กันยายน 2554
-1-
ประเด็นสาคัญในการนาเสนอ
1. แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3
2. การรับรองมาตรฐานคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา
3. การเตรียมความพร้อมในการรับมือ สมศ. รอบ 3
-2-
แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบที่แรก
เป็ นการประเมินโดยไม่มีการตัดสินผลการประเมิน
แต่เป็ นประเมินเพือ่ ยืนยันสภาพจริงของสถานศึกษา
-3-
รอบที่สอง
เป็ นการประเมินตามวัตถุประสงค์ของ สมศ. โดยนา
ผลประเมินรอบแรกมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา รวมทัง้ ผลสัมฤทธิ์ท่ีเกิดขึ้นเพือ่ การรับรอง
มาตรฐานคุณภาพการศึกษา
แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก
-4-
รอบที่สาม
เป็ นการประเมินเพือ่ ยกระดับมาตรฐานคุณภาพ
การศึกษา โดยพิจารณาจากผลผลิต ผลลัพธ์ และ
ผลกระทบมากกว่ากระบวนการ โดยคานึงถึงความ
แตกต่างของแต่ละสถานศึกษา
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
-5-
1. ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา
2. ประเมินคุณภาพภายนอกจากผลการจัดการศึกษาเป็ นหลัก
ตาม ม. 51 โดยให้นา้ หนัก 75% ใช้ขอ้ มูลเฉลีย่ 3 ปี
3. ประเมินโดยวิธีการและข้อมูล ทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดย
พิชญพิจารณ์ (Peer Review )
4. ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้
เพือ่ กระตุน้ ให้การประกันคุณภาพภายในมีความเข้มแข็ง
5. ลดจานวนตัวบ่งชี้ และจานวนมาตรฐานสาหรับการประเมินภายนอก
โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกีย่ วกับปั จจัยนาเข้าและกระบวนการ
ให้อยู่ในระบบการประกันคุณภาพภายใน
ตัวบ่งชี้พ้ นื ฐาน สมศ.
ประเภทตัวบ่งชี้
1. ตัวบ่งชี้พ้นื ฐาน
2. ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์
3. ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
รวม
-6-
จานวนตัวบ่งชี้
15
ค่านา้ หนัก
ร้อยละ 75
2
1
18
ร้อยละ 15
ร้อยละ 10
ร้อยละ 100
ตัวบ่งชี้พ้ นื ฐาน สมศ.
2. ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์
จานวน 2 ตัวบ่งชี้
(ร้อยละ 15)
1. ตัวบ่งชี้พ้ นื ฐาน
จานวน 15 ตัวบ่งชี้
(ร้อยละ 75)
-7-
3. ตัวบ่งชี้มาตรการ
ส่งเสริม จานวน 1
ตัวบ่งชี้ (ร้อยละ 10)
ตัวบ่งชี้การประเมิน
คุณภาพภายนอกรอบ
สามระดับอุดมศึกษา
จานวน 18 ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้พ้ นื ฐาน สมศ.
ด้านคุณภาพ
บัณฑิต
4 ตัวบ่งชี้
-เป็ นตัวบ่งชี้ที่ประเมินภายใต้ภารกิจหลัก
ของสถานศึกษาบนพื้นฐานที่ทุก
สถานศึกษาต้องปฏิบตั ิได้
-ชี้ผลลัพธ์และผลกระทบได้ดี
-มีความเชือ่ มโยงกับการประกันคุณภาพ
ภายใน
-8-
ด้านการพัฒนา
และประกัน
คุณภาพภายใน
1 ตัวบ่งชี้
ด้านงานวิจยั และ
งานสร้างสรรค์
3 ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้พ้ ืนฐาน
6 ด้าน
15 ตัวบ่งชี้
ด้านการบริหาร
และการพัฒนา
สถาบัน
3 ตัวบ่งชี้
ด้านบริการ
วิชาการแก่
สังคม
2 ตัวบ่งชี้
ด้านการทานุ
บารุงศิลปะและ
วัฒนธรรม
2 ตัวบ่งชี้
การรับรองมาตรฐานคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา
ผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ยจากตัวบ่งชี้ตามพันธกิจ
สถานบันอุดมศึกษาตัง้ แต่ 3.51 ขึ้นไป(ตัวบ่งชี้ 1-11)
และผลการประเมินได้คะแนนเฉลี่ยจากภาพรวมทุกตัว
บ่งชี้ตงั้ แต่ 3.51 ขึ้นไป
-9-
โดยการประเมินมีหน่วยเพื่อรับรองคุณภาพ คือ
1.ระดับคณะหรือหน่วยงานเทียบเท่า
2.ระดับการศึกษานอกสถานทีต่ งั้
การรับรองมาตรฐานคุณภาพในระดับคณะหรือหน่วยงานเทียบเท่า
-10-
1) คณะ/หน่วยงานเทียบเท่าจะได้รบั รองก็ตอ่ ผลการประเมิน
ได้คะแนนเฉลี่ย ตัง้ แต่ 3.51 ขึ้นไป (ตัวบ่งชี้ที่ 1-11 และ
ตัวบ่งชี้ที่ 1-18)
2) หากสถาบันใดมีคณะทีไ่ ม่ได้รบั การรับรอง ให้การรับรอง
สถาบันนัน้ เป็ นการรับรองแบบมีเงื่อนไข
3) ผลการประเมินระดับสถาบันให้ใช้คะแนนเฉลี่ยของคณะมา
พิจารณา
ตามประกาศ สมศ. เรือ่ งปรับเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา ลงวันที่ 23
สิงหาคม 2554
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจาปี 2553
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ดาเนินการโดยบูรณาการระบบคุณภาพต่างๆ เข้าด้วยกันเป็ นระบบเดียว
ภายใต้แนวทางของเกณฑ์ Edpex ซึง่ ประกอบด้วย 6 หมวด ได้แก่
-11-
หมวด 1 การนาองค์กร
หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์
หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า
หมวด 4 การวัดผล การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้
หมวด 5 การมุ่งเน้นผูป้ ฏิบตั ิงาน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจาปี 2553
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
และ หมวด 7 (ผลลัพธ์) ซึง่ ได้รวบรวมตัวบ่งชี้คุณภาพ
ของ สกอ. สมศ. และตัวบ่งชี้เพิม่ เติมของ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (QS)
-12-
ข้อมูลการดาเนินงานที่ใช้ประกอบการพิจารณา
ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ
ใช้ผลการดาเนินงานเฉลีย่
ย้อนหลัง 3 ปี ก่อนปี ที่
ประเมิน
ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ
ใช้ผลการดาเนินงาน 1 ปี
ก่อนปี ที่ประเมิน
-13-
***ข้อมูลผลการดาเนินงานส่วนใหญ่ใช้ตามปี การศึกษา ยกเว้นบางตัวบ่งชี้มีการจัดเก็บข้อมูลตามปี ปฏิทนิ ให้ใช้ขอ้ มูล
ตามปี ปฏิทนิ
การเตรียมความพร้อมก่อนการตรวจประเมิน
แจ้งกาหนดการเข้าตรวจของ สมศ.
ประสานคณะกรรมการเข้าตรวจประเมิน
ประสานเจ้าหน้าที่ฝ่ายประกันคุณภาพแต่ละคณะ
ตรวจสอบความพร้อมข้อมูล/หลักฐาน
-14-
กาหนดวันส่ง SAR ให้กบั คณะกรรมผูต้ รวจประเมิน
เตรียมรับการประเมิน
ประเมินตนเองเบื้องต้นก่อนรับการตรวจประเมิน
กาหนดให้แต่ละคณะส่งรายงาน(SAR)ข้อมูลผลการดาเนินงาน
พร้อมทัง้ เอกสาร/หลักฐาน ตามแบบฟอร์มที่ได้จดั ทาขึ้น
ก่อนรับการตรวจประเมินฯ
ดาเนินการตรวจรายการประเมินตนเองของแต่ละคณะเบื้องต้น
เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูล
-15-
พิจารณาภาพรวมของตัวบ่งชี้ท่ีพบปั ญหาในการตรวจ
ประเมินตนเอง หลังจากนัน้ ตัดสินผลการประเมินฯ
ของแต่ละคณะและแจ้งผลการประเมินให้คณะทราบ
การเตรียมความพร้อมก่อนการตรวจประเมิน
กรณีท่ีไม่ผ่านผลการประเมินจะดาเนินการตรวจเยีย่ มคณะที่
คะแนนตา่ กว่าเกณฑ์(3.51)เพือ่ สนับสนุนส่งเสริมให้ความรู ้
ในด้านต่างๆ เพือ่ ให้มีผลการประเมินดีข้ นึ
สรุปปั ญหาและอุปสรรคในการตรวจเยีย่ มคณะเบื้องต้น
นาเสนอต่อผูบ้ ริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น
-16-
เตรียมรับการตรวจประเมิน สมศ. (รอบสาม)
คณะกรรมการตรวจประเมินภายนอก
ทีมที่ 1
ทีมที่ 2
ทีมที่ 3
ทีมที่ 4
1.ประธาน
2.กรรมการ
3.กรรมการ
4.เลขานุการ
1.ประธาน
2.กรรมการ
3.เลขานุการ
1.ประธาน
2.กรรมการ
3.เลขานุการ
1.ประธาน
2.กรรมการ
3.เลขานุการ
-17-
โดยการจัดทีมจะขึ้นอยู่กบั บริบทตามกลุ่มสาขาของ
แต่ละมหาวิทยาลัย/สถาบัน
การรับมือในวันตรวจประเมิน
กลุ่ม Stand By
1.รับเรือ่ งร้องเรียน/ปั ญหา
2.แก้ไขปั ญหาเบื้องต้น
3.ตกลงหรือเจรจากับทีมผูต้ รวจประเมินคุณภาพภายนอก
ติดต่อ/ประสานงาน
(ผูบ้ ริหารที่ดแู ลรับผิดชอบด้านประกันคุณภาพ)
กลุ่ม Support (QA อาสา)
ชี้แจงข้อมูล/หลักฐาน
ผูป้ ระสานงานด้านประกันคุณภาพของแต่ละคณะและหน่วยงาน
-18-
กลุ่มติดตาม
ผูป้ ระสานงาน สนง.ประเมิน
ประสานงานคณะกรรมการแต่ละทีม
คณะกรรมการตรวจ
ประเมิน
กาหนดการระหว่างตรวจเยีย่ มคณะ
ตรวจเยีย่ มสถานที่
-นาเสนอภาพโดยรวมของคณะ
ตรวจสอบเพือ่ ยืนยันข้อมูล SAR
โดยคณะผูป้ ระเมินใช้วิธีสมั ภาษณ์
-คณบดีหรือผูแ้ ทน
-อาจารย์จากทุกหน่วยประเมิน 1-2 คน
-บุคลากรสายสนับสนุน 1-2 คน
-ผูใ้ ช้บณั ฑิต 1-2 คน
-ศิษย์เก่า 1-2 คน
-นักศึกษา 1-2 คน
(ใช้เวลาประมาณ 10-15 นาที/หน่วย)
-19-
ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน/
ซักถามข้อมูลที่เกีย่ วข้อง
กาหนดอาจมีการเปลี่ยนตามคณะกรรมการ