นโยบาย สพฐ.

Download Report

Transcript นโยบาย สพฐ.

นโยบาย
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปี งบประมาณ ๒๕๕๔
ความสอดคล้• องนโยบาย
- พรบ. การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒
- การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒
* คนไทยยุคใหม่
* ครูยุคใหม่
* สถานศึกษาและแหล่งเรียนรูย้ ุคใหม่
* การบริหารจัดการใหม่
ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา
- NT & O-Net
ยังต ่ากว่าเป้าหมายมาก ซึ่งการปฏิรูปการศึกษา
ทศวรรษที่สองกาหนดไว้ 55% ในกลุ่มสาระวิชา
หลัก
ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา
- ผลการเรียนเฉพาะใน กทม. ที่มีคุณภาพ
เทียบเท่าสหรัฐอเมริกา และ ผลการเรียนใน
ต่างจังหวัดยังด้อยคุณภาพ
(The World Bank, 2009)
ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา
- ผลการประเมิน PISA & TIMSS
ดังนี้
ผลการประเมินคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ของนักเรียนชั้น ม. ๒ (TIMSS, ๒๕๕๐)
๖๕๐
๖๐๐
๕๕๐
๕๙๘
๕๙๓
๕๙๗
๕๗๐
๕๖๑
๕๖๗
๕๕๓
๕๗๒
๕๕๔
๕๓๐
๕๐๐
MATH
๔๗๔
SCIENCE
๔๗๑
๔๗๔
๔๕๐
๔๔๑
๔๐๐
๔๒๗
๓๙๗
๓๕๐
จีน(ไทเป)
สงิ คโปร์
เกาหลีใต ้
ญีป
่ น
ุ่
ฮ่องกง
มาเลเซยี
ไทย
อินโดนีเซยี
ผลการประเมินวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่ าน
ของนักเรียนไทยอายุ ๑๕ ปี (PISA, ๒๕๔๙)
๖๐๐
๕๕๖
๕๕๐
๕๔๙
๕๓๒
๕๔๗
๕๒๒
๕๐๐
๕๓๑
๕๒๙
๕๔๗
๕๔๒
๕๒๕
๕๑๑
๕๓๖
๔๙๘
๔๙๖
MATH
SCIENCE
๔๙๒
READING
๔๕๐
๔๒๑
๔๑๗ ๔๑๗
๔๐๐
๓๙๓
๓๙๑
๓๙๓
๓๕๐
จีน(ไทเป)
เกาหลีใต ้
ญีป
่ น
ุ่
ฮ่องกง
มาเก๊า
ไทย
ี
อินโดนีเซย
• ปั ญหาคุณลักษณะนักเรียน
- พฤติกรรมนักเรียน : ความรุนแรง ยาเสพติด
ตัง้ ครรภ์ระหว่างเรียน
ฯลฯ
จากการปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษสอง
คณะอนุกรรมการฯ กนป. เห็นว่า ประเด็นสาคัญที่
เกี่ยวข้องกับ สพฐ. ควรเร่งดาเนินการ คือ
๑) พัฒนาครูอย่างเร่งด่วนเพื่อเป็ นปัจจัยใน
การพัฒนาคุณภาพ
๒) กาหนดขนาดโรงเรียน/ห้องเรียนระดับการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐานให้เหมาะสม
๓) การวัดผลผูเ้ รียนต้องสอดคล้องกับเป้ าหมาย
การจัดการศึกษาแต่ละระดับ
๔) การรณรงค์ สร้างค่านิยมเพื่อจูงใจผูเ้ รียน
เข้าเรียนด้านอาชีวศึกษา
๕) หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เนื้ อหามากกว่า
ทักษะการคิด
๖) การศึกษาปฐมวัยที่ต้องให้ความสาคัญกับเด็ก
ตัง้ แต่ แรกเกิดถึง ๖ ปี
๗) การศึกษากับความยากจน : ให้โอกาสแก่กลุ่ม
ยากจนตัง้ แต่ปฐมวัย
การดาเนินงาน
• วิสยั ทัศน์
สพฐ. เป็ นองค์กรขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของประเทศไทยให้สูงเทียบเท่าค่าเฉลี่ยของโลก
ภายในปี การศึกษา ๒๕๖๓
การดาเนินงาน
• พันธกิจ
พัฒนาและส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้
ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รบั การศึกษาอย่างมีคณ
ุ ภาพ
โดยพัฒนาผูเ้ รียนให้เป็ นบุคคลที่มีความรู ้ คุณธรรม
มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และการพัฒนาสูค่ ณ
ุ ภาพระดับสากล
จุดเน้น ๑๐ ประการ
๑. เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุม่ สาระวิชาหลัก
๒. นักเรียนชั้น ป.3 ต้องอ่านออกเขียนได้ และต้องลด
จานวนนักเรียนที่อา่ นไม่ออก เขียนไม่ได้ลงอย่างเป็ น
รูปธรรม
๓. เพิ่มศักยภาพนักเรียนเพื่อพัฒนาสูค่ วามเป็ นเลิศด้าน
ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์
๔. สร้างจิตสาธารณะในตัวผูเ้ รียน
๕. ลดอัตราการออกกลางคัน
จุดเน้น ๑๐ ประการ
๖. ทางเลือกการเรียนรูเ้ ชิงบูรณาการ
๗. ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาให้ผ่านการรับรองมาตรฐาน
การพัฒนาโรงเรียนดีประจาตาบล และการบริหาร
จัดการโรงเรียนขนาดเล็ก
๘. ยกระดับการบริหารงานของ สพท. ให้อยูใ่ นระดับดี
๙. เตรียมความพร้อมสูค่ วามเป็ นประชาคมอาเซียน
๑๐. พัฒนาการศึกษาในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนใต้
กลยุทธ์
•กลยุทธ์ที่ ๑
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตาม
หลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็ น
เครื่องมือในการเรียนรู ้
• กลยุทธ์ที่ ๒
การปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็ นชาติ
ไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• กลยุทธ์
• กลยุทธ์ที่ ๓
ขยายโอกาสทางการศึกษา โดยเฉพาะผูเ้ รียนด้อย
โอกาส และเด็กพิการ
• กลยุทธ์ที่ ๔
พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ
• กลยุทธ์ที่ ๕
พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตาม
แนวทางการกระจายอานาจ หลักธรรมาภิบาล และเน้น
การมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน และความร่วมมือกับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัด
การศึกษา
• กลยุทธ์ที่ ๖
พัฒนาการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้
หลักการดาเนินงานที่สาคัญในปี 2554
• มุ่งการทางานให้ ถึงระดับห้ องเรียน และโรงเรียนให้ มาก
ทีส่ ุ ด โดยเน้ นระบบการประกันคุณภาพการศึกษา การ
นิเทศช่ วยเหลือโรงเรียน เพือ่ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนซึ่งเป็ น
เป้าหมายสู งสุ ด
• มุ่งพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาโดยใช้ ข้อมูลผลการทดสอบ
LAS / NT / O-NET และผลการประเมิน สมศ.
หลักการดาเนินงานที่สาคัญในปี 2554
• การกระจายอานาจโดยเน้ นสพท. และโรงเรียน
ตัดสิ นใจดาเนินกิจกรรมต่ าง ๆ ภายใต้ กรอบนโยบาย
และเป้ าหมายที่ส่วนกลางกาหนด โดยผ่ านโครงการ/
งบแลกเป้ า
• เน้ นการมีส่วนร่ วมของชุมชน อปท. และการระดม
ทรัพยากร
หลักการดาเนินงานที่สาคัญในปี 2554
• การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
• สพฐ. มุ่งเน้ นการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัตงิ าน
ของสพท. และผลลัทธ์ ทางการศึกษา