ทำไมต้องประเมิน

Download Report

Transcript ทำไมต้องประเมิน

ความสาคัญและความจาเป็ นของ
การประกันคุณภาพภายใน
โดยต้ นสั งกัด
โดย นายวงศ์ เทพ โรจนถาวร
ผู้อานวยการกลุ่มส่ งเสริมสถานศึกษาเอกชน
พ.ร.บ.การศึกษาแห่ งชาติ
หมวด 6 มาตรฐานและการประกัน
คุณภาพการศึกษา(มาตรา 47-51)
มาตรา 47 ให้ มีระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้ วย
การประกันคุณภาพภายในและภายนอก
ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คุณภาพการศึกษาให้ กระทรวงเป็ น
ผ้ ูกาหนด
กฎกระทรวง ที่ว่าด้ วย
“ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ
ประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. 2553”
ข้ อ 9 ให้ มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่ า
“คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา”
 ข้ อ14 ให้ สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานจัดให้ มี
ระบบการประกันคุณภาพภายในตาม
“หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกีย่ วกับการ
ประกันคุณภาพภายในขั้นพืน้ ฐาน”
ข้ อ18 ให้ หน่ วยงานต้ นสั งกัดของ
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานจัดให้ มีการ
ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
อย่ างน้ อย 1 ครั้ง ในทุก 3 ปี
 ข้ อ14 หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกีย่ วกับการ
ประกันคุณภาพภายในขั้นพืน้ ฐาน”ประกอบด้ วย
1. กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2. จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
4. ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา
5. จัดให้ มกี ารติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
6. จัดให้ มกี ารประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
7. จัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานการประเมิน
คุณภาพภายใน
8. จัดให้ มกี ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนื่อง
เป็ นการดาเนินงานตามระบบ PDCA
คณะกรรมการตาม ข้ อ9 ได้ ออก
ประกาศ พ.ศ. 2554 ให้ สถานศึกษา
ดาเนินการตาม “หลักเกณฑ์ และแนว
ปฏิบัติเกีย่ วกับการประกันคุณภาพ
ภายในขั้นพืน้ ฐาน(ข้ อ14)” ดังนี้
14(1) การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
1. ศึกษา วิเคราะห์ มาตรฐานและตัวบ่ งชี้ตามที่
กระทรวงฯ ประกาศใช้
2. พิจารณาสาระสาคัญที่จะกาหนดในมาตรฐาน
และตัวบ่ งชี้ที่สะท้ อนอัตลักษณ์ และมาตรการ
ส่ งเสริมของสถานศึกษา
3. กาหนดค่ าเป้ าหมายความสาเร็จของมาตรฐาน
และตัวบ่ งชี้
14(2) การจัดทาแผนพัฒนาฯ ของสถานศึกษา
1. แผนพัฒนาฯ ให้ มีองค์ ประกอบ ดังนี้
1.1 ศึกษา วิเคราะห์ สภาพปัญหาและความต้ องการ
ที่จาเป็ นอย่ างเป็ นระบบโดยใช้ ข้อมูลตามสภาพจริง
1.2 กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมาย และ
ความสาเร็จของการพัฒนาไว้ อย่ างชัดเจน
เป็ นรู ปธรรมโดยทุกฝ่ ายมีส่วนร่ วม
1.3 กาหนดวิธีดาเนินกิจกรรม โครงการที่สอดคล้ อง
กับมาตรฐานของสถานศึกษาโดยใช้ กระบวนการวิจัย
หรือผลการวิจัยหรือข้ อมูลเชิงประจักษ์ ทอี่ ้างอิงได้ ให้
ครอบคลุมการพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษาด้ านการจัด
ประสบการณ์ การเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ การส่ งเสริม
การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากร
และการบริหารจัดการเพือ่ นาไปสู่ มาตรฐานการศึกษา
ที่กาหนดไว้
1.4 กาหนดแหล่ งวิทยาการภายนอกที่ให้
การสนับสนุนทางวิชาการ
1.5 กาหนดบทบาทหน้ าทีใ่ ห้ บุคลากรและ
ผ้ ูเรียนร่ วมรับผิดชอบ และดาเนินงาน
ตามที่กาหนดไว้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
1.6 กาหนดบทบาทหน้ าที่ และแนวทางการมีส่วน
ร่ วมของบิดามารดา ผู้ปกครอง และองค์ กร
หน่ วยงาน ชุมชนและท้ องถิน่
1.7 กาหนดการใช้ งบประมาณ และทรัพยากรอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพให้ สอดคล้องกับกิจกรรม โครงการ
1.8 นำเสนอแผนต่ อคณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้น
พืน้ ฐำน/คณะกรรมกำรบริ หำรโรงเรียน ให้ ควำม
เห็นชอบ
2. จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี ดังนี้
2.1 สอดคล้ องกับแผนพัฒนาฯ ของโรงเรียน
2.2 ให้ กาหนดปฏิทนิ การนาแผนปฏิบัติฯ ไปสู่
การปฏิบัติทชี่ ัดเจน
2.3 เสนอแผนปฏิบัติฯ ต่ อคณะกรรมการ
บริหารโรงเรียน
14(3) การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
1. จัดทาโครงสร้ างการบริหารงานทีช่ ัดเจน
เอือ้ ต่ อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
ภายในของโรงเรียน(พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน
มาตรา 39-40)
 คณะกรรมการบริหารโรงเรียนทาหน้ าที่
ตามทีร่ ะเบียบกาหนด(มาตรา 31)
พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน
มาตรา 39 ผู้อานวยการมีหน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้
(1) ดูแลรับผิดชอบงานด้ านวิชาการ
(2) แต่ งตั้งและถอดถอนครู บุคลากรทางการศึกษา และ
เจ้ าหน้ าทีต่ ามระเบียบทีค่ ณะกรรมการบริหารกาหนด
(3) ควบคุมปกครองครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน
(4) จัดทาทะเบียนครู บุคลากรทางการศึกษา เจ้ าหน้ าที่
นักเรียน และเอกสารอืน่ ทีเ่ กีย่ วกับการให้ การศึกษาตาม
ระเบียบทีค่ ณะกรรมการกาหนด
พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน (ต่ อ)
(5) จัดทาหลักฐานเกีย่ วกับการวัดและประเมินผล
การศึกษาตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด
(6) ปฏิบัติหน้ าที่อนื่ อันเกีย่ วกับวิชาการตามระเบียบ
และข้ อบังคับของทางราชการ รวมทั้งตราสารจัดตั้ง
นโยบาย ระเบียบและข้ อบังคับของโรงเรียน และหน้ าที่
อืน่ ตามที่กาหนดไว้ ในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 40 ให้ ผู้รับใบอนุญาตแต่ งตั้งผู้จัดการคนหนึ่ง มี
หน้ าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้
(1) ดูแลรับผิดชอบงานด้ านงบประมาณ
(2) ดูแลรับผิดชอบการบริหารงานทัว่ ไป
(3) ปฏิบัตหิ น้ าทีอ่ นื่ อันเกีย่ วกับการบริหารงานตามตราสาร
จัดตั้ง นโยบาย ระเบียบและข้ อบังคับ และหน้ าทีอ่ นื่ ตามที่
กาหนดไว้ ในพระราชบัญญัตินี้
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
มาตรา 30 ให้ โรงเรียนในระบบมีคณะกรรมการบริหาร
ประกอบด้ วย 1) ผู้รับใบอนุญาต 2) ผู้จัดการ 3) ผู้อานวยการ
4) ผู้แทนผู้ปกครอง 5) ผู้แทนครู และ6) ผู้ทรงคุณวุฒิอย่ างน้ อย
หนึ่งคนแต่ ไม่ เกินสามคนเป็ นกรรมการ
กรณีทผี่ ้ ูรับใบอนุญาตเป็ นบุคคลเดียวกับผู้จัดการหรือ
ผู้อานวยการ หรือเป็ นบุคคลเดียวกันทั้งสามตาแหน่ ง ให้ ต้งั
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิม่ ขึน้ อีกหนึ่งหรือสองคน แล้ วแต่ กรณี
คุณสมบัติ
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
มาตรา 30 (ต่ อ)
หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหากรรมการ การเลือกประธาน
กรรมการ วาระการดารงตาแหน่ งและการพ้นจากตาแหน่ ง
ให้ เป็ นไปตามที่กาหนดไว้ ในตราสารจัดตั้งในวาระเริ่มแรก
ทีจ่ ัดตั้งโรงเรียนในระบบและยังไม่ มผี ู้แทนผู้ปกครองให้
คณะกรรมการบริหารตามวรรคหนึ่งประกอบด้ วย
กรรมการอืน่ เท่ าทีม่ ีอยู่
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
มาตรา 31 ให้ คณะกรรมการบริหารของโรงเรียนในระบบ
มีอานาจหน้ าที่ ดังนี้
(1) ออกระเบียบ และข้ อบังคับต่ าง ๆ ของโรงเรียน
(2) ให้ ความเห็นชอบนโยบาย และแผนพัฒนาฯ
(3) ให้ คาแนะนาการบริหารและการจัดการโรงเรียน ด้ าน
บุคลากร แผนงาน งบประมาณ วิชาการ กิจกรรมนักเรียน
อาคารสถานที่ และความสั มพันธ์ กบั ชุมชน
(4) กากับ ดูแลให้ มรี ะบบการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
(5) ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัตงิ านของ
ผู้อานวยการ
(6) ให้ ความเห็นชอบการกู้ยมื เงินครั้งเดียวหรือหลายครั้ง
รวมกันเกินร้ อยละยีส่ ิ บห้ าของมูลค่ าของทรัพย์ สินที่โรงเรียนมี
อยู่ขณะนั้นในกรณีทคี่ ณะกรรมการบริหารไม่ ให้ ความเห็นชอบ
การกู้ยมื เงิน คณะกรรมการต้ องเสนอทางเลือกทีป่ ฏิบัติได้ ให้ แก่
โรงเรียนด้ วย เว้ นแต่ คณะกรรมการจะเห็นว่ าการกู้ยมื เงินนั้น
มิได้ เป็ นไปเพือ่ ประโยชน์ ของการดาเนินกิจการโรงเรี ยน
(7) ให้ ความเห็นชอบการกาหนดค่ าธรรมเนียมการศึกษา
และค่ าธรรมเนียมอืน่ ของโรงเรียน
(8) ให้ ความเห็นชอบรายงานประจาปี งบการเงินประจาปี
และการแต่ งตั้งผู้สอบบัญชี
(9) พิจารณาคาร้ องทุกข์ ของครู ผู้ปกครองและนักเรียน
(10) ดาเนินการอืน่ ตามทีก่ ฎหมายระบุให้ เป็ นอานาจ
หน้ าที่ของคณะกรรมการบริหาร
14(3) การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ (ต่ อ)
2. กาหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้
เป็ นหมวดหมู่ เป็ นปัจจุบันสะดวกต่ อการให้ บริการ
หรือเชื่อมโยงเครือข่ ายกับหน่ วยงานต้ นสั งกัด
3.นาข้ อมูลสารสนเทศไปใช้ ประโยชน์ ในการ
บริหารและพัฒนาการเรียนการสอน
14(4) การดาเนินงานตามแผนพัฒนาฯ
1. นาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี สู่ การปฏิบัตติ ามกรอบ
ระยะเวลาและ กิจกรรมโครงการที่กาหนดไว้
2. ผู้รับผิดชอบและผู้เกีย่ วข้ องทุกฝ่ ายปฏิบัติตาม
บทบาทหน้ าที่ และความรับผิดชอบตามที่ได้
กาหนดอย่ างมีประสิ ทธิภาพ และเกิดประสิ ทธิผล
สู งสุ ด
14(5) การจัดให้ มีการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษา
1. กาหนดผู้รับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา
2. ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
อย่ างน้ อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
14(5) การจัดให้ มีการติดตามตรวจสอบฯ (ต่ อ)
3.รายงานและนาผลการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษาไปใช้ ประโยชน์ ในการปรับปรุงพัฒนา
4. เตรียมการและให้ ความร่ วมมือในการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาจากหน่ วยงานต้ น
สั งกัด
14(6) การประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานของสถานศึกษา
1. ให้ มคี ณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน
อย่ างน้ อย 3 คน ประกอบด้ วย
ผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอกทีห่ น่ วยงานต้ นสั งกัด
ขึน้ ทะเบียนไว้ อย่ างน้ อย 1 คน เข้ ามามีส่วน
ร่ วมในการประเมิน อย่ างน้ อยปี ละ 1 ครั้ง
14(6) การประเมินคุณภาพภายในฯ(ต่ อ)
2. ดาเนินการประเมินคุณภาพภายใน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
โดยใช้ วธิ ีการ และเครื่องมือที่หลากหลาย
และเหมาะสม
14(7) การจัดทารายงานประจาปี ทีเ่ ป็ นรายงาน
การประเมินคุณภาพภายใน
1. สรุปและจัดทารายงานประจาปี ทีเ่ ป็ นรายงาน
การประเมินคุณภาพภายในทีส่ ะท้ อนคุณภาพ
ผู้เรียน และผลสาเร็จของการบริหารจัด
การศึกษาตามรูปแบบทีห
่ น่ วยงานต้ น
สั งกัดกาหนด
14(7) การจัดทารายงานประจาปี ฯ(ต่ อ)
2.นาเสนอรายงานต่ อคณะกรรมการ
บริหารโรงเรียน
3.เผยแพร่ รายงานต่ อสาธารณชน
หน่ วยงานต้ นสั งกัด และหน่ วยงานที่
เกีย่ วข้ อง
14(8) การนาผลการประเมินไปใช้ พฒ
ั นา
1. ส่ งเสริมแนวความคิดเรื่องการประกัน
คุณภาพทีม่ ่ ุงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
อย่ างต่ อเนื่อง จนเป็ นวัฒนธรรมคุณภาพ
ในการทางานปกติของสถานศึกษา
2. นาผลการประเมินคุณภาพภายใน จากการ
ประเมินตนเอง หรือจากหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง
ไปใช้ ประโยชน์ ในการพัฒนาการบริหาร และ
การเรียนการสอนอย่ างต่ อเนื่อง
3. เผยแพร่ ผลการพัฒนา และแลกเปลีย่ น
เรียนรู้ เพือ่ ให้ เกิดการพัฒนา
เอกสารที่ใช้ ในการดาเนินการตรวจติดตามและ
ประเมินผล ประกอบด้ วย
1. คู่มอื การดาเนินงาน
2. เครื่องมือการตรวจติดตามและประเมินผล
2.1 แบบวิเคราะห์ จานวน 5 ฉบับ
2.2 แบบรายงานผลการประเมิน 2 ฉบับ
ฉบับที่ 1 ระดับปฐมวัย
ฉบับที่ 2 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
เครื่องมือ 5 ฉบับ มีดงั นี้
ฉบับที่ 1 แบบวิเคราะห์ การกาหนดมาตรฐาน และ
การจัดระบบบริหาร จานวน 3 เรื่อง คือ
1.การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน
2.การจัดทาแผนพัฒนาฯ ของโรงเรียน
3.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
ฉบับที่ 2 แบบวิเคราะห์ การดาเนินงานตาม
แผนพัฒนา การติดตามและประเมินคุณภาพภายใน
ของโรงเรียน จานวน 3 เรื่อง คือ
4. การดาเนินงานตามแผนพัฒนาฯ ของโรงเรียน
5. การจัดให้ มกี ารติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรียน
6. การจัดให้ มกี ารประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
ฉบับที่ 3 แบบวิเคราะห์ การจัดทารายงานประจาปี
และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจานวน 2 เรื่อง คือ
7. การจัดทารายงานประจาปี ทีเ่ ป็ นรายงาน
ประเมินคุณภาพภายใน
8. การจัดให้ มกี ารพัฒนาคุณภาพการศึกษา
อย่ างต่ อเนื่อง
ฉบับที่ 4 แบบวิเคราะห์ ผลการประเมิน
ภายนอกรอบสาม และผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน (O – NET)
ฉบับที่ 5 แบบติดตามความพร้ อมของ
โรงเรียนในการรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก(รอบสี่ )
เครื่องมือตรวจติดตาม
คะแนน
ฉบับที่ 1 เรื่องที่ 1-3
41
ฉบับที่ 2 เรื่องที่ 4-6
31
ฉบับที่ 3 เรื่องที่ 7-8
18
ฉบับที่ 4
4.1 ผลการประเมิน รอบสาม
- ปฐมวัย.........................................................
- พืน้ ฐาน........................................................
4.2 ผล O-NET............................................
ฉบับที่ 5 การติดตามความพร้ อมของโรงเรียน
รวม
รวม(คะแนน)
90
10
4
6
0
ดร.ไพเราะ มี100
บางยาง
เครื่องมือตรวจติดตาม
(1) แบบรายงานการตรวจติดตามฯ ระดับ
การศึกษาปฐมวัย
(2) แบบรายงานการตรวจติดตามฯ ระดับ
การศึกษาขึน้ พืน้ ฐาน
(3) แบบประเมินฉบับที่ 1
(4) แบบประเมินฉบับที่ 2
(5) แบบประเมินฉบับที่ 3
(6) แบบประเมินฉบับที่ 4
(7) แบบประเมินฉบับที่ 5
ระดับที่เปิ ดสอน
ปฐมวัย พืน้ ฐาน





ปฐมวัยและพืน้ ฐาน
(เปิ ด 2 ระดับ)













ระยะเวลาในการดาเนินการตรวจติดตามฯ
ขนาดของโรงเรียน
จานวนวัน
ขนาดเล็ก (นักเรียน 1 – 300 คน)
ขนาดกลาง (นักเรียนตั้งแต่ 301 – 1,000 คน)
ขนาดใหญ่ (นักเรียนตั้งแต่ 1,001– 2,000 คน)
ขนาดใหญ่ พเิ ศษ (นักเรียนตั้งแต่ 2,001 คนขึน้ ไป
1-2 วัน
2-3 วัน
3 วัน
3 วัน
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน 90 – 100
คะแนน 75 – 89.99
คะแนน 60 – 74.99
คะแนน 50 – 59.99
คะแนน 0 – 49.99
หมายถึง ดีมาก
หมายถึง ดี
หมายถึง พอใช้
หมายถึง ปรับปรุง
หมายถึง ปรับปรุงเร่ งด่ วน