หลักเกณฑ์การให้คะแนนสุกร
Download
Report
Transcript หลักเกณฑ์การให้คะแนนสุกร
หลักเกณฑ์ การให้ คะแนนการตรวจ
ประเมินมาตรฐานฟาร์ มเลีย้ งสุกร
* เอกสารเลขที่ F-PIG-AUD-01
โดย น.สพ.วิทยา ทิมสาด
หลักเกณฑ์ การให้ คะแนนการตรวจ
ประเมินมาตรฐานฟาร์ มเลีย้ งสุกร
1.
2.
3.
4.
องค์ ประกอบของฟาร์ ม
การจัดการฟาร์ ม
การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
การจัดการสิ่งแวดล้ อม
MAJOR
หมายถึง สิ่งที่ไม่ เป็ นไปตามข้ อกาหนดการปฏิบัติ
ทางการเกษตรที่ดีหรื อมาตรฐานฟาร์ มเลีย้ งสัตว์ และส่ ง
ผลร้ ายแรงต่ อระบบการผลิต
MINOR หมายถึง สิ่งที่ไม่ เป็ นไปตามข้ อกาหนดการปฏิบัติ
ทางการเกษตรที่ดีหรื อมาตรฐานฟาร์ มเลีย้ งสัตว์ ใน
บางส่ วน และไม่ มีผลร้ ายแรงต่ อระบบการผลิต
RECOMMENDATION/OBSERVATION หมายถึง สิ่งที่
ไม่ ถือเป็ นข้ อบกพร่ อง แต่ หากปล่ อยทิง้ ไว้ หรื อละเลย
อาจนาไปสู่ข้อบกพร่ องได้
องค์ ประกอบของฟาร์ ม
* ทาเลที่ตงั ้ ของฟาร์ ม
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
1.1 ทาเลที่ตงั ้ ของฟาร์ ม
1.1.1 อยู่ห่างจากโรงฆ่ าสัตว์ และตลาดนัดค้ าสัตว์
ไม่ น้อยกว่ า 5 กม. (REC)
1.1.2 อยู่ห่างจากผู้เลีย้ งสัตว์ รายอื่น (REC)
1.1.3 อยู่ห่างจากชุมชน (REC)
1.1.4 อยู่ห่างจากแหล่ งนา้ สาธารณะ (REC)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
- ลักษณะของฟาร์ ม
ผสม
อุ้มท้อง
คลอด
7
4 5 6
1 2 3
อนุบาล
รุ่น
รุ่น
ห้องอาบน้าเปลี่ยนเสื้อผ้า
และสานักงาน
8
9
10
โรงสเปรย์
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
1.2 ลักษณะของฟาร์ ม
1.2.1 มีเนือ้ ที่เหมาะสมกับขนาดของฟาร์ ม (REC)
1.2.2 พืน้ ที่จัดแบ่ งเป็ นสัดส่ วนและครบถ้ วน
พิจารณาองค์ ประกอบดังนี ้
1. มีพนื ้ ที่เลีย้ งสัตว์ เป็ นสัดส่ วน แยกออกจากกัน
ที่พักอาศัย สานักงาน (MAJOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
2. มีโรงเก็บอาหาร/โรงผสมอาหาร (MAJOR)
3. มีพนื ้ ที่ทาลายซากเป็ นสัดส่ วน (MAJOR)
4. มีพนื ้ ที่บาบัดนา้ เสียและสิ่งปฏิกูลเป็ นสัดส่ วน
(MAJOR)
1.2.3 มีรัว้ เพื่อป้องกันไม่ ให้ สัตว์ อ่ นื เข้ า – ออก
บริเวณพืน้ ที่เลีย้ งสัตว์ (MAJOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
- พืน้ ที่เลีย้ งสัตว์ (MAJOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
* โรงเก็บอาหารสัตว์ โรงผสมอาหารสัตว์ (MAJOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
* พืน้ ที่ทาลายซากสัตว์ (MAJOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
* พืน้ ที่บาบัดนา้ เสียและสิ่งปฏิกูล (MAJOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
- มีรัว้ ป้องกันไม่ ให้ สัตว์ อ่ ืนเข้ า – ออกฟาร์ ม (MAJOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
- โรงเรื อนระบบเปิ ด
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
1.3 ลักษณะโรงเรือน
ระบบเปิ ด
1. ระยะห่ างของโรงเรือน ห่ างกัน ไม่ น้อยกว่ า
25 ม. (REC)
2. ขนาดของโรงเรือนเหมาะสมกับจานวนสุกร
(MAJOR)
3. มีโครงสร้ างและส่ วนประกอบที่เหมาะสมและ
แข็งแรง (MINOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
- ขนาดของโรงเรื อนเหมาะสมกับจานวนสุกร (MAJOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
* โรงเรื อนระบบปิ ด
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
ระบบปิ ด
1. ขนาดเหมาะสมกับจานวนสุกร (MAJOR)
2. มีโครงสร้ างและส่ วนประกอบที่เหมาะสม
และแข็งแรง มีแสงสว่ างพอเหมาะ (MINOR)
3. มีระบบเตือนภัย ในกรณีไฟฟ้าขัดข้ อง
(MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2. การจัดการฟาร์ ม
2.1 การจัดการโรงเรือน
2.1.1 ส่ วนการผลิตแยกกันอย่ างชัดเจน เช่ น
สุกรอนุบาล แยกจากพ่ อ-แม่ พันธุ์ (MAJOR)
2.1.2 มีระบบการนาสุกร เข้ า-ออกทีเดียวพร้ อมกัน
( ALL - IN - ALL - OUT ) (MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
- แยกส่ วนการผลิต/ALL – IN – All – OUT (MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.1.3 มีการทาความสะอาด ฆ่ าเชือ้ โรคโรงเรือน
และพักโรงเรือน ไม่ น้อยกว่ า 5 วัน (MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.1.4 ความสะอาดของพืน้ คอก และอุปกรณ์ ให้
อาหารและนา้ (MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.1.5 มีการถ่ ายเทอากาศที่ดี อุณหภูมเิ หมาะสม
(MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.1.6 มีการดูแลและซ่ อมบารุ งโรงเรื อน (MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
* การจัดการด้ านบุคลากร
2. การจัดการฟาร์ ม
2.2 การจัดการด้ านบุคลากร
2.2.1 มีอัตรากาลังเพียงพอ และเหมาะสม
(MINOR)
2.2.2 บุคลากรในฟาร์ มได้ รับการตรวจสุขภาพ
ประจาปี (MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.3 คู่มือการจัดการฟาร์ ม ประกอบด้ วยหัวข้ อดังนี ้
1. การเตรียมโรงเรือน (MINOR)
2. การให้ อาหารและนา้ (MINOR)
3. การผสม การเข้ าคลอด การกกลูกสุกร
และ การหย่ านม ( ยกเว้ นสุกรขุน ) (MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
คู่มือการจัดการฟาร์ ม (ต่ อ)
4. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์ (MINOR)
5. การจัดการด้ านสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้ อม
(MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
* ระบบบันทึกข้ อมูล
2. การจัดการฟาร์ ม
2.4 ระบบการบันทึกข้ อมูล
2.4.1 การผลิตและผลผลิต (MINOR)
2.4.2 การบันทึกยานพาหนะ / บุคคลเข้ า – ออก
ฟาร์ ม (MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.4.3 บันทึกผลการวิเคราะห์ สภาวะโรค เช่ น ผลการ
ตรวจเลือด การผ่ าซาก (MINOR)
2.4.4 บันทึกการใช้ ยา วัคซีน และอาหารสัตว์
(MAJOR)
2.4.5 บันทึกการตรวจสุขภาพผู้ปฏิบตั งิ าน (MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
* การจัดการด้ านอาหารและนา้
2. การจัดการฟาร์ ม
2.5 การจัดการด้ านอาหารและนา้
2.5.1 อาหารสัตว์ มีคุณภาพตามพระราชบัญญัติ
ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ ท่ ปี ระกาศ และมี
ผลบังคับใช้ ในขณะนัน้ (MAJOR)
2.5.2 คุณภาพอาหารสัตว์ เหมาะสมกับช่ วงอายุ
และชนิดสุกร (MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.5.3 มีการจัดเก็บอาหารสัตว์ ท่ ดี ีและเหมาะสม (MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.5.4 อุปกรณ์ การให้ อาหารสัตว์ เพียงพอและสะอาด
(MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.5.5 การให้ นา้ พิจารณาองค์ ประกอบดังนี ้
1. ไม่ ใช้ สารต้ องห้ ามตามกฎหมายผสมในนา้ ดื่ม
(MAJOR)
2. มีนา้ สะอาด และอุปกรณ์ ให้ นา้ อย่ างเพียงพอ
(MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
3. มีอุปกรณ์ สาหรับผสมยาละลายนา้ ให้ สุกรกินเมื่อ
จาเป็ น (MINOR)
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3.1 การป้องกันและควบคุมโรค
3.1.1 การทาลายเชือ้ โรคก่ อน เข้ า - ออก ฟาร์ ม
สาหรับยานพาหนะ (MAJOR)
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
การทาลายเชือ้ โรคก่ อนเข้ า-ออกฟาร์ ม (MAJOR)
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3.1.2 การทาลายเชือ้ โรคก่ อน เข้ า - ออก ฟาร์ ม
สาหรับบุคคล (MAJOR)
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
ห้ องอาบนา้ และฆ่ าเชือ้ โรค
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3.1.3 มีเครื่ องพ่ นนา้ ยาฆ่ าเชือ้ โรคเคลื่อนที่
หรื อมีระบบพ่ นนา้ ยาฆ่ าเชือ้ โรค ในโรงเรื อน
ส่ วนที่จาเป็ น (MAJOR)
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
การสร้ างภูมิค้ ุมกันโรค
การทาวัคซีน
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3.1.4 การสร้ างภูมิค้ ุมกันโรค
1. มีโปรแกรมวัคซีน FMD และ SF อย่ างน้ อย
ปี ละ 2 ครั ง้ (MINOR)
2. มีโปรแกรมวัคซีนอื่นๆที่เหมาะสม (REC)
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
การควบคุมโรค
การจัดการสุกรป่ วย
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3.1.5 การควบคุมโรค
1. มีการแยกสุกรป่ วย หรื อแบ่ งอยู่ท้ายโรงเรื อน
(MAJOR)
2. มีการตรวจวินิจฉัยโรคสุกรตาย (MAJOR)
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
- มีการทาลายซากสุกรที่เหมาะสม (MAJOR)
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3.2 การบาบัดโรค
3.2.1 มีสัตวแพทย์ ผ้ ูควบคุมฟาร์ ม และปฏิบตั ติ าม
พระราชบัญญัตวิ ิชาชีพ การสัตวแพทย์ พ.ศ.2545
(MAJOR)
3.2.2 การใช้ ยาภายในฟาร์ ม ปฎิบัตติ าม
มอก.7001-2540 (MAJOR)
4. การจัดการสิ่งแวดล้ อม
นา้ เสีย
4. การจัดการสิ่งแวดล้ อม
4.1 การกาจัดของเสีย
4.1.1 มีการกาจัดขยะมูลฝอยที่เหมาะสม
(MINOR)
4.1.2 มีการทาลายซากสุกรที่เหมาะสม
(MAJOR)
4. การจัดการสิ่งแวดล้ อม
การกาจัดของเสีย (ต่ อ)
4.1.3 มีการกาจัดมูลสุกรที่เหมาะสม (MAJOR)
4.1.4 มีการควบคุมและกาจัดสัตว์ พาหะ
เช่ น หนู แมลงสาบ แมลงวัน อย่ างต่ อเนื่อง
(MAJOR)
4. การจัดการสิ่งแวดล้ อม
4.2 การบาบัดนา้ เสียและนา้ ทิง้ ต้ องผ่ านมาตรฐานที่
กาหนด
- นา้ เสียภายในฟาร์ มต้ องผ่ านการบาบัด โดยวีท่ ี
เหมาะสม ไม่ ก่อให้ เกิดกลิ่น หรือก่ อความราคาญต่ อ
ผู้อยู่อาศัยในพืน้ ที่ข้างเคียง (MAJOR)