หลักเกณฑ์การให้คะแนนการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์มเป็ดไข่

Download Report

Transcript หลักเกณฑ์การให้คะแนนการตรวจประเมินมาตรฐานฟาร์มเป็ดไข่

หลักเกณฑ์ การให้ คะแนนการตรวจ
ประเมินมาตรฐานฟาร์ มเป็ ดไข่
โดย น.สพ.วิทยา ทิมสาด
หลักเกณฑ์ การให้ คะแนนการตรวจ
ประเมินมาตรฐานฟาร์ มเป็ ดไข่
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
2. การจัดการฟาร์ ม
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
4. การจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อม
5. การจัดการด้ านสวัสดิภาพสัตว์ ปีก
หมายเหตุ
MAJOR หมายถึง สิ่งที่ไม่ เป็ นไปตามข้ อกาหนดการปฏิบัติ
ทางการเกษตรที่ดีหรื อมาตรฐานฟาร์ มเลีย้ งสัตว์ และ
ส่ งผลร้ ายแรงต่ อระบบการผลิต
MINOR หมายถึง สิ่งที่ไม่ เป็ นไปตามข้ อกาหนดการปฏิบัติ
ทางการเกษตรที่ดีหรื อมาตรฐานฟาร์ มเลีย้ งสัตว์ ใน
บางส่ วน และไม่ มีผลร้ ายแรงต่ อระบบการผลิต
RECOMMENDATION/OBSERVATION หมายถึง สิ่งที่
ไม่ ถือเป็ นข้ อบกพร่ อง แต่ หากปล่ อยทิง้ ไว้ หรื อละเลย
อาจนาไปสู่ข้อบกพร่ องได้
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
1.1 ทาเลที่ตัง้ ของฟาร์ มเป็ ดไข่
1.1.1 ห่ างจากโรงฆ่ าสัตว์ ปีก อย่ างน้ อย 5 กม. (REC)
1.1.2 ห่ างจากตลาดนัดค้ าสัตว์ ปีก อย่ างน้ อย 5 กม.
(REC)
1.1.3 อยู่ห่างโรงงานอุตสาหกรรมหรื อแหล่ งชุมชนที่
อาจทาให้ เกิดการปนเปื ้ อนของอันตรายทางกายภาพ
เคมี และชีวภาพ (REC)
1.1.4 มีการคมนาคมสะดวก ไม่ มีนา้ ท่ วมขัง (REC)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
1.2 ลักษณะฟาร์ ม
1.2.1 มีเนือ้ ที่เหมาะสมกับขนาดของฟาร์ ม (REC)
1.2.2 มีพนื ้ ที่เลีย้ งสัตว์ เป็ นสัดส่ วน แยกจากบ้ านพัก
อาศัย และสานักงาน (MAJOR)
1.2.3 มีแหล่ งนา้ ที่สะอาดและเพียงพอ (MINOR)
1.2.4 มีรัว้ รอบบริเวณพืน้ ที่เลีย้ งสัตว์ มีทางเข้ า –
ออกทางเดียว และมีระบบป้องกันเชือ้ โรคก่ อนเข้ า
ฟาร์ ม (MAJOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
1.3 ลักษณะโรงเรือน
1.3.1 โรงเรือนมีโครงสร้ างที่แข็งแรง ไม่ มีส่วนที่
ทาให้ เกิดการบาดเจ็บต่ อตัวเป็ ด มีขนาดเหมาะสม
กับจานวนเป็ ดที่เลีย้ ง (MAJOR)
1.3.2 โรงเรือนเลีย้ งเป็ ดไข่ มีระยะห่ างกันเพียงพอ
สามารถป้องกันการปนเปื ้ อนข้ าม (MINOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
1.3 ลักษณะโรงเรือน
1.3.3 พืน้ ที่สาหรับเลีย้ งเป็ ดไข่ ในระยะให้ ผลผลิต
มีเป็ ดไข่ ไม่ มากกว่ า 10 ตัว ต่ อตารางเมตร และวัสดุ
รองพืน้ คอกบริเวณวางไข่ ต้องแห้ งและสะอาด
(MAJOR)
1.3.4 มีระบบป้องกันสัตว์ ปีกอื่น หรือสัตว์ พาหะนา
โรคเข้ ามาในบริเวณโรงเรือน เช่ น การใช้ ตาข่ าย
(MAJOR)
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
1. องค์ ประกอบของฟาร์ ม
2. การจัดการฟาร์ ม
2.1 การจัดการโรงเรือนและอุปกรณ์ เป็ ดไข่
2.1.1 มีการจัดการโรงเรือนและอุปกรณ์ ให้ เพียงพอ
ถูกสุขลักษณะ และสะดวกต่ อผู้ปฏิบตั งิ าน (MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.1.2 มีการพักโรงเรือนหลังจากย้ ายเป็ ดไข่
ทาความสะอาดฆ่ าเชือ้ โรคในโรงเรือน และอุปกรณ์ ใน
โรงเรื อน และพักโรงเรือนไม่ น้อยกว่ า 14 วัน ก่ อนนา
เป็ ดรุ่ นใหม่ เข้ ามาเลีย้ ง (หรือตามประกาศของทาง
ราชการกรณีเกิดโรคระบาด) (MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.1.3 มีการดูแล ซ่ อมแซมโรงเรื อนและ
อุปกรณ์ (MINOR)
2.1.4 มีอ่างนา้ ยาฆ่ าเชือ้ โรคสาหรั บจุ่มเท้ า
บุคคลเวลาเข้ า – ออก จากโรงเรื อน (MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2. การจัดการฟาร์ ม
2.2 การจัดการการเลีย้ งเป็ ดไข่
2.2.1 มีการคัดเลือกเป็ ดที่มีลักษณะแข็งแรงสมบูรณ์
มีอายุขนาดเดียวกันให้ อยู่ในฝูงเดียวกัน และคัดเป็ ด
ที่อ่อนแอออก (MINOR)
2.2.2 มีการเตรียมความพร้ อมของโรงเรือนก่ อนนา
เป็ ดเข้ าเลีย้ ง ถ้ าเป็ นโรงเรือนลูกเป็ ดต้ องป้องกันลม
และฝนได้
2. การจัดการฟาร์ ม
2.2.3 มีระบบป้องกันและกาจัดสัตว์ ท่ เี ป็ นพาหะ
นาโรค เช่ น สุนัข แมว นก หนู แมลงสาบ และแมลงวัน
อย่ างต่ อเนื่องและสม่าเสมอ (MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.3 การจัดการด้ านบุคลากร
2.3.1 มีบุคลากรเพียงพอและเหมาะสม (ผู้เลีย้ งไก่
สัตวบาล สัตวแพทย์ ) (MINOR)
2.3.2 บุคลากรในฟาร์ มได้ รับการตรวจสุขภาพ
ประจาปี (MAJOR)
2.3.3 มีการฝึ กอบรมบุคลากรอย่ างต่ อเนื่อง
(MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.4 คู่มือการจัดการฟาร์ ม
มีค่ มู ือการจัดการฟาร์ มเป็ ดไข่ ประกอบด้ วยหัวข้ อ
ดังนี ้
- การเตรียมโรงเรือน (MINOR)
- การกกลูกเป็ ด (MINOR)
- การจัดการด้ านการเลีย้ งเป็ ดไข่ (MINOR)
- การจัดการเกี่ยวกับการให้ อาหารและนา้ (MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
- การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์ (MINOR)
- การจัดการเรื่องสุขาภิบาล และสิ่งแวดล้ อม
(MINOR)
- การคุ้มครอง และดูแลสวัสดิภาพสัตว์ ปีก ณ
สถานที่เลีย้ ง(MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.5 การบันทึกข้ อมูล
2.5.1 มีการบันทึกข้ อมูลการจัดการฟาร์ ม การรั บ
สัตว์ เข้ าฟาร์ ม การให้ อาหารสัตว์ การใช้ วัคซีน
การใช้ ยา และสารเคมีในฟาร์ ม (MAJOR)
2.5.2 เก็บบันทึกข้ อมูลอย่ างน้ อย 2 ปี หลังจาก
วันปลดเป็ ด (MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2. การจัดการฟาร์ ม
2.6 การจัดการด้ านอาหารและนา้
2.6.1 อาหารสัตว์ มีคุณภาพตาม พ.ร.บ. ควบคุม
คุณภาพอาหารสัตว์ ท่ ปี ระกาศและมีผลบังคับใช้
ในขณะนัน้ และมีการจัดเก็บอาหารสัตว์ ท่ ีดี
(MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2. การจัดการฟาร์ ม
2. การจัดการฟาร์ ม
2.6.2 มีการให้ อาหารตามรุ่ นของเป็ ดที่เลีย้ ง และ
เพียงพอ (MINOR)
2.6.3 มีอุปกรณ์ การให้ นา้ อย่ างเพียงพอ และมีการ
ตรวจคุณภาพนา้ อย่ างน้ อย ปี ละ 1 ครั ง้ (MINOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
2.7 การจัดการผลผลิต
2.7.1 เก็บไข่ เป็ ดไว้ ในภาชนะที่สะอาด
ถูกสุขลักษณะ อากาศถ่ ายเทได้ สะดวก
(MAJOR)
2.7.2 สถานที่เก็บไข่ เป็ ดสามารถป้องกันพาหะ
นาโรคเข้ ามาบริเวณจัดเก็บได้ (MAJOR)
2. การจัดการฟาร์ ม
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3.1 การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3.1.1 มีระบบการทาลายเชือ้ โรคยานพาหนะ
และบุคคลก่ อนเข้ า - ออกจากฟาร์ ม (MAJOR)
3.1.2 มีโปรแกรมการใช้ วัคซีน เช่ น วัคซีน
อหิวาต์ เป็ ด และวัคซีนดั๊กเพลก (MINOR)
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3.1.3 มีแผนการควบคุมโรค การวินิจฉัยโรค
และการทาลายซากสัตว์ ตามวิธีการที่กาหนด
โดยหน่ วยงานราชการที่รับผิดชอบ (MAJOR)
3. การจัดการด้ านสุขภาพสัตว์
3.2 การบาบัดโรค
3.2.1 สัตวแพทย์ ผ้ ูควบคุมฟาร์ มปฏิบัตติ าม
พระราชบัญญัตวิ ิชาชีพการสัตวแพทย์ พ.ศ.2545
(MAJOR)
3.2.2 การใช้ ยาภายในฟาร์ มปฏิบัตติ ามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (มอก.7001 - 2540)
(MAJOR)
4. การจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อม
4.1 มีการกาจัดขยะมูลฝอย โดยวิธีท่ เี หมาะสม
(MINOR)
4.2 มีการทาลายซากเป็ ดที่เหมาะสม เช่ น ฝั ง
หรื อเผา (MAJOR)
4.3 มีการจัดการวัสดุรองพืน้ อย่ างถูกวิธีหลัง
ปลดเป็ ด (MINOR)
4. การจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อม
4. การจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อม
4. การจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อม
4.4 มีการจัดการมูลสัตว์ ท่ เี หมาะสม เพื่อไม่ ให้ เกิด
กลิ่นที่ทาให้ เกิดความราคาญต่ อผู้อยู่อาศัยข้ างเคียง
(MINOR)
4.5 นา้ ใช้ ภายในฟาร์ ม ต้ องไม่ ปล่ อยลงแหล่ งนา้
สาธารณะ หรื อต้ องมีการบาบัดก่ อนปล่ อยสู่แหล่ ง
นา้ สาธารณะ(MAJOR)
4.3 มีการจัดการสิ่งแวดล้ อมและพืน้ ที่รอบโรงเรือน
ให้ สะอาด (MINOR)
5. การจัดการด้ านสวัสดิภาพสัตว์ ปีก
5.1 มีการตรวจสอบฝูงเป็ ดอย่ างน้ อยวันละ 2
ครั ง้ (MINOR)
5.2 มีการดูแลเป็ ดให้ ได้ รับอาหารอย่ างทั่วถึง
(MINOR)
5. การจัดการด้ านสวัสดิภาพสัตว์ ปีก
5.3 มีการจัดการภายในโรงเรื อน เพื่อให้ เป็ ดมี
พฤติกรรมตามธรรมชาติ (MINOR)
5.4 มีการจัดการดูแลเป็ ดที่ได้ รับบาดเจ็บ ป่ วย
หรื อพิการตามความเหมาะสม (MAJOR)
ขอบคุณค่ ะ..