การดูแลสุขภาพสัตว์วงศ์ชะมด(ชะมด และอีเห็น)

Download Report

Transcript การดูแลสุขภาพสัตว์วงศ์ชะมด(ชะมด และอีเห็น)

การเลีย้ งและการดูแล
สุขภาพสัตว์ วงศ์ ชะมด
สพ.ญ.ดร. อัมพิกา ทองภักดี
ข้ อมูลสาคัญในการจัดการ
1. การเลีย้ งดู จัดการตัวสัตว์
โรคในชะมด-อีเห็น โรคสัตว์ ส่ ูคน
3. การจัดการฟาร์ ม ชีวอนามัยพืน้ ฐาน
เพื่อมุ่งสู่ฟาร์ ม/สินค้ ามาตรฐาน
2.
องค์ ประกอบในการจัดการสัตว์
สุขภาพ
สภาพแวด
ล้ อม
สัตว์
พันธุกรรม
ขยายพันธุ์
อาหาร
การจัดการสุขภาพสัตว์




มีการเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคอย่ างมี
ประสิทธิภาพ
มีการป้องกันการสะสมของเชือ้ โรค
มีการควบคุมโรคไม่ ให้ แพร่ ระบาด
มีการบาบัดโรค
** ดูแล
บารุ ง รั กษา
การ
จัดการ
เชือ้ โรค
• ภาวะไม่สมดุลทางโภชนาการ
• พิการ เครี ยด บาดเจ็บ
• โรคทางพันธุกรรม
• ไวรัส โปรโตซัว
• แบคทีเรี ย พยาธิ
โรคพิษสุนัขบ้ า หรือ โรคกลัวน้า (Rabies)
สาเหตุ: ไวรัส เป็นโรคติดต่อร้ายแรงทีเ่ กิดจากการกัด หรือ
ข่วน จากสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนม เช่น สุนขั แมว หนู
อาการ: ทางประสาท ทรงตัวไม่ได้ น้าลายไหล
การป้ องกัน: ไม่ให้สนุ ขั หรือแมวเข้าบริเวณพืน้ ทีเ่ ลีย้ งและ
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนขั บ้าทังสั
้ ตว์เลี ้ยงและผู้ปฏิบตั ิงาน
เป็ นประจาทุกปี
การรักษา: ไม่สามารถรักษาโรคนี้ได้
*** ติดต่อสู่คน***
โรคฉี่หนู/โรคเล็ปโตสไปโรซิส (Leptospirosis)
สาเหตุ: แบคทีเรี ยรู ปเกลียว (Leptospira interrogans)
อยู่ในท่อหลอดไต ขับออกทางปั สสาวะจากสัตว์ หลายชนิ ด
เช่น สุนขั หนู โค กระบือ สุกร แพะ แกะ สัตว์เลี ้ยง
พบการระบาดในเดือนตุลาคม และพฤศจิกายน
อาการ: ซึม ไม่กินอาหาร มีไข้ สงู เยื่อเมือกซีด แท้ งลูก
การป้องกัน:
การจัดการพื ้นที่เพาะเลี ้ยงที่ดี กาจัดหนูซงึ่ เป็ นพาหะนาโรค
การรั กษา: รักษาได้ ด้วยยาปฏิชีวนะ
* **ติดต่ อสู่คน***
ไข้ หดั สุนัข (Canine Distemper)
สาเหตุ: เชือ้ ไวรัส Canine Distemper Virus เกิดโรคได้ในสุนขั และ
สัตว์อ่นื ทีอ่ ยูใ่ นตระกูลเดียวกับ สุนขั เช่น สุนขั ปา่ มิง้ ค์ สกังค์
๊ แรคคูณ
และ เฟอร์เร็ท
อาการ: มีทงั ้ ชนิดเฉียบพลันและชนิดเรือ้ รัง ทัง้ ในระบบทางเดิน
หายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบประสาท และผิวหนัง การเกิดโรค
มักจะรุนแรง อัตราการตายสูง
การป้ องกัน: การจัดการพื ้นที่เลี ้ยงที่ดี ไม่เลี ้ยงสุนขั ในพื ้นที่เลี ้ยงสัตว์
ฉีดวัคซีนป้องกัน
การรักษา: รักษาตามอาการและเพือ่ บรรเทาอาการลง
ไข้ หดั แมว
สาเหตุ: เชื ้อไวรัส Feline parvovirus สามารถติดโรคไข้ หดั
แมวได้ จากการติดต่อโดยตรง โดยเฉพาะทางอุจจาระ ภาชนะ
ใส่อาหาร นา้ กรงหรื อที่ขบั ถ่ายของแมว พืน้ ดิน เสือ้ ผ้ า หรื อ
รองเท้ าที่ปนเปื อ้ น
อาการ: มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร ท้ องเสีย ถ่ายเป็ นเลือด
การป้องกัน: การจัดการที่ดี ฉีดวัคซีนป้องกันเป็ นประจาทุกปี
การรักษา: รักษาตามอาการเพื่อบรรเทาอาการลง
ลาไส้ อักเสบ
สาเหตุ: โรคไวรัสลาไส้ อกั เสบในสุนขั เกิดจากเชื ้อไวรัส 3
ชนิด คือ canine parvovirus, canine coronavirus,
rotavirus
ติดโดยกินเชื ้อไวรัสที่ออกมากับอุจจาระและ
ปนเปื อ้ นใน อาหาร น ้าหรื อ สิ่งแวดล้ อม
อาการ: แบบเฉียบพลันและรุนแรง ถ่ายเป็ นเลือด
การป้องกัน: การจัดการพื ้นที่เลี ้ยงที่ดี ฉีดวัคซีนป้องกัน
การรักษา: รักษาตามอาการเพื่อบรรเทาอาการลง
ไข้ ตับอักเสบ
สาเหตุ เชื ้อ Canine Adenovirus-1 ติดต่อโดยการกินและการสัมผัส
โดยตรงกับเชื ้อไวรัส ที่ขบั ออกมากับ น ้ามูก น ้าลาย อุจจาระ และ
ปั สสาวะ แต่เชื ้อนี ้ไม่ติดต่อโดยการหายใจ
อาการ ป่ วยจะมีไข้ สงู ปวดท้ องรุนแรง อาเจียน หรื อถ่ายเป็ นเลือด
และมักตาย ภายใน 24 ชัว่ โมง รายรุนแรงน้ อย จะซึม เบื่ออาหาร
อาเจียน ท้ องแข็งตึง อุจจาระเหนียวสีโคลน กลิน่ เหม็นจัดหรื อมีเลือด
ปน พบสภาพดีซา่ นได้
การป้องกัน: การจัดการพื ้นที่เลี ้ยงที่ดี ฉีดวัคซีนป้องกัน
การรักษา: รักษาตามอาการเพื่อบรรเทาอาการลง
ไข้ หวัดแมว
สาเหตุ: เป็ นโรคที่พบได้ บอ่ ยในช่วงที่อากาศมีการเปลีย่ นแปลง เกิด
จากเชื ้อไวรัสซึง่ เป็ นไวรัสจาเพาะในแมว ได้ แก่ Feline Viral
Rhinotracheitis Virus หรื อ Feline Herpesvirus และ Feline Calici
Virus นอกจากนี ้ยังอาจมีการติดเชื ้ออื่นๆ ร่วมด้ วย เช่น Bordetella
หรื อ Clamydia ติดต่อจากเชื ้อไวรัสที่กระจายในอากาศหรื อการ
สัมผัสกับเชื ้อโดยตรง เช่น การไอ จาม
อาการ: ซึม ไม่กินอาหาร ไอ จาม หอบ มีไข้
การป้องกัน: การจัดการพื ้นที่เลี ้ยงที่ดี ฉีดวัคซีนป้องกัน
การรักษา: รักษาตามอาการเพื่อบรรเทาอาการลง
โรคพยาธิหนอนหัวใจ
สาเหตุ : พยาธิ Dirofilaria immitis ติดจากยุงทีไ่ ปกัดและดูดเลือด
สัตว์ทม่ี ตี วั อ่อนของพยาธิ พยาธิจะเติบโตในยุง และเมือ่ ยุงไปกัด
สัตว์อกี ตัว ก็จะทาให้ตวั อ่อนเข้าสูร่ า่ งกาย และอยูใ่ นกระแสเลือด
จากนัน้ ใช้เวลาประมาณ 4-5 เดือนจึงจะไปโตเต็มวัยเป็ นพยาธิเข้า
ไปอยูใ่ นหัวใจ
อาการ: ไอแห้ง ท้องกาง มีน้าในช่องท้อง เหนื่อยง่าย หอบ
การป้ องกัน: กาจัดยุง ใช้ยา Ivermectin ทาน หรือ ยา Selamectin
หยอดหลังทุกเดือน
การรักษา: ปจั จุบนั ยังไม่มยี าทีใ่ ช้สาหรับการรักษา
สัตว์ สุขภาพดี ผลผลิตดี
ชีวอนามัย (Biosecurity)
สุขาภิบาล ความสะอาดในการจัดการ
ป้ องกันการเกิดโรค ประกอบด้วย

ฟาร์ ม
คนเลี ้ยง
สัตว์
พาหะ
คนเยี่ยม
 การแต่ งกายของคนเลีย้ ง
สะอาด
- รั ดกุม
- ไม่ แพร่ โรค
-
ความสะอาดภาชนะ
มาตรฐานฟาร์ ม
กาหนดวิธีปฏิบัติ การจัดการฟาร์ ม
 สุขภาพสัตว์
 การจัดการสิ่งแวดล้ อม

ผลิตภัณฑ์ ท่ ดี ีทงั ้ คุณภาพและปริมาณ
องค์ ประกอบฟาร์ ม
ทาเลที่ตงั ้
ลักษณะของฟาร์ ม
ลักษณะโรงเรือน
ทาเลที่ตงั ้
อยู่บริเวณที่การคมนาคมสะดวก
 สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ ระบาดของ
โรคภายนอกเข้ าสู่ฟาร์ มได้
 อยู่ห่างจากชุมชน โรงฆ่ าสัตว์ ตลาดนัดค้ าสัตว์
 อยู่ในที่มีแหล่ งนา้ สะอาด เพียงพอตลอดทัง้ ปี
 ได้ รับการอนุญาตในการใช้ พน
ื ้ ที่
 เป็ นบริ เวณที่ไม่ มีนา้ ท่ วมขัง
 เป็ นบริ เวณที่อากาศโปร่ ง อากาศถ่ ายเทได้ ดี

ลักษณะของฟาร์ ม
มีเนือ้ ที่เหมาะสมกับขนาดของโรงเรื อน
 จัดแบ่ งพืน้ ที่อย่ างเป็ นระเบียบ
 สามารถจัดการผลิตสัตว์ คุมโรค สุขอนามัย
ของผู้ปฏิบัตงิ านและ การรั กษาสิ่งแวดล้ อม
 ไม่ ควรให้ สัตว์ เลีย้ งที่อาจเป็ นพาหะนาโรคเข้ า
ไปยังบริเวณเลีย้ งสัตว์

ข้ อกาหนดการเยี่ยมชมฟาร์ ม
- ความเครียด
- โรคติดต่ อ
ลักษณะโรงเรื อน
ขนาดเหมาะสมกับจานวนสัตว์
 ถูกสุขลักษณะ และสัตว์ อยู่สบาย

การจัดการฟาร์ ม
โรงเรื อนต้ องสะดวกในการปฏิบัตงิ าน
 ต้ องดูแลซ่ อมแซมโรงเรื อนให้ มีความ
ปลอดภัยต่ อผู้ปฏิบัตงิ าน และสัตว์
 มีการทาความสะอาดโรงเรื อนและอุปกรณ์ ตาม
ความเหมาะสม
 มีการจัดโรงเรื อนสาหรั บสัตว์ นาเข้ ามาใหม่ /
ป่ วย

คู่มือการจัดการฟาร์ ม
 ระบบบันทึกข้ อมูล การป้องกันโรค การดูแล
สุขภาพสัตว์

ด้ านอาหารสัตว์
 มีระบบบันทึกแหล่ งที่มาของอาหารสัตว์
 ภาชนะบรรจุอาหารสัตว์
ควรสะอาด ไม่ เคยใช้
บรรจุวัตถุมีพษิ ปุ๋ย แห้ ง กันความชืน้ ได้ ไม่ มี
สารปนเปื ้ อนกับอาหารสัตว์
 มีการตรวจสอบคุณภาพอาหาร สารตกค้ าง
 มีสถานที่เก็บอาหารสัตว์ แยกต่ างหากเพื่อ
รั กษาสภาพของอาหารสัตว์ ไม่ ให้ เปลี่ยนแปลง
การขยายพันธุ์
จัดการพันธุกรรม
ประวัติ แหล่งที่มาของสัตว์
 คัดเลือกพันธุกรรมดี
- โตเร็ว
- ทนทานต่อโรค
- ผลิตไขคุณภาพดี ปริมาณมาก
- ขยายพันธุ์ได้ ดี สมบูรณพันธุ์
* เลือดชิด
การเก็บพันธุกรรม การผสมเทียม

การจัดการสิ่งแวดล้ อม
สิ่งปฏิกูลต่ างๆรวมถึงขยะต้ องผ่ านการกาจัด
อย่ างเหมาะสม
 ขยะมูลฝอย เก็บในถังขยะที่มีฝาปิ ดมิดชิด
 ซากสัตว์ ฝั งกลบหรื อทาลาย
 มีการบาบัดนา้ เสียก่ อนระบายออกนอกฟาร์ ม

สัตว์ ป่าเศรษฐกิจ
อนุรักษ์
นารายได้ เข้ าประเทศ
สร้ างอาชีพ เศรษฐกิจ
รักษาความสมดุลของการ
ใช้ ทรัพยากรสัตว์ ป่า /
ระบบนิเวศน์
สังคม
มนุษย์ ได้ ประโยชน์
ในการนามาใช้ บริโภค
ปั จจัย 4 อาหาร ยา
ความเชื่อมโยงของระบบนิเวศ ชุมชน สังคม