ข.พัฒนาระบบอิงความรู..

Download Report

Transcript ข.พัฒนาระบบอิงความรู..

บทนำ
ทุกวันนี้การที่เราจะหาความรู้ซกั เรื่ องหนึ่งนัน่ เราสามารถที่จะหาได้จากหลาย
ช่องทาง โดยเฉพาะสมัยนี้ ความรู้บนอินเตอร์เน็ทได้เข้ามามีบทบาทในชีวติ เราเป็ น
อย่างมาก เพราะความรู้บนอินเตอร์เน็ทนัน่ มีความกว้างขวางเป็ นอย่างมาก เพียงแค่
เรากดค้นหาคาเพียงคาเดียวก็สามารถหาข้อมูลมาได้นบั พันๆ เพียงแต่ขอ้ มูลนัน่ ก็มี
ทั้งเชื่อถือได้และเชื่อถือไม่ได้อยูป่ นกันไป ทั้งนี้กข็ ้ ึนอยูก่ บั พวกเราว่าจะใช้
วิจารณญาณอย่างไรกับข้อมูลบนอินเตอร์เน็ท
ทีม่ ำของโครงงำน
เนื่องจากความรู้ที่เกี่ยวกับปลาสวยงามที่มีอยูม่ ากมายบนอินเตอร์เน็ท เราจึง
หาข้อมูลได้อย่างง่ายดาย แต่กอ็ ย่างที่บอกไปแล้วข้อมูลที่หามาได้นนั่ มีท้ งั ที่
เชื่อถือได้และเชื่อถือไม่ได้ และความรู้บางเรื่ องของปลาสวยงามนัน่ ก็ยงั ทาให้เรา
เสี ยเวลาในการค้นหาเป็ นอย่างมาก เพื่อความสะดวกสบายและความถูกต้องของ
ข้อมูล ทางผูจ้ ดั ทาโครงงานจึงคิดที่จะทาโครงการวิจยั ปลาสวยงามที่มีการ
ให้บริ การเกี่ยวกับ ข้อมูลต่างๆของปลาสวยงาม ที่ถูกต้องและชัดเจนและสร้าง
ความน่าเชื่อถือทางด้านข้อมูลให้ผใู้ ช้บริ การ ซึ่งสามารถเข้ามาดูและหาข้อมูล
ของปลาสวยงามเพื่อนาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
แนวทำงกำรพัฒนำโครงงำน






1. หาข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับปลาสวยงาม
2. กาหนดขอบเขตของระบบอิงความรู้เรื่ องปลาสวยงาม
3. วิเคราะห์ และทาการออกแบบโครงสร้างของระบบอิงความรู้เรื่ องปลา
สวยงาม
4. เริ่ มทาการพัฒนาระบบอิงความรู้เรื่ องปลาสวยงาม
5. ทดสอบระบบที่ทาขึ้น เพื่อหาข้อผิดพลาด หากพบจะได้รีบดาเนินการแก้ไข
6. จัดทาเอกสารประกอบการดาเนินโครงงานฉบับสมบูรณ์
วัตถุประสงค์ ของโครงงำน



1. เพื่อวิเคราะห์และออกแบบระบบอิงความรู้เรื่ องปลาสวยงามที่สามารถใช้งาน
ได้ จริ ง
2. เพื่ออานวยความสะดวก และใช้งานได้จริ ง
3. เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการให้บริ การมากขึ้น
ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ ำจะได้ รับ

1. มีความสะดวกสบายในการค้นหาข้อมูลมากยิง่ ขึ้น

2. สามารถเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการใช้งานทุกๆด้าน

3. ระบบอิงความรู้ที่คน้ หาได้ง่ายและตอบสนองต่อการใช้งานจริ งของ
ผูใ้ ช้
บริ การ
ทฤษฎีและเอกสำรทีเ่ กีย่ วข้ อง
ประวัติ ปลาสวยงาม
ประวัติ ปลำสวยงำม
ไม่มีเอกสารหรื อหลักฐานหลงเหลือให้เห็นว่ามนุษย์เริ่ มร้จกั การนาปลา
สวยงามมาเลี้ยงในที่เลี้ยงตั้งแต่เมื่อไร มนุษย์รู้จกั การเลี้ยงปลาและฝึ กเลี้ยงสัตว์หลาย
ชนิดก่อนที่จะมาสนใจถึงการเลี้ยงปลา เช่น เช่นสุ นขั ที่ถูกมนุษย์จบั มาเลี้ยงและฝึ ก
ให้เชื่องได้มีหลักฐานอย่างแน่ชดั ว่าได้ดาเนินติดต่อกันมาไม่นอ้ ยกว่าหมื่นปี หรื อ
แม้แต่แพะถูกเลี้ยงมาไม่นอ้ ยกว่าเจ็ดพันปี ทีเดียว บางทีอาจเป็ นไปได้มากกว่า
อุปกรณ์หรื อเครื่ องมือที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อการเลี้ยงปลาอย่างเช่น บ่อ เป็ นต้น ไม่
หลงเหลือหลักฐานมาถึงปั จจุบนั บ่อที่เก่าที่สุดเท่าที่นกั โบราณคดีคน้ พบคือ บ่อใน
ยุคสุ เมเรี ย ซึ่งมีอายุประมาณ 4,500 ปี แล้ว
ประวัติปลำสวยงำม (ต่ อ)
ในยุคกลางของยุโรปตามโบสถ์หรื อพระราชวังมักจะมีบ่อเลี้ยงปลาเป็ น
เครื่ องประดับสถานที่กนั แพร่ หลาย แต่ยโุ รปยังใช้เทคนิคระดับต่าในการเลี้ยงดู
และเพาะเลี้ยงปลาจนกระทัง่ มาถึงตอนต้นของพุทธศตวรรษที่ 16 พระรู ปหนึ่ง
ในคริ สศาสนาชื่อ ดอม ปิ นโซล เป็ นบุคคลแรกที่สามารถทาการผสมเทียมปลา
ได้สาเร็ จ แต่ยงั ไม่มีใครรู้มากนัก เพราะบันทึกพิมพ์ส่สาธารณะก็เมื่อปี พ.ศ.
2393 อย่างไรก็ดีท่านก็สมควรได้รับการยกย่องที่สามารถวางรากฐานผสมเทียม
ปลาเอาไว้ให้คนร่ นหลังได้พฒั นาต่อไป
ประวัติปลำสวยงำม (ต่ อ)
ในขณะเดี่ยวกันทวีปเอเซียก็มิได้นอ้ ยหน้าทางยุโรปเลย ชาวจีนสามารถ
สร้างปลาสวยงาม ซึ่งเป็ นที่รู้จกั กันดีทวั่ โลกได้ นัน่ คือ ปลาเงินปลาทองในยุคนี้
จีนถูกปกครองโดยราชวงศ์ซุง (พ.ศ. 1503-1821) เชื่อกันว่าชาวจีนใช้ปลาไนเป็ น
ต้นกาเนิดให้กบั ปลาเงินปลาทองโดยการเพาะเลี้ยงและคัดสายพันธุ์อย่างละเอียด
ถี่ถว้ นบวกกับความเอาใจใส่ ในการเลี้ยงดูและความอดทนต่อผลสาเร็ จเป็ น
ระยะเวลาอันยาวนาน ปลาเงินปลาทองจึงถือกาเนิดขึ้นมาในเวลาไล่เลี่ยกับปลา
คาร์พสี สวยเพื่อเป็ นสัตว์เลี้ยงสี สวยงามที่น่ารักของมนุษย์
ปลำสวยงำม ชนิดต่ ำงๆ
ปลำคำร์ พหำงยำว
มีการเพาะพันธุ์ปลาคาร์พหางยาวในประเทศญี่ปุ่น(เรี ยกกันว่า “มังกรน้ า”)
โดยคาดการณ์วา่ คงจะนาปลาคาร์พหางยาวพื้นเมืองจากประเทศอินโดนีเซี ยมา
พัฒนาในลักษณะเดี่ยวกันกับพวกเขาแต่ไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอนว่าผสมกับ
ปลาคาร์พชนิดใด แต่การผลิตปลาคาร์พหางยาวในประเทศญี่ปุ่นมีจานวนน้อย
มากเนื่องจากสมาคม ZNA ที่เป็ นผูจ้ ดั งานประกวดปลาคาร์พทัว่ โลก ไม่อนุญาต
ให้ปลาคาร์พหางยาวเข้าร่ วมการประกวด แต่ BLUE RIDGE ไม่หยุดการศึกษา
พัฒนา ในเวลาต่อมาเขานาปลาคาร์พหางยาว (BUTTERFLY KOI ) ของเขา
ผสมกับ มังกรน้ าของญี่ปุ่น ผลที่ได้คือปลาคาร์พหางยาว สี สนั สวยงาม
หลากหลาย มันวาวอย่างในปั จจุบนั
ปลำคำร์ พหำงยำว
ปลำทอง
ปลำทองพันธุ์ โคเม็ท ( COMET )
ปลาทองพันธุ์น้ ีเป็ นปลาทองที่มีลกั ษณะค่อนข้างธรรมดา แต่มีความงดงาม
พอสมควร ลาตัวค่อนข้างบอบบาง มีสีที่ดาษดื่นทัว่ ๆไปคือ สี แดงเข้ม แต่ถา้ เป็ น
สี เหลืองอร่ ามทั้งตัวจะเป็ นปลาที่หาได้ยยากและมีราคาแพง หางเป็ นแบบชนิด
หางแฉกต่อนข้างยาว ปลาทองพันธุ์น้ ีเป็ นปลาที่ค่อนค้างปราดเปรี ยว การ
เคลื่อนไหวว่องไว สาหรับในประเทศไทยเราก็ยงั ไม่ค่อยนิยมเลี้ยงกันสักเท่าใด
นัก
ปลำทอง
ปลำทองพันธุ์ สิ งห์ ดำตำมิด
ปลาทองหัวสิ งห์สายพันธุ์น้ ีเป็ นปลาทองที่มีสีดาตลอดทั้งตัว บริ เวณส่ วนหัวจะ
มีวนุ ้ ขึ้นดกกว่าปลาทองหัวสิ งห์สายพันธุ์อื่นๆ จะมีวนุ ้ ปกคลุมบนส่ วนหัวมาก
จนแทบมองไม่เห็นลูกตาทาให้นกั เลี้ยงปลาบางคนเข้าใจผิดคิดว่าปลาทองสาย
พันธุ์น้ ีเป็ นปลาที่ไม่มีลูกตาหรื อตาบอด
ปลำหำงนกยูง
ปลาหางนกยูงมีชื่อวิทยาศาสตร์วา่ Poecilia reticulata มีชื่อสามัญว่า
Guppy อยูใ่ นครอบครัว Poecidae เป็ นปลาออกลูกเป็ นตัวและมีถิ่นกาเนิดในทวีป
อเมริ กา ใต้แถบ เวเนซูเอลล่า หมู่เกาะคาริ เบียนของประเทศบาร์บาโดสและใน
แถบลุ่มน้ าอเมซอน ในธรรมชาติอาศัยอยูใ่ นแหล่งน้ าจืดและน้ ากร่ อยที่เป็ นแหล่ง
น้ านิ่งจนถึงน้ าไหลเรื่ อยๆ ปลาตัวผูม้ ีขนาด 3 - 5 ซม. ตัวเมียมีขนาด 5 - 7 ซม.
ปลาหางนกยูงที่นิยมเลี้ยงเป็ นปลาสวยงาม (Fancy Guppy) ซึ่งเป็ นปลาที่ได้รับ
การคัดพันธุ์ และปรับปรุ งพันธุ์มาจากพันธุ์พ้นื เมือง (Wild Guppy) ที่พบ
แพร่ กระจายอยูใ่ นธรรมชาติ
ปลำหำงนกยูง
นิสัย
ปลาหางนกยูงเป็ นปลาสวยงามน่ารัก ไม่เป็ นอันตรายกับปลาอื่นๆที่อยูร่ ่ วมกัน
แต่ในยามตั้งท้องตัวเมียก็อาจจะมีอาการอยูบ่ า้ ง ซึ่งบางครั้งอาจพบว่า ตัวเมียทา
ร้ายตัวผูจ้ นหางครี มขาดแหว่งไม่สวยงาม
ปลำหอมขำว
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Pseudotropheus socolofi ( Albino)
ชื่อสามัญ: Albino Pindani, ปลาหมอสี เผือก
แหล่งกาเนิด : เมืองTumbi ถึง เมืองCobue จังหวัดNiassa ในสาธารณรัฐโมซัมบิก
(Mozambique)
ปลาหอมขาวมีชื่อเรี ยกกันหลายอย่างคือ หมอหอมขาว,หมอเผือก,หมอสี เผือก,ปลา
หมอกล้วยหอมเผือกหรื อหมอสี สโนไวท์
(snow white socolofi) เป็ นกลุ่มปลาหมอสี มาลาวีขนาดเล็ก(ประเภทเอ็มบูนา
(Mbuna) อาศัยอยูต่ ามซอกหิน กินตะไคร่ น้ าตาม
โขดหินเป็ นอาหาร ปลาหอมขาว เกิดจากการผ่าเหล่าเป็ นปลาเผือกออกมา ไม่มีแต่
เดิมในธรรมชาติ มีลกั ษณะโดยรวมเป็ นปลาสี ขาวทั้งตัว
ปลำหอมขำว
มีลกั ษณะเฉพาะของปลาเผือกชัดเจนคือตาดาตรงกลางมีสีแดง ลาตัวคล้าย
ปลาหมอไทย มีลาตัวค่อนข้างแบน ปลายหางปลายครี บสี ขาวอมฟ้ า เกล็ดแข็ง
ฟันค่อนข้างแหลมคมโตเต็มวัยความยาวลาตัวขนาดโตเต็มที่ประมาณ 10-12
ซม.(ประมาณ 6 นิ้ว) ไข่มีลกั ษณะเหลืองอ่อนกลม ต้นสายพันธุ์มีถิ่นกาเนิดใน
เขตร้อน แหล่งกาเนิดอยูใ่ นทะเลสาบน้ าจืดมาลาวีทางด้านประเทศโมซัมมิก ใน
ทวีปแอฟริ กาใต้
ปลาหอมขาวเป็ นปลาผสมภายนอกประเภทอมไข่ กินพืชและตัวอ่อนของ
สัตว์บางชนิดเป็ นอาหารเช่น ลูกน้ า ลูกไร หนอนแดง ลูกกุง้ ลูกปลาเป็ นต้น
ปลาหอมขาวมีอุปนิสยั ค่อนข้างหวงแหนที่อยูข่ องตนเอง จึงมีลกั ษณะความ
ก้าวร้าว จะทาร้ายตัวอื่นที่มาใกล้ถิ่นอาศัยของตัวเสมอ
ปลำหอมขำว
โรคของปลำสวยงำม
โรคเกล็ดตั้ง
โรคนี้มกั พบได้เสมอในพวกปลาสวยงามอาการของโรคอาจพบเกล็ดตั้ง
เป็ นบางส่ วนหรื อเกล็ดตั้งทั้งตัว นอกจากนี้ยงั พบลักษณะจุดแดงทัว่ ตัวโดยเฉพาะ
บริ เวณครี บและลาตัว โรคเกล็ดตั้งที่พบในปลานี้อาจเกิดขึ้นโดยเป็ นผลสื บ
เนื่องมาจากการเกิดโรคท้องบวมหรื ออาจเป็ นอาการของโรคโดยเฉพาะที่เกิดจาก
การติดเชื้อแบคทีเรี ย
โรคเกล็ดตั้ง
กำรป้ องกันรักษำ
1. ควรหลีกเลี่ยงการใช้ปุ๋ยคอก เพราะอาจจะมีไข่ของพยาธิใบไม้ติดมาถ้าหาก
จาเป็ นต้องใช้ปุ๋ยคอกควรตากให้แห้งเป็ นอย่างดีก่อนใช้ และควรกาจัดหอย ซึ่ง
จะเป็ นตัวช่วยเสริ มในการระบาดของพยาธิชนิดนี้ครบวงจร โดยการตากบ่อให้
แห้งและโรยปูนขาวให้ทวั่ ในอัตรา 30-50 กิโลกรัมต่อไร หลังจากจับปลาขึ้นขาย
ทุกครั้ง
2. ยังไม่มีวธิ ีรักษาหรื ดกาจัดตัวอ่อนของพยาธิใบไม้ที่เกาะบนตัวปลา
โรคพยำธิใบไม้
พยาธิใบไม้ที่ทาให้เกิดโรคปลานั้นพบทั้งที่ขณะเป็ นตัวเต็มวัยแล้ว และตัว
อ่อน ตัวเต็มวัยของพยาธิใบม้จะพบได้ในทางเดินอาหารภายในช่องท้องไม่ค่อย
ทาอันตรายต่อปลาเท่าใดนัก ต่างกับตัวอ่อนซึ่งพบฝฝังตัวอยูบ่ ริ เวณเหงือก และ
อวัยวะภายในต่างๆ ทาให้เกิดความเสี ยหายกับเนื้อเยือ่ ของเหงือกเป็ นอย่างมาก
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในลูกปลาที่เป็ นโรคนี้จะมีอาการกระพุง้ แก้มเปิ ดอ้าอยู่
ตลอดเวลาว่ายน้ า ทุรนทุรายลอยตัวอยูท่ ี่ผวิ น้ า ผอมเหงือกบวม อาจมองเห็นจุด
ขาวๆ คล้ายเม็ดสาคูขนาดเล็กเป็ นไตแข็งบริ เวณเหงือกได้ และปลาจะทยอยตาย
เรื่ อยๆ ปลาหลายชนิดในแหล่งน้ าธรรมชาติอาจพบพยาธิใบไม้เต็มวัยได้ส่วน
พยาธิใบไม้ตวั อ่อนพบมากในปลา จีน ดุก นิล สวายและปลาสวยงามอีกหลาย
ชนิดที่เลี้ยงในบ่อที่มีการใส่ ปุ๋ยคอกเพื่อทาให้เขียว
โรคพยำธิใบไม้
กำรป้ องกันรักษำ
1. ควรหลีกเลี่ยงการใช้ปุ๋ยคอก เพราะอาจจะมีไข่ของพยาธิใบไม้ติดมาถ้าหาก
จาเป็ นต้องใช้ปุ๋ยคอกควรตากให้แห้งเป็ นอย่างดีก่อนใช้ และควรกาจัดหอย ซึ่ง
จะเป็ นตัวช่วยเสริ มในการระบาดของพยาธิชนิดนี้ครบวงจร โดยการตากบ่อให้
แห้งและโรยปูนขาวให้ทวั่ ในอัตรา 30-50 กิโลกรัมต่อไร หลังจากจับปลาขึ้นขาย
ทุกครั้ง
2. ยังไม่มีวธิ ีรักษาหรื ดกาจัดตัวอ่อนของพยาธิใบไม้ที่เกาะบนตัวปลา
ประโยชน์ ของกำรเลีย้ งปลำสวยงำม
1. การเลี้ยงปลาสวยงามเป็ นงานอดิเรกของสมาชิกในครอบครัวก่อให้เกิดความ
เพลิดเพลิน และคลายความเครี ยดได้เป็ นอย่างดี
2. ปลาสวยงามใช้เป็ นเครื่ องตกแต่งสถานที่ เช่นเลี้ยงประดับตามห้องรับแขก
ร้านค้า หรื อห้างสรรพสิ นค้าได้เป็ นอย่างดี
3. ปลาสวยงามมีส่วนช่วยในการกาจัดแมลง เนื่องจากปลาสวยงามส่ วน
ใหญ่ชอบกินตัวอ่อนของแมลงเป็ นอาหาร เช่น ปลากัด ปลาเทวดา ปลาปอมปาดัวร์
ปลาสอด และปลาหางนกยูง ผูเ้ ลี้ยงปลาบางรายยังนิยมช้อนลูกน้ าเลี้ยงปลาดังกล่าว
ประโยชน์ ของกำรเลีย้ งปลำสวยงำม
4. การเลี้ยงปลาสวยงามทาให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติมากขึ้น เพราะได้
เห็นลักษณะการอยูร่ ่ วมกันของปลาชนิดต่างๆ การรวมฝูงของปลา ลักษณะการกิน
อาหาร การเจริ ญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงสี สนั ของปลา ตลอดจนการเติบโตและการ
แพร่ ของพรรณไม้น้ าบางชนิด
5. การเลี้ยงปลาสวยงามให้ประโยชน์ทางด้านการศึกษา เนื่องจากปลาสวยงาม
ส่ วนใหญ่มีขนาดเล็ก มีช่วงชีวติ การเจริ ญเติบโตรวดเร็ ว และมีความเคยชินต่อสภาพ
ความเป็ นอยูใ่ นพื้นที่แคบๆ ทาให้สามารถนามาใช้ในการดาเนินการทดลอง ศึกษาหรื อ
วิจยั ในด้านต่างๆได้ง่าย
6. การเลี้ยงปลาสวยงามก่อให้เกิดรายได้เป็ นอาชีพเสริ ม หรื ออาชีพหลักได้ง่าย
วิธีกำรดำเนินกำรโครงงำน
วิธีการ
ดาเนินการโครงงาน
วิธีการ
ดาเนินการโครงงาน
วิธีการ
ดาเนินการโครงงาน
นำเสนอโดย
นำงสำววรัฏฐำ สั งข์ แก้ ว 51535464
วิชำ
310361 Knowledge-Base Systems