โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
Download
Report
Transcript โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
การส่ งเสริมและพัฒนาโรงเรี ยนส่ งเสริมสุขภาพ
ให้ ได้ มาตรฐานคุณภาพ ระดับเพชร ปี 2554
เป้าหมาย ปี 2554 : อาเภอละ 1 โรงเรียน
คุณสมบัติ
1. เป็ นโรงเรียนที่ผ่านการประเมินรับรอง HPS ระดับทอง ( ไม่เกิน 3 ปี )
2. โรงเรียนแสดงเจตจานงเพือ่ เข้าสูก่ ารพัฒนา
สสจ.ชี้แจง
ผ่าน
รร.เข้าร่วมโครงการ
รร.แจ้งความจานงสมัครเข้าร่วม
โครงการไปยังหน่ วยงานต้นสังกัดใน
พื้นที่
รร.ประเมินตนเองโดย
คณะกรรมการส่งเสริม
สุขภาพของรร.
ไม่ผ่าน
รร.พัฒนาเข้าสูเ่ กณฑ์
แจ้งความจานงขอประเมินพร้อมเอกสาร/
หลักฐานไปยังทีมประเมินระดับจังหวัด
ล่วงหน้า 1 เดือน
ประเมินเพือ่ การรับรองเป็ นรร.
ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
รับเกียรติบตั ร
ทีมประเมินระดับจังหวัด
ทีมประเมินระดับศูนย์อนามัย/
ส่วนกลางสุม่ ประเมิน
แบบสรุปข้อมูลการประเมินตนเองของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
โรงเรียน ................................... สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ......................... สังกัด ....................................... ตาบล
....................................
อาเภอ ................................... จังหวัด ...................................... มีนักเรียน ......................... คน เล็ก ปานกลาง ใหญ่
การผ่านเกณฑ์ประเมิน
(สาหรับคณะกรรมการ
มาตรฐานด้าน/ตัวชี้วดั
เกณฑ์ประเมิน
ข้อมูล
ประเมิน)
ผ่าน
1. การดาเนิ นงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
1.1 ผ่านการประเมินรับรองเป็ นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ระดับทอง
ณ ปัจจุบนั (เป็ นระดับทอง)
พ.ศ. ...............
อย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป
ระยะเวลาดาเนินการ
2. การดาเนิ นกิจกรรมสุขภาพของนักเรียนแกนนา
2.1 มีการจัดตัง้ ชมรม/ชุมนุม/แกนนานักเรียนทีด่ าเนิน
กิจกรรมสุขภาพโดยนักเรียนอย่างสมา่ เสมอ ได้แก่
.................................
......
...................
1...................................................................................
2...................................................................................
3....................................................................................
2.2 มีโครงงานสุขภาพของนักเรียนทีเ่ ป็ นผลงานเด่นของ
โรงเรียนทีป่ ระสบความสาเร็จชัดเจนในการส่งเสริม
ป้ องกัน หรือแก้ไขปัญหาในโรงเรียนและหรือชุมชน
อย่างน้อย 1 เรื่อง
แนบผลสรุปดาเนิน
โครงงานฯ
ไม่ผ่าน
มาตรฐานด้าน/ตัวชี้วดั
เกณฑ์ประเมิน
ข้อมูล
การผ่านเกณฑ์ประเมิน
(สาหรับคณะกรรมการ
ประเมิน)
ผ่าน
3. ผลสาเร็จของการดาเนิ นงาน
3.1 ภาวะสุขภาพของนักเรียน
3.1.1 นักเรียนมีนา้ หนักตามเกณฑ์
ไม่เกินร้อยละ 7
ส่วนสูง เกินเกณฑ์ (ท้วม เริ่มอ้วน
และอ้วน)
จานวน นร.ทีม่ W
ี /H เกินเกณฑ์ = …
จานวน นร.ทีช่ งั ่ นา้ หนัก
= …
(แนบผลสรุปตามระดับชัน้ เรียน)
3.1.2 นักเรียนมีส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ
ตา่ กว่าเกณฑ์ (ค่อนข้างเตี้ย และ
เตี้ย)
ไม่เกินร้อยละ 5
จานวน นร.ทีม่ ี H/Aตา่ กว่าเกณฑ์ =…
จานวน นร.ทีช่ งั ่ นา้ หนัก
=
…
(แนบผลสรุปตามระดับชัน้ เรียน)
3.1.3 นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายที่
สัมพันธ์กบั สุขภาพอยู่ในเกณฑ์ดี
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
จานวน นร.ทีม่ สี มรรถภาพทางกายใน
เกณฑ์ดี
= …
จานวน นร.ทีท่ ดสอบสมรรถภาพทางกาย
(แนบสรุปตามระดับชัน้ เรียน) = …
3.1.4 นักเรียนมีสุขภาพจิตดี
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
จานวน นร.ทีม่ กี ารประเมิน SDQ = ….
จานวนนักเรียนทีม่ ปี ญั หาจาก SDQ = ….
(แนบผลสรุปตามระดับชัน้ เรียน)
ไม่ผ่าน
มาตรฐานด้าน/ตัวชี้วดั
เกณฑ์ประเมิน
ข้อมูล
การผ่านเกณฑ์ประเมิน
(สาหรับคณะกรรมการ
ประเมิน)
ผ่าน
3.2 โครงการแก้ไขปัญหาในโรงเรียน
มีโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพทีม่ คี วามชุกสูง
หรือเป็ นอันตรายในเด็กวัยเรียนได้เป็ น
ผลสาเร็จ
อย่างน้อย 1 โครงการ
แนบผลสรุปการดาเนิน
โครงการ
3.3 งานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
3.3.1 นา้ ดืม่ สะอาดและเพียงพอ
3.3.1.1 นา้ ดืม่ บริการแก่นกั เรียนผ่าน โรงเรียนขนาดเล็กอย่างน้อย 1 จุด แนบผลการตรวจ
การวิเคราะห์ตามเกณฑ์มาตรฐาน โรงเรียนขนาดกลางอย่างน้อย 2 จุด วิเคราะห์
คุณภาพนาบริโภค กรมอนามัย โรงเรียนขนาดใหญ่อย่างน้อย 3 จุด
3.3.1.2 นา้ ดืม่ พอเพียง
1 ที่ / นักเรียน 75 คน
................ จุด
ทุกข้อ (16 ข้อ)
................. ข้อ
(แนบผลการประเมินฯ)
3.3.2 สุขา
3.3.2.1 ส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
HAS
ไม่ผ่าน
มาตรฐานด้าน/ตัวชี้วดั
เกณฑ์ประเมิน
ข้อมูล
การผ่านเกณฑ์ประเมิน
(สาหรับคณะกรรมการ
ประเมิน)
ผ่าน
3.3.3 โภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร
3.3.3.1 ไม่จดั และจาหน่ายอาหารว่างหรือ
ขนมทีม่ ไี ขมันสูงและรสเค็มจัด
ทุกวันเปิ ดเรียน
.......... วัน/สัปดาห์
3.3.3.2 ไม่จดั หรือจาหน่ายอาหารว่างและ
เครื่องดืม่ ทีม่ รี สหวานจัด
ทุกวันเปิ ดเรียน
.......... วัน/สัปดาห์
3.3.3.3 มีการส่งเสริมให้นกั เรียนทุกวันได้ 4 ช้อนกินข้าวต่อมื้อต่อคน
บริโภคผักมื้อกลางวัน ทุกวันเปิ ด สาหรับเด็กอายุ 6-13 ปี
เรียน
5 ช้อนกินข้าวต่อมื้อต่อคน
สาหรับเด็กอายุ 14-18 ปี
.... ช้อนกินข้าวต่อมื้อต่อคน
3.3.3.4 โรงอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
สุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน
.................... ข้อ (แนบผล
การประเมินฯ)
ทุกข้อ (30 ข้อ)
ไม่ผ่าน
มาตรฐานด้าน/ตัวชี้วดั
เกณฑ์ประเมิน
ข้อมูล
การผ่านเกณฑ์ประเมิน
(สาหรับคณะกรรมการ
ประเมิน)
ผ่าน
ไม่ผ่าน
3.3.4 การป้ องกันอุบตั ภิ ยั
3.3.4.1 การบาดเจ็บในโรงเรียนจนทาให้นาเรียนต้อง
พักรักษาตัวในโรงพยาบาลในรอบปี ทผ่ี ่านมา
(นับจากวันประเมิน)
ไม่มี
.............. คน
3.3.5 การป้ องกันสภาวะแวดล้อมทีเ่ ป็ นมลพิษ
3.3.5.1 มีการจัดการแก้ไขเมือ่ มีปญั หาทีเ่ กิดจากภาวะ ทุกปัญหา (ถ้ามี)
มลพิษภายนอกทีม่ ผี ลกระทบต่อสุขภาพ
แนบหลักฐานที่
ดาเนินการ
3.3.5.2 โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาล
สิง่ แวดล้อมในโรงเรียน
ทุกข้อ (30 ข้อ)
................ ข้อ (แนบผล
การประเมินฯ)
3.3.5.3 การสูบบุหรี่ในโรงเรียน
ไม่มี
มี ไม่มี
ขอรับรองว่าข้อมูลการประเมินดังกล่าวข้างต้นเป็ นความจริง
ลงชื่อ ..................................................... ผูบ้ ริหารโรงเรียน
ตาแหน่ง .............................................
วันที่ ....................................................
1. ผลการชัง่ น้ าหนัก วัดส่วนสูง ของนักเรียนทัง้ โรงเรียน และการแปลผลด้าน
ภาวะท้วม เริ่มอ้วนและอ้วน ค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย
2. ผลการทดสอบสมรรถภาพกายของนักเรียน
3.
4.
5.
6.
ผลการประเมิน SDQ ของนักเรียนทัง้ โรงเรียน
ผลการตรวจวิเคราะห์คณ
ุ ภาพน้ าดื่ม
วิธีดาเนิ นงานโครงงานสุขภาพของนักเรียนที่ประสบผลสาเร็จ
ข้อมูลสนับสนุ นที่แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มที่ดีข้ ึนตามตัวชี้วดั ต่างๆ (ถ้ามี)
ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน 19 ตัวชี้วดั
โรงเรียนที่ผ่านการประเมิน
เป็ นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร
จะต้องผ่าน เกณฑ์ประเมินครบทุกตัวชี้วดั ดังนี้
มาตรฐานที่ 1. การดาเนิ นงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง
ตัวชี้วดั ที่ 1.
ผ่านการประเมินรับรองเป็ นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง
มาตรฐานที่ 2. การดาเนิ นงานสุขภาพของนักเรียนแกนนา
ตัวชี้วดั ที่ 2. มีการจัดตัง้ ชมรมเด็กไทยทาได้ ชมรมสุขภาพอืน่ ๆ ชุมนุ มหรือแกนนา
นักเรียนที่รวมตัวกันดาเนิ นกิจกรรมสุขภาพอย่างสมา่ เสมอ อย่างน้อย 6
เดือนขึ้นไป
ตัวชี้วดั ที่ 3. มีโครงงานสุขภาพของนักเรียนที่เป็ นผลงานเด่นของโรงเรียนที่ประสบ
ผลสาเร็จชัดเจนในการส่งเสริมป้ องกัน หรือแก้ไขปัญหาในโรงเรียนและ
หรือชุมชน อย่างน้อย 1 เรื่อง
มาตรฐานที่ 3. ผลสาเร็จของการดาเนิ นงาน ดังนี้
3.1 ภาวะสุขภาพของนักเรียน (Health Status)
ตัวชี้วดั ที่ 4. นักเรียนมีน้ าหนักตามเกณฑ์สว่ นสูง (W/H) เกินเกณฑ์ (เริ่มอ้วน
และอ้วน) ไม่เกินร้อยละ 7
ดัชนี บ่งชี้ถงึ น้ าหนักเมื่อเทียบกับส่วนสูงโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์
อ้างอิงการเจริญเติบโตของนักเรียน
ตัวชี้วดั ที่ 5. นักเรียนมีสว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ (H/A) ตา่ กว่าเกณฑ์
(ค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย) ไม่เกินร้อยละ 5
ดัชนี ท่บี ่งชี้ถงึ ส่วนสูงเมื่อเทียบกับอายุโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์
อ้างอิงการเจริญเติบโตของนักเรียน
ตัวชี้วดั ที่ 6. นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายที่สมั พันธ์กบั สุขภาพอยูใ่ นเกณฑ์
ปานกลาง - ดี ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ตัวชี้วดั ที่ 7. นักเรียนมีสขุ ภาพจิตดี ร้อยละ 80 ขึ้นไป
3.2 โครงการแก้ไขปัญหาในโรงเรียน
ตัวชี้วดั ที่ 8. มีโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่มีความชุกสูง หรือเป็ น
อันตรายในเด็กวัยเรียน ได้เป็ นผลสาเร็จ (อย่างน้อย 1
โครงการ)
3.3 งานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
3.3.1 น้ าดื่มสะอาดและเพียงพอ
ตัวชี้วดั ที่ 9. น้ าดื่มบริการแก่นกั เรียนมีผลการตรวจวิเคราะห์ผ่านเกณฑ์
คุณภาพน้ าบริโภคกรมอนามัย
• โรงเรียนขนาดเล็ก - นักเรียนไม่เกิน 500 คน
ตรวจอย่างน้อย 1 จุด
• โรงเรียนขนาดกลาง - นักเรียน 500-1500 คน
ตรวจอย่างน้อย 2 จุด
• โรงเรียนขนาดใหญ่ - นักเรียน 1500 คนขึ้นไป
ตรวจอย่างน้อย 3 จุด
ตัวชี้วดั ที่ 10. น้ าดื่มเพียงพอ มีจุดบริการน้ าดื่ม (1 ที่ต่อนักเรียน 75 คน )
3.3.2 สุขาน่ าใช้
ตัวชี้วดั ที่ 11. ส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS ทุกข้อ
(16 ข้อ)
3.3.3 โภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วดั ที่ 12. ไม่จดั และจาหน่ ายอาหารว่างหรือขนมที่มีไขมันสูง และรสเค็ม ทุกวันเปิ ดเรียน)
ตัวชี้วดั ที่ 13. ไม่จดั และจาหน่ ายอาหารว่าง และเครื่องดื่มที่มีรสหวานจัด (ทุกวันเปิ ดเรียน)
ตัวชี้วดั ที่ 14. มีการส่งเสริมให้นกั เรียนทุกคนได้บริโภคผักมื้อกลางวันทุกวันเปิ ดเรียน
ตามปริมาณที่แนะนา
• เด็กอายุ 6 – 13 ปี จานวน 4 ช้อนกินข้าว ต่อมื้อต่อคน
• เด็กอายุ 14 – 18 ปี จานวน 5 ช้อนกินข้าว ต่อมื้อต่อคน
ตัวชี้วดั ที่ 15. โรงอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน ทุกข้อ (30 ข้อ)
3.3.4 การป้ องกันอุบตั ภิ ยั
ตัวชี้วดั ที่ 16. การบาดเจ็บในโรงเรียนจนทาให้นกั เรียนต้องพัก
รักษาตัวในโรงพยาบาลในรอบปี ท่ผี ่านมา นับจากวัน
ประเมิน ไม่มี
3.3.5 การป้ องกันสภาวะแวดล้อมที่เป็ นมลพิษ
ตัวชี้วดั ที่ 17. มีการจัดการแก้ไขเมื่อมีปญั หาที่เกิดจากภาวะมลพิษภายนอกต่อ
สุขภาพ ทุกปัญหา ( ถ้ามี )
ตัวชี้วดั ที่ 18. โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน ทุกข้อ
ทัง้ 30 ข้อ
ตัวชี้วดั ที่ 19. การสูบบุหรี่ในโรงเรียน ไม่มี
ใช้แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน (SDQ) เป็ นแบบประเมินที่กรมสุขภาพจิตได้พฒั นาขึ้น เพื่อ
ใช้เป็ นเครื่องมือสาหรับครูในการคัดกรองปัญหาเด็ก และให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่เด็กใน
โรงเรียน ในแบบประเมินประกอบด้วย ลักษณะของพฤติกรรมทัง้ ด้านบวกและด้านลบ มี 5
ด้าน รวมจานวน 25 ข้อ คือ
พฤติกรรมด้านอารมณ์ (5 ข้อ)
พฤติกรรมอยู่ไม่น่ิ ง / สมาธิสน้ั (5 ข้อ)
พฤติกรรมเกเร / ความประพฤติ (5 ข้อ)
พฤติกรรมด้านความสัมพันธ์กบั เพื่อน (5 ข้อ)
พฤติกรรมด้านสัมพันธภาพทางสังคม (5 ข้อ)
หลังจากประเมินนักเรียนแล้ว ครูจะสรุปปัญหาและผลกระทบของพฤติกรรมที่เป็ นปัญหา เด็กที่
มีปญั หาจะได้รบั การดูแลแก้ไขโดยระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แหล่งเก็บข้อมูล
อาจารย์ฝ่ายปกครองของโรงเรียน
1.
ประสานอาจารย์ฝ่ายปกครองของโรงเรียน เพื่อขอข้อมูลผลการประเมิน SDQ ของ
นักเรียนทัง้ โรงเรียนในรอบปี ท่ผี ่านมา
2.
คานวณหาค่าร้อยละของนักเรียนที่มีสขุ ภาพจิตดี ดังนี้
จานวนนักเรียนที่ทาการประเมิน SDQ ทัง้ หมด - นักเรียนที่มีปญั หา X 100
ร้อยละของนักเรียนที่มีสขุ ภาพจิตดี =
จานวนนักเรียนที่ทาการประเมิน SDQ ทัง้ หมด
3.
การผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องมีนกั เรียนที่มีสขุ ภาพจิตดี ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ผูป้ ระเมินอาจเก็บตัวอย่างน้ าส่งตรวจวิเคราะห์ หรือในกรณี โรงเรียนใดมีผลการตรวจคุณภาพน้ า
ผ่านเกณฑ์มาตรฐานภายในไม่เกิน 6 เดือน ให้นาผลมาใช้อา้ งอิงในการประเมินได้
สาหรับการแก้ไขปัญหาและการปรับปรุง ให้พจิ ารณาตามศักยภาพในการจัดการของโรงเรียนเป็ น
เบื้อง ต้น และปรึกษาหน่ วยงาน นักวิชาการที่เกี่ยวข้องและมีความเชี่ยวชาญในลาดับต่อไป
โรงเรียนส่ งเสริมสุ ขภาพผ่ านเกณฑ์ มาตรฐาน เป็ นตัวชี้วดั หนึ่งในงานหลักประกัน
สุ ขภาพ จังหวัดสามารถของบประมาณจากงบ PP area based
โรงเรียน
• วางแผน
• เตรียมการ
• ประสานงาน
สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัด ศูนย์ อนามันที่ 1-12
ห้ องปฏิบัติการวิทยาสตร์
ผลการตรวจวิเคราะห์
• ประสานงาน
• เก็บ/ส่ งตัวอย่างนา้
• แปรผล
• ให้ บริการวัสดุ อุปกรณ์
• วิเคราะห์ ตัวอย่างนา้
• แจ้ งผลการวิเคราะห์ ตัวอย่ าง
การประเมินเพือ่ หาข้อมูลการบริโภคผัก 4 ช้อนกินข้าวในอาหาร
กลางวันของโรงเรียน
กรณี โรงเรียนจัดบริการอาหารกลางวันเอง / จ้างเหมาผูอ้ น่ื
1. ดูเมนู อาหารล่วงหน้าตลอดทัง้ สัปดาห์หรือทัง้ เดือน เพือ่ เป็ นเมนู หมุนเวียน
ที่สามารถมีผกั เป็ นส่วนประกอบเอื้อต่อการส่งเสริมให้บริโภคผักได้ตามปริมาณ
ที่ธงโภชนาการแนะนา เช่น ผัดผักบุง้ แกงจืดหมูบะช่อผักกาดขาว ข้าวมันไก่
พร้อมน้ าซุปฟักเขียว ข้าวไข่พะโล้ใส่หวั ผักกาด เป็ นต้น
2. ดูรายการซื้อวัตถุดิบ โดยเฉพาะปริมาณผักในมื้อกลางวันของแต่ละวัน ย้อนหลัง
ประมาณ 1 เดือน โดยกาหนดให้นกั เรียนอายุ 6-13 ปีบริโภคผักมื้อละ 4 ช้อนกินข้าวต่อคน
จะต้องซื้อผักเฉลี่ยคนละ 70 กรัม ถ้าในโรงเรียนมีเด็กนักเรียนอายุ 6-13 ปี จานวน 100 คนก็
ต้องซื้อผักสดมาประกอบอาหารมื้อกลางวันเท่ากับ 700 กรัม x 100 คน = 7,000 กรัมหรือ
7 กิโลกรัม และเด็กนักเรียนอายุ 14-18 ปี กาหนดให้บริโภคผักมื้อละ 5 ช้อนกินข้าวต่อคน
จะต้องซื้อผักเฉลี่ยคนละ 90 กรัม ถ้ามีเด็กนักเรียน 100 คนจะต้องซื้อผักสดมาประกอบ
อาหารมื้อกลางวันเท่ากับ 90 กรัม x 100 คน = 9,000 กรัมหรือ 9 กิโลกรัม
หมายเหตุ
* ผักสดที่ซ้ อื 1 กิโลกรัม สามารถบริโภคได้ประมาณ 750 กรัม
* ผัก 4 ช้อนกินข้าวหนักประมาณ 53 กรัมและผัก 5 ช้อนกินข้าว
หนักประมาณ 67 กรัม
3. สุม่ สอบถามเด็กนักเรียนว่า มีรายการอาหารตามข้อ 1 หรือไม่
4. เยีย่ มชมโรงอาหารเพื่อดูอาหารกลางวันในวันนั้น และสุม่
พูดคุยกับผูป้ ระกอบอาหารของโรงเรียน หรือผูร้ บั เหมา เกี่ยวกับ
รายการอาหารที่ประกอบกับเมนู ท่รี บั ทราบจากข้อ 1 เพื่อตรวจสอบ
กรณี รา้ นค้ามาจัดจาหน่ าย
1. เยี่ยมชมว่าถาดอาหารที่จาหน่ าย มีสดั ส่วนของอาหารที่ประกอบไปด้วยผัก 1 ใน 3
ของถาดทัง้ หมดหรือไม่
2. สอบถามแม่คา้ ผูจ้ าหน่ ายว่า ใช้ผกั ในการ
ประกอบอาหารวันละเท่าไร และจาหน่ าย
ได้ประมาณเท่าเท่าใด ตัวอย่างเช่น แม่คา้
ขายก๋วยเตีย๋ วหมูตอ้ งใช้ถวั ่ งอก
ผักกวางตุง้ ต่อคนเฉลี่ย 70 กรัมที่ซ้ อื มา
หากจาหน่ ายได้วนั ละ 50 ชาม แม่คา้ ต้อง
ซื้อผักทัง้ 2 ประมาณ 3.5 กิโลกรัม
1. พิจารณาคัดเลือกโรงเรียนที่มีความพร้ อมในการพัฒนาเป็ นโรงเรียนส่ งเสริม
สุ ขภาพระดับเพชร(โรงเรียนสมัครเข้ าร่ วมในการพัฒนาเป็ นระดับเพชร)
2. โรงเรียนประเมินตนเองตามเกณฑ์ มาตรฐานการประเมินระดับเพชร....พัฒนา
ส่ วนขาด/ไม่ ผ่านเกณฑ์ ให้ ได้ ตามเกณฑ์
3. เมือ่ พร้ อมแจ้ งขอรับการประเมินไปยังทีมประเมินระดับจังหวัดและส่ งหลักฐาน
ต่ างๆก่อนอย่ างน้ อย 1 เดือน
4. ทีมประเมินระดับจังหวัดประเมินโรงเรียน