ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดิน และทรัพยากร

Download Report

Transcript ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดิน และทรัพยากร

สาระสาคัญ
ร่ าง พ.ร.บ. สิ ทธิชุมชนในการจัดการทีด่ นิ และทรัพยากร
โดย
ประยงค์ ดอกลำใย
ที่ปรึ กษำขบวนกำรประชำชนเพื่อสังคมที่เป็ นธรรม
กำรประชุมคณะกรรมกำรส่ งเสริ มและพัฒนำศักยภำพในกำรแข่งขันทำงกำรเกษตร
สิ ทธิเกษตรกร สิ ทธิที่ดินทำกิน สิ ทธิกำรเข้ำถึงแหล่งทุนและหนี้สินเกษตรกร
ครั้งที่ 1 /2557
วันพฤหัสบดีที่ 30 มกรำคม 2557
หัวข้ อการนาเสนอ
1. หลักคิดในการใช้ ทรัพยากรและสิทธิ
2. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการจัดให้ มีโฉนดชุมชน
3. สาระสาคัญของร่ างพระราชบัญญัตวิ ่ าด้ วยสิทธิชุมชนในการ
จัดการที่ดนิ และทรัพยากร พ.ศ. ....
4. ตอบคาถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
หลักคิดในการใช้ ทรัพยากรและสิทธิ
มีประสิทธิภาพ
ประสิทธิภาพรองลงมา
ไม่ มีประสิทธิภาพ
การเข้ าถึงทรัพยากร
ในลักษณะ Open
Access ต่ างคนต่ าง
ใช้ สมบัตสิ าธารณะ
ประสิทธิภาพ
รองลงมา คือ สิทธิ
แบบปั จเจกหรือสิทธิ
ส่ วนบุคคล
(กรรมสิทธิ์เชิงเดี่ยว)
การใช้ ทรัพยากร
อย่ างมีประสิทธิภาพ
และยั่งยืน คือ การมี
กรรมสิทธิ์ร่วม หรื อ
สิทธิชุมชน
เปรียบเทียบสิทธิในที่ดนิ แบบต่ าง ๆ
กรรมสิทธิ์ของเอกชน
สิทธิของชุมชน
สิทธิสาธารณะ
ผู้มีสิทธิจะปกป้อง
ดูแล และใช้ ประโยชน์
อย่ างระมัดระวัง
จูงใจให้ ผ้ ูมีสิทธิ
ร่ วมกันปกป้อง ดูแล
และใช้ ประโยชน์
ภายใต้ กติการ่ วมกัน
อย่ างสมดุลย์ /ยั่งยืน
รั ฐเป็ นผู้ปกป้อง
ดูแล และอนุญาตให้
ใช้ ประโยชน์ ตามที่
กฎหมายกาหนด
เป็ นหลักทรัพย์ ท่ ี
น่ าเชื่อถือ
อยู่ภายใต้ กลไก
ตลาด อาจเสี่ยงต่ อ
การสูญเสียสิทธิใน
ที่ดนิ ไปโดยง่ าย
ใม่ สามารถใช้ เป็ น
หลักทรัพย์
ไม่ อยู่ในกลไกตลาด
ไม่ เสี่ยงต่ อการสูญเสีย
สิทธิในที่ดนิ
ไม่ สามารถใช้ เป็ น
หลักทรัพย์
ไม่ เสี่ยงต่ อการ
สูญเสียสิทธิในที่ดนิ
แต่ อาจถูกบุกรุ กหรื อ
ใช้ มากเกินไป
ข้ อดีของสิทธิของชุมชนในที่ดนิ
1
ชุ ม ชนสามารถบริ ห ารจั ด การ
ที่ดินให้ เกิดประโยชน์ ต่อสมาชิก
ภายใต้ ข้อตกลงกับภาครัฐ
3
รั ฐ จะได้ รั บ ความร่ วมมื อ จาก
ชุมชนในการดูแลที่ดินและลด
ภาระในการป้องกันการบุกรุ ก
ที่ดนิ ของรัฐอีกทางหนึ่ง
2
ชุ ม ชนสามารถป้องกั น
การบุกรุ กพืน้ ที่เพิ่มและ
การใช้ ท่ ีดินที่อาจส่ งผล
กระทบกับชุมชน ทาให้
ที่ ดิ น ของรั ฐ ข้ างเคี ย ง
ได้ รับการดูแล
ความต้ องการสิทธิในที่ดนิ ของชุมชน
1
2
3
ต้ องการได้ รับสิทธิในการ
บริหารจัดการเพื่อการ
อนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์
(อย่ างสมดุลและยั่งยืน)
จากรัฐโดยไม่ ได้ ต้องการ
กรรมสิทธิ์ในที่ดนิ
สิทธิการให้ หรือเพิกถอน
สิทธิการใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ
แก่ สมาชิกของชุมชน และ
กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่จาเป็ น
เพื่อให้ สมาชิกของชุมชน
ปฏิบัติ
สมาชิกผู้ท่ ไี ด้ รับสิทธิใช้
ประโยชน์ ในที่ดนิ ของ
ชุมชนไม่ สามารถซือ้ ขาย
เปลี่ยนมือได้ อย่ างเสรี ต้ อง
ถ่ ายโอนสิทธิให้ กับสมาชิก
ในชุมชนเท่ านัน้ และต้ อง
ได้ รับความเห็นชอบจาก
กรรมการชุมชนก่ อน
ข้ อมูลจานวนผู้ท่ อี ยู่อาศัยในที่ดนิ ของรัฐ
ป่ าสงวนแห่ งชาติ 450,000 ราย เนือ้ ที่ 6.4 ล้ านไร่
อุทยานแห่ งชาติ เขตรักษาพันธุ์ฯ 185,916 ราย เนือ้ ที่ 2,243,943 ไร่
ที่ราชพัสดุ 161,932 ราย เนือ้ ที่ 2,120,196 ไร่
ที่สาธารณะ 1,154,867 ไร่
ระเบียบสานักนายกรั ฐมนตรี
ว่ าด้ วยการจัดให้ มีโฉนดชุมชน พ.ศ. 2553
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ ม 127 ตอนพิเศษ 73 ง หน้ า 1-4
วันที่ 11 มิถุนายน 2553
ระเบียบสานักนายกรั ฐมนตรี
ว่ าด้ วยการจัดให้ มีโฉนดชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ ม 129 ตอนพิเศษ 88 ง หน้ า 1-2
วันที่ 1 มิถุนายน 2555
ความสัมพันธ์ ระหว่ างกลไกนโยบาย
ธนาคารที่ดนิ
ภาษีท่ ดี นิ ฯ
โฉนดชุมชน
ร่ างพระราชบัญญัติ
ว่ าด้ วยสิทธิชุมชนในการจัดการ
ที่ดนิ และทรั พยากร พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล
ให้ มีกฎหมายว่ าด้ วยสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 บัญญัติ
เกี่ยวกับสิทธิชุมชนในการอนุรักษ์ ฟื ้ นฟู และใช้ ประโยชน์ จาก
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม ประกอบกับมีประชาชน
จานวนมากได้ ครอบครองและทาประโยชน์ ในที่ดนิ ของรัฐมาเป็ น
เวลายาวนาน มีสาเหตุมาจากนโยบายของรัฐในอดีต ความไม่
ชัดเจนของเขตที่ดนิ ของรัฐ ความยากจน และการไร้ ท่ ที ากินของ
ประชาชน โดยที่ทางราชการไม่ สามารถบังคับใช้ กฎหมายอย่ าง
เคร่ งครัด หรืออพยพประชาชนเหล่ านัน้ ออกจากที่ดนิ ของรัฐได้
หลักการและเหตุผล (ต่ อ)
การปล่ อยให้ มีการครอบครองที่ดนิ ของรัฐต่ อไปก็จะยิ่งทาให้
ปั ญหาลุกลามมากขึน้ การจัดที่ดนิ ตามกฎหมายที่มีอยู่ก็มิได้ มี
หลักประกันว่ าจะไม่ เกิดการขยายการครอบครองที่ดนิ ของรัฐอีก
จึงควรนาหลักการสิทธิชุมชนที่บัญญัตไิ ว้ ในรัฐธรรมนูญมาใช้
ร่ วมกับการบริหารจัดการที่ดนิ เพื่อให้ รัฐสามารถรักษาที่ดนิ ของ
รัฐไว้ ได้ และส่ งเสริมให้ ประชาชนที่รวมตัวกันเป็ นชุมชนมีสิทธิใช้
ประโยชน์ ท่ ดี นิ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาที่
ได้ รับอนุญาต โดยควบคุมกันเอง เป็ นการลดความขัดแย้ ง
ระหว่ างภาครัฐและประชาชน อีกทัง้ ส่ งเสริมให้ ประชาชนมีส่วน
ร่ วมในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมให้
สมดุลและยั่งยืน จึงจาเป็ นต้ องตราพระราชบัญญัตนิ ี ้
คาจากัดความที่สาคัญ
“สิทธิชุมชน” หมายความว่ า สิทธิท่ ใี ห้ ชุมชนร่ วมกันบริ หารจัดการ
ครอบครอง และใช้ ประโยชน์ ในที่ดนิ ของรัฐ เพื่อสร้ างความมั่นคง
ในการอยู่อาศัยและการใช้ ประโยชน์ ในที่ดนิ ของชุมชน ซึ่งชุมชน
มีหน้ าที่ต้องดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตลอดจนปฏิบัตติ ามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ โดยกฎหมาย และ
ระเบียบที่เกี่ยวข้ อง
“ชุมชน” หมายความว่ า กลุ่มประชาชนที่รวมตัวกันโดยมี
วัตถุประสงค์ ร่วมกันเพื่อการจัดการด้ านเศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรม รวมทัง้ การมีส่วนร่ วมในการดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม และมีการวางระบบบริหาร
จัดการและการแสดงเจตนาแทนกลุ่มได้
คณะกรรมการสิทธิชุมชน
ในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซ่ งึ นายกรัฐมนตรี
มอบหมายเป็ นประธานกรรมการ กรรมการโดยตาแหน่ ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒโิ ดยมีภาคประชาชนร่ วมอยู่ด้วย ให้
เลขาธิการสานักงานสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
เป็ นกรรมการและเลขานุการ
สานักงานสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร สานัก
นายกรัฐมนตรี ทาหน้ าที่เป็ นหน่ วยงานสนับสนุนคณะกรรมการ
อานาจหน้ าที่
กาหนดนโยบาย เป้าหมาย และมาตรการเกี่ยวกับสิทธิชุมชนใน
การจัดการที่ดนิ และทรัพยากรเพื่อเสนอต่ อคณะรัฐมนตรี
กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการพิจารณาที่ดนิ ของ
รัฐที่อาจอนุญาตให้ ชุมชนได้ รับสิทธิในการจัดการ
กาหนดระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการในการตรวจสอบและ
พิจารณาความเหมาะสมของชุมชนที่อาจอนุญาตให้ ได้ รับสิทธิใน
การจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
อานาจหน้ าที่ (ต่ อ)
พิจารณาเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ ความเห็นชอบในการอนุญาต
ให้ ชุมชนได้ รับสิทธิในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร หรือการ
เพิกถอนสิทธิ
กาหนดระเบียบเกี่ยวกับกองทุนที่ดนิ ชุมชน การจัดสรรเงินให้ แก่
กองทุน การชาระบัญชี และส่ งเสริมและสนับสนุนชุมชน
ติดตามการปฏิบัตงิ านของหน่ วยงานของรัฐ เพื่อให้ เป็ นไปตาม
นโยบาย เป้าหมาย และมาตรการ วินิจฉัยปั ญหาที่เกิดขึน้
สานักงานสิทธิชุมชน
ในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
ให้ จัดตัง้ สานักงานสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
ขึน้ ในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นส่ วน
ราชการเทียบเท่ ากรม
มีอานาจหน้ าที่ในงานธุรการของคณะกรรมการ รับคาขอในการ
จัดการที่ดนิ และทรัพยากรของชุมชน ตรวจสอบคาขอ
ประสานงานกับหน่ วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้ องและชุมชน รายงาน
คณะกรรมการเกี่ยวกับผลการดาเนินงานของชุมชนและปั ญหา
จัดให้ มีฐานข้ อมูลชุมชนและที่ดนิ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล
ให้ ความรู้ความเข้ าใจแก่ สาธารณชน
ที่ดนิ ที่อาจอนุญาตให้ ชุมชนได้ รับสิทธิ
ที่ดนิ ที่คณะกรรมการอาจอนุญาตให้ ชุมชนได้ รับสิทธิในการ
จัดการที่ดนิ และทรัพยากร ต้ องเป็ นที่ดนิ ของรัฐซึ่งชุมชนได้ เข้ า
ครอบครองมาก่ อนวันที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ หรือตาม
ระยะเวลาหลักเกณฑ์ ท่ คี ณะกรรมการประกาศกาหนดเป็ นราย
กรณี เนื่องจากมีเหตุผลความจาเป็ นอย่ างยิ่ง
คุณสมบัตขิ องชุมชนที่ย่ นื คาขอ
มีการรวมตัวกันเป็ นชุมชนก่ อนวันที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
หรือตามระยะเวลาที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
มีคณะกรรมการชุมชนคณะหนึ่งกระทาการแทนในนามของ
ชุมชน จานวนอย่ างน้ อยเจ็ดคน มีความเข้ มแข็งและมีศักยภาพ
คณะกรรมการอาจกาหนดคุณสมบัตขิ องชุมชนที่สามารถยื่นคา
ขอรับสิทธิในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากรให้ แตกต่ างไป โดย
คานึงถึงสภาพพืน้ ที่ ประเพณี วัฒนธรรมของแต่ ละพืน้ ที่ และ
ประโยชน์ ท่ จี ะได้ รับในการที่ให้ ชุมชนจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
แบบคาขอและการยื่น
กาหนดให้ ย่ นื คาขอที่สานักงาน
องค์ ประกอบของคาขอต้ องมีข้อกาหนดหรือระเบียบของชุมชน
แนบมาด้ วยและเมื่อได้ รับอนุมัตใิ ห้ ดาเนินการโฉนดชุมชนแล้ ว
ถือว่ าระเบียบดังกล่ าวมีผลในทางกฎหมาย หากแก้ ไขต้ องเสนอ
แก้ ไขต่ อคณะกรรมการ
การตรวจสอบคาขอ
และส่ งให้ หน่ วยงานรับผิดชอบ
สานักงาน หรืออนุกรรมการจาก 3 ฝ่ าย ภาครัฐ ท้ องถิ่น และภาค
ประชาชน ร่ วมกันตรวจสอบทาความเห็น
คณะกรรมการเป็ นผู้กาหนดระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการใน
การตรวจสอบและให้ นาเสนอคณะกรรมการ
เมื่อคณะกรรมการมีมติเห็นชอบแล้ วให้ นาเสนอคณะรัฐมนตรี
เพื่อให้ ความเห็นชอบในการอนุญาตตามพระราชบัญญัตนิ ี ้
ให้ หน่ วยงานของรัฐที่ทาหน้ าที่รับผิดชอบดูแลที่ดนิ นัน้ กันแนวเขต
ที่ดนิ ร่ วมกับชุมชนตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติ
ชุมชนที่อยู่ระหว่ างการขอรับสิทธิ
ในกรณีท่ คี ณะกรรมการมีมติเห็นชอบให้ ชุมชนใดได้ รับสิทธิใน
การจัดการที่ดนิ และทรัพยากรแล้ ว ให้ ถือว่ าที่ดนิ และชุมชนนัน้
อยู่ระหว่ างการขอรับสิทธิในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร ให้
หน่ วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้ องยุตกิ ารจับกุมดาเนินคดีท่ เี กี่ยวกับ
ที่ดนิ ในพืน้ ที่นัน้ โดยมิให้ ถือว่ าเป็ นการละเว้ นการปฏิบัตติ าม
กฎหมายที่เกี่ยวข้ อง
สถานะของชุมชนที่ได้ รับสิทธิ
เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ ความเห็นชอบในการอนุญาตให้ ชุมชนใด
ได้ รับสิทธิในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากรแล้ ว ให้ ถือว่ าชุมชน
นัน้ มีสถานะเป็ นนิตบิ ุคคลตามพระราชบัญญัตนิ ี ้
ข้ อกาหนดหรือระเบียบของชุมชนที่ย่ นื คาขอไว้ นัน้ สามารถบังคับ
ใช้ ได้ ตามพระราชบัญญัตนิ ี ้ หากจะเปลี่ยนแปลงข้ อกาหนดหรือ
ระเบียบของชุมชนต้ องเสนอต่ อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาให้
ความเห็นชอบ
หนังสืออนุญาต
เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ ความเห็นชอบในการอนุญาตรับรองให้
ชุมชนได้ รับสิทธิในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากรแล้ ว ให้
สานักงานร่ วมกับหน่ วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้ องออกหนังสือ
อนุญาตรับรองให้ ชุมชนพร้ อมข้ อตกลงที่เป็ นเงื่อนไขในการ
อนุญาต
การอนุญาตให้ ชุมชนได้ รับสิทธิในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
แต่ ละครัง้ ให้ เป็ นไปตามที่คณะกรรมการกาหนด ซึ่งต้ องไม่ น้อย
กว่ า 5 ปี และไม่ เกิน 30 ปี
อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการชุมชน
จัดทาหรือปรับปรุ งข้ อกาหนดหรือระเบียบของชุมชน จัดสรร
ที่ดนิ ให้ แก่ สมาชิกในชุมชน จัดทาและปรับปรุ งระบบข้ อมูลและ
แผนที่ขอบเขต กาหนดแผนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรมของชุมชน แผนการใช้ ประโยชน์ ในที่ดนิ และการ
จัดการระบบการผลิต แผนการอนุรักษ์ การดูแลรักษา และการ
ใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติท่ ยี ่ ังยืน จัดตัง้ กองทุนที่ดนิ
ของชุมชน เป็ นต้ น
ค่ าตอบแทนชุมชน
ชุมชนที่ช่วยเหลือ สนับสนุนหน่ วยงานของรัฐในการอนุรักษ์ ดูแล
รักษาทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนสอดส่ องดูแลและแจ้ งเหตุแก่
หน่ วยงานของรัฐเมื่อพบภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ การบุกรุกหรือ
การทาลายทรัพยากรธรรมชาติหรือทรัพย์ สินของทางราชการใน
บริเวณพืน้ ที่ท่ ชี ุมชนรับผิดชอบหรือพืน้ ที่ใกล้ เคียง อาจมีสิทธิ
ได้ รับค่ าตอบแทนที่หน่ วยงานของรัฐจัดสรรให้ ตามหลักเกณฑ์
วิธีการที่คณะกรรมการกาหนด
สิทธิและหน้ าที่ของสมาชิก
สมาชิกของชุมชนที่ได้ รับการจัดสรรที่ดนิ จะต้ องใช้ ประโยชน์ ท่ดี นิ
ตามขอบเขตที่ได้ รับอนุญาตและข้ อกาหนดหรือระเบียบของ
ชุมชน ห้ ามมิให้ แบ่ งแยกหรือโอนสิทธิไปยังผู้อ่ นื ยกเว้ นการตก
ทอดทางมรดกแก่ ทายาทโดยธรรม
หากสมาชิกไม่ ประสงค์ ท่ จี ะใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ ที่ได้ รับการจัดสรร
อาจสละสิทธิในที่ดนิ และรับค่ าชดเชยตามหลักเกณฑ์ วิธกี ารที่
คณะกรรมการชุมชนกาหนดและให้ ท่ ดี นิ นัน้ ตกกลับไปยังชุมชน
เพื่อจัดสรรให้ แก่ ผ้ ูท่ เี ป็ นสมาชิกรายอื่นที่มีความต้ องการ
การขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน
คณะกรรมการอาจเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ มีมติรับรองให้
สถาบันการเงินของรัฐรับสิทธิในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
ของชุมชนใดชุมชนหนึ่งเป็ นหลักประกันสินเชื่อได้
หากสมาชิกของชุมชนนัน้ รายใด ผิดเงื่อนไขในการชาระหนี ้
คณะกรรมการชุมชนจะต้ องดาเนินการเพื่อให้ มีการชาระหนี ้ แต่
หากไม่ สามารถทาให้ สมาชิกของชุมชนรายดังกล่ าวชาระหนีไ้ ด้
อาจเพิกถอนสิทธิในการใช้ ประโยชน์ ในที่ดนิ รายนัน้ และจัดสรร
ให้ แก่ ผ้ ูท่ เี ป็ นสมาชิกของชุมชนรายอื่น และให้ สมาชิกผู้ได้ รับสิทธิ
แทนที่นัน้ เป็ นผู้รับภาระหนีท้ ่ คี งค้ าง
การต่ ออายุการอนุญาต
ก่ อนครบกาหนดระยะเวลาที่ชุมชนได้ รับสิทธิอย่ างน้ อยเก้ าสิบวัน
ให้ ชุมชนยื่นคาขอต่ อสานักงานเพื่อเสนอคณะกรรมการพิจารณา
ให้ ความเห็นชอบในการอนุญาตให้ ชุมชนได้ รับสิทธิในการจัดการ
ที่ดนิ และทรัพยากรต่ อไป
ชุมชนที่มีประวัตกิ ารจัดการที่ดนิ และทรัพยากรดี คณะกรรมการ
อาจกาหนดหลักเกณฑ์ ในการได้ รับสิทธิในการจัดการที่ดนิ และ
ทรัพยากรต่ อไปโดยให้ สานักงานรายงานคณะกรรมการเพื่อ
ทราบ
กองทุนที่ดนิ ชุมชน
ชุมชนที่ได้ รับสิทธิในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากรอาจจัดตัง้
กองทุนที่ดนิ ของชุมชนขึน้ กองทุนหนึ่ง เรียกชื่อว่ า “กองทุนที่ดนิ
ชุมชน (ต่ อท้ ายด้ วยชื่อชุมชน)” ให้ คณะกรรมการชุมชนเป็ น
คณะกรรมการกองทุนที่ดนิ ชุมชนที่จัดตัง้ ขึน้ โดยมีผ้แู ทนของ
หน่ วยงานของรัฐที่ทาหน้ าที่รับผิดชอบดูแลที่ดนิ นัน้ และผู้แทน
ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นที่ท่ ดี นิ นัน้ ตัง้ อยู่ฝ่ายละหนึ่งคน
ร่ วมเป็ นกรรมการ
วัตถุประสงค์ และที่มาของเงินกองทุน
เป็ นแหล่ งเงินทุนหมุนเวียนสาหรับการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร
ที่ชุมชนที่ได้ รับสิทธิ ให้ ก้ ูยืมสาหรับสมาชิกของชุมชน รับฝากเงิน
จากสมาชิกของชุมชน และจ่ ายค่ าชดเชย
เงินที่คณะกรรมการจัดสรรให้ เงินอุดหนุนจากองค์ กรปกครอง
ส่ วนท้ องถิ่น และเงินออมของสมาชิกของชุมชนที่ได้ รับการ
จัดสรรที่ดนิ เพื่อใช้ ประโยชน์ ในสัดส่ วนที่ใกล้ เคียงกัน เงิน
อุดหนุนจากรัฐบาล เงินรับบริจาคโดยไม่ มีเงื่อนไขหรือข้ อผูกพัน
และดอกผลของกองทุน
การเพิกถอนสิทธิชุมชน
หากชุมชนที่ได้ รับสิทธิมีการกระทาขัดต่ อกฎหมาย หลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไข หรือข้ อตกลง ให้ สานักงานแจ้ งเตือนเป็ น
หนังสือเพื่อให้ ชุมชนปฏิบัตภิ ายในระยะเวลาที่กาหนด
ถ้ ายังไม่ ปฏิบัตใิ ห้ ถูกต้ องให้ สานักงานเสนอคณะกรรมการ
พิจาณา หากคณะกรรมการพิจารณาให้ เพิกถอนสิทธิ ให้
สานักงานแจ้ งเป็ นหนังสือแก่ ชุมชนให้ ออกจากที่ดนิ ของรัฐ และ
แจ้ งต่ อหน่ วยงานของรัฐที่ทาหน้ าที่รับผิดชอบดูแลที่ดนิ นัน้ เพื่อ
พิจารณาดาเนินการให้ ชุมชนออกจากที่ดนิ ของรัฐและรับที่ดนิ
แปลงดังกล่ าวไว้ ในความดูแลต่ อไป
พนักงานเจ้ าหน้ าที่
พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอานาจเข้ าไปตรวจสอบชุมชนที่ได้ รับสิทธิใน
การจัดการที่ดนิ และทรัพยากรในที่ดนิ ของรัฐและสมาชิกของ
ชุมชน ในระหว่ างเวลาพระอาทิตย์ ขึน้ ถึงพระอาทิตย์ ตกหรือใน
ระหว่ างเวลาทาการ และให้ คณะกรรมการชุมชนหรือสมาชิกของ
ชุมชนอานวยความสะดวกตามสมควร
ในการปฏิบัตกิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ี ้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่เป็ น
เจ้ าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
บทกาหนดโทษ
ผู้ใดแจ้ งข้ อความอันเป็ นเท็จต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามมาตรา
๑๙ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหกเดือน หรือปรับไม่ เกินหนึ่ง
หมื่นบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
สมาชิกของชุมชนที่ได้ รับการจัดสรรที่ดนิ จากคณะกรรมการ
ชุมชน หากจาหน่ าย จ่ าย โอน ให้ เช่ า ให้ เช่ าซือ้ ให้ ผ้ อู ่ นื ใช้
ประโยชน์ ท่ ดี นิ โดยมีค่าตอบแทนหรือไม่ ก็ตาม หรือมีการ
ครอบครองที่ดนิ เพิ่มเติมจากที่ได้ รับจัดสรรโดยมิได้ รับอนุญาต
ต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสองปี หรือปรับไม่ เกินห้ าหมื่นบาท
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
บทกาหนดโทษ
ผู้ใดซือ้ รับโอน เช่ า เช่ าซือ้ หรือใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ โดยจ่ าย
ค่ าตอบแทนหรือไม่ ก็ตาม โดยไม่ มีสิทธิในที่ดนิ ที่ชุมชนได้ รับสิทธิ
ในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร ผู้นัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่
เกินสี่ปี หรือปรับไม่ เกินหนึ่งแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
บทเฉพาะกาล
ในระหว่ างที่ยังมิได้ มีการแต่ งตัง้ คณะกรรมการ ให้ คณะกรรมการ
ประสานงานเพื่อจัดให้ มีโฉนดชุมชน ตามระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการจัดให้ มีโฉนดชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๓ และ
ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555 ปฏิบัตหิ น้ าที่ไปพลางก่ อน ทัง้ นี ้ ไม่ เกินหนึ่ง
ปี นับแต่ วันที่พระราชบัญญัตนิ ีม้ ีผลใช้ บังคับ
ในระหว่ างที่ยังมิได้ มีการจัดตัง้ สานักงานสิทธิชุมชนในการจัดการ
ที่ดนิ และทรัพยากร ให้ สานักงานโฉนดชุมชน สานักงานปลัด
สานักนายกรัฐมนตรี ปฏิบัตหิ น้ าที่ไปพลางก่ อน ทัง้ นี ้ ไม่ เกินหนึ่ง
ปี นับแต่ วันที่พระราชบัญญัตนิ ีม้ ีผลใช้ บังคับ
เพื่อให้ การปฏิบัตงิ านของสานักงานสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดนิ
และทรัพยากรดาเนินการไปได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ
นายกรัฐมนตรีโดยอนุมัตขิ องคณะรัฐมนตรีอาจกาหนดให้ ส่วน
ราชการที่เกี่ยวข้ องกับการบริหารจัดการที่ดนิ สนับสนุน
ข้ าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้ างมาช่ วยปฏิบัตงิ านในสานักงาน
สิทธิชุมชนในการจัดการที่ดนิ และทรัพยากร ไปพลางก่ อนเป็ น
การชั่วคราว โดยให้ รับเงินเดือนทางสังกัดเดิม แต่ อยู่ในบังคับ
บัญชาของเลขาธิการสานักงานสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดนิ และ
ทรัพยากร
คาถามและข้ อเสนอแนะ
จบการนาเสนอ
ขอบคุณครั บ
ประยงค์ ดอกลาใย
E-mail [email protected]
โทร 053-810623 Fax 053-810780
มือถือ 081-8813270