ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาการทุจริตในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

Download Report

Transcript ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาการทุจริตในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาการทุจริตใน
องค์ การปกครองส่ วนท้ องถิน่
เสนอ
อาจารย์ ณภัทร รัตนมา
การทุจริ ต (Corruption) หมายถึง การกระทาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย อัน
เป็ นการกระทาที่ชวั่ ช้าและฉ้อโกง โดยเจตนาที่จะหลีกเลี่ยงกฎหมาย รวมทั้ง
การกระทาที่ขดั ต่อตาแหน่งหน้าที่และสิ ทธิของผูอ้ ื่น นอกจากนี้ยงั หมาย
รวมถึงการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งประชาชนไว้วางใจกระทาผิดต่อตาแหน่ง
หน้าที่ราชการ โดยการรับหรื อยอมรับประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น
การทุจริ ต (Corruption) หมายถึง การทาลาย การละเมิดกฎหมายและ
จริ ยธรรมรวมถึงการละเว้น การปฏิบตั ิหน้าที่ที่จะต้องกระทา
การทุจริ ตหรื อการฉ้อราษฎร์บงั หลวง (Corruption) หมายถึง การผูกขาด
อานาจ หรื อรวมอานาจไว้ ที่แหล่งเดียวประกอบกับการตัดสิ นใจที่ข้ ึนอยูก่ บั
การใช้ดุลพินิจของผูม้ ีอานาจคนๆนั้นเป็ นสาคัญ ดังนั้นหากที่ใดมีมูลค่ารวม
ของการผูกขาดและมีการเปิ ดโอกาสให้ใช้ดุลยพินิจมากกว่าความรับผิดชอบ
หรื อการตรวจสอบได้ เสี ยแล้ว ก็มีโอกาสที่จะเกิดการฉ้อราษฎร์บงั หลวงได้
มาก
ความประพฤติมิชอบในวงราชการ หมายถึง การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบตั ิ
หรื อละเว้นไม่ปฏิบตั ิการอย่างใดในตาแหน่งหรื อหน้าที่ หรื อใช้อานาจใน
ตาแหน่งหรื อหน้าที่อนั เป็ นการฝ่ าฝื นกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาสัง่ มติของ
คณะรัฐมนตรี อย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งมุ่งหมายจะควบคุมดูแลการรับ การเก็บรักษา
หรื อการใช้เงินหรื อทรัพย์สินของแผ่นดิน ไม่วา่ การปฏิบตั ิหรื อละเว้นไม่ปฏิบตั ิ
นั้นเป็ นการทุจริ ตในวงราชการด้วยหรื อไม่กต็ าม และให้ความหมายถึงการ
ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ดงั กล่าวด้วย
การทุจริ ตต่อหน้าที่ หมายความว่า ปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิอย่างใดใน
ตาแหน่งหรื อหน้าที่ หรื อปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิอย่างใดในพฤติการณ์ที่
อาจทาให้ผอู ้ ื่นเชื่อว่ามีตาแหน่งหรื อหน้าที่ ทั้งที่ตนมิได้มีตาแหน่ง หรื อหน้าที่
นั้น หรื อใช้อานาจในตาแหน่งหรื อหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ที่มิควรได้โดย
ชอบ สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น
การคอรัปชัน่ นั้นเกิดขึ้นได้ในหลายรู ปแบบหลายลักษณะได้แก่
1. การเสนอโครงการหรื อเลือกโครงการที่ไม่ให้ผลตอบแทนทาง
เศรษฐกิจมากนัก แต่มีโอกาสที่จะได้เงินใต้โต๊ะมากกว่า
2. การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ต่ากว่ามาตรฐานหรื อราคาสู งกว่าความเป็ น
จริ ง
3. การจ่ายเงิน
ให้กบั เจ้าหน้าที่เพื่อให้มีการยกเว้นกฎระเบียบที่เกี่ยวกับการบังคับใช้
กฎหมาย
4. การจ่ายเงินให้กบั เจ้าหน้าที่เพื่อให้มีโอกาสในการผูกขาดการ
ให้บริ การสาธารณะบางอย่างบางประการ
5. การยักยอกทรัพย์สินของรัฐไปเป็ นของตนเอง
6. การซื้อขายตาแหน่งหรื อการกระทาที่มีผลกระทบต่อระบบคุณธรรม
ของราชการ
รู ปแบบของการทุจริ ตคอรัปชัน่ รวมทั้งผลประโยชน์ทบั ซ้อนในปัจจุบนั
ปัญหาการทุจริ ตคอรัปชัน่ ในประเทศไทยทั้งแบบเก่าและแบบใหม่
ส่ วนใหญ่เกิดมาจากโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองที่มีลกั ษณะผูกขาด
อานาจอยูใ่ นมือคนกลุ่มน้อยที่มีท้ งั ทุนความรู ้ อานาจทางการเมือง อานาจ
ในการครอบงาข้อมูลข่าวสาร ขณะที่ประชาชนส่ วนใหญ่ยากจน
การศึกษาต่า การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่า อยูอ่ ย่างกระจัดกระจาย มีการ
รวมตัวกันน้อย รวมทั้งประเทศไทยมีวฒั นธรรมแบบเล่นพรรคเล่นพวก
เป็ นผูช้ อบอยูใ่ ต้ความอุปถัมภ์ หวังพึงพาคนที่รวยกว่า หรื อมีอานาจ
มากกว่าที่ให้มาช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเป็ นเรื่ องๆ ให้กบั ตนได้ มากกว่า
ที่จะเข้าใจเรื่ องสิ ทธิหน้าที่ของพลเมืองและความเป็ นธรรมในระบอบ
ประชาธิปไตยที่ประชาชนมีส่วนร่ วมอย่างแท้จริ ง การแสวงหา
ผลประโยชน์ของผูม้ ีอานาจหากรู ้จกั แบ่งให้ผอู ้ ยูใ่ ห้อุปถัมภ์ดว้ ยมักถูกถือ
ว่าเป็ นเรื่ องปกติ
รู ปแบบของการทุจริ ตคอรัปชัน่ รวมทั้งผลประโยชน์ทบั ซ้อนในปั จจุบนั มีอย่างน้อย
ที่สุด 15 แบบ คือ
1. การแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ เช่น การผูกขาด การให้สัมปทาน และการเรี ยกเก็บ
ส่ วนแบ่งอย่างผิดกฎหมาย โดยการสร้างการขาดแคลนเทียม เช่น ปั ญหาการขาดแคลน
น้ าตาล
2. เครพโตเครซี (Kleptocracy ) เป็ นการฉกฉวยทรัพยากรของรัฐมาเป็ นของครอบครัว
และอาจกระทาโดยการแปรรู ปรัฐวิสาหกิจ
3. การมีผลประโยชน์ทบั ซ้อน สถานการณ์ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีผลได้ผลเสี ยส่ วนตัว
และผลดังกล่าวมีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจ หรื อการกระทาหน้าที่โดยขาดความเที่ยง
ธรรม
4. การใช้อิทธิพลทางการเมืองหาผลประโยชน์จากตลาดหลักทรัพย์ (ปั่ นราคาหุ น้
ตัวเอง)
5. ปกปิ ดการบริ หารงานที่ไม่ถกู ต้อง การปิ ดบังข้อมูลและให้การเท็จ เช่น การทุจริ ต
กรณี ลาไยและกล้ายาง
6. การใช้นโยบาย กฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆอย่างมีอคติและ
ลาเอียง (เช่น กรณี CTX และการตรวจสอบคุณภาพข้าว )
7. การใช้อิทธิพลทางการค้า แสดงบทบาทเป็ นนายหน้าหรื อมี
ผลประโยชน์ทบั ซ้อน จากกาค้าต่างตอบแทนการแลกเปลี่ยนสิ นค้าเกษตร
กับประเทศคู่คา้ เช่น การแลกไก่กบั เครื่ องบินรบของรัสเซีย
8. การใช้ทรัพยากรของรัฐไปในทางมิชอบ การปลอมแปลงเอกสาร การ
ฉ้อฉล การใช้กองทุนของรัฐ ไปเพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง เช่น การใช้
ธนาคารของรัฐในโครงการประชานิยม
9. ไม่กระทาการตามหน้าที่แบบตรงไปตรงมา แต่ใช้ลทั ธิพรรคพวกแทน
เช่น การจัดฮั้วประมูล
10. การให้และการรับสิ นบน การขู่เข็ญบังคับและการให้สิ่งล่อใจ
11. การยอมรับของขวัญที่ไม่ถูกต้อง เช่น เช็คของขวัญมูลค่าสู ง และ
สิ นบนมูลค่าสูง
12. ผูบ้ ริ หารประเทศทาตัวเป็ นผูอ้ ุปถัมภ์รายใหญ่ของประเทศ ด้วยการใช้
นโยบายประชานิยม (นักการเมืองให้เงินทอง หรื อสิ่ งของของรัฐ เพื่อ
แลกเปลี่ยนกับการได้รับการสนับสนุนจากประชาชน)
13. ใช้อานาจของตารวจ ทหาร และข้าราชการในทางที่ผดิ (ข่มขู่ คุกคาม
และทาร้ายให้เกิดความเกรงกลัวในการชุมนุมประท้วงนโยบายรัฐบาลและ
ในการเลือกตั้ง)
14. ทุจริ ตการเลือกตั้ง ทั้งการซื้อเสี ยงและการทุจริ ตด้วยวิธีการต่างๆ
15. การบริ จาคเพื่อช่วยเหลือการรณรงค์ที่ผดิ กฎหมาย (การบริ จาคให้แก่
นักการเมืองและพรรคการเมืองรัฐบาล เพื่อที่จะมีอิทธิพลต่อการกาหนด
นโยบายและการออกกฎหมายของรัฐบาล
การทุจริ ตในระบบราชการไทย
ปัจจัยที่เอื้ออานวยต่อการทุจริ ตของเจ้าหน้าที่ของรัฐใน
หน่วยงานราชการต่าง ๆ ได้แก่
1)
2)
ช่องว่างและข้อบกพร่ องของกฎหมาย
เจ้าหน้าที่ของรัฐยังขาดทัศนคติและค่านิยมที่ยดึ มัน่ ใน
ความซื่อสัตย์สุจริ ต และสังคมไทย มุ่งที่พฒั นาด้านวัตถุ
มากกว่าด้านจิตใจ
ปัจจัยทีท่ าให้ เกิดการทุจริตทั้งในด้ านระบบบริหารราชการ
และด้ านตัวบุคคลของข้ าราชการ
(1) การขาดความโปร่ งใสและขาดการตรวจสอบ
(2) การผูกขาด ในกรณี น้ ีเกี่ยวข้องกับการทาธุรกิจ
(3) การได้รับค่าตอบแทนการทางานที่ไม่เหมาะสม
(4) ความโลภ เนื่องจากความไม่รู้จกั พอ
(5) การขาดคุณธรรม
สาเหตุของปัญหาการทุจริ ตในระบบราชการ
1. ด้านเศรษฐกิจและการครองชีพ ได้แก่ งบประมาณรายจ่ายของรัฐเป็ นสิ่ งล่อใจ
และเจ้าหน้าที่ของรัฐรายได้ไม่เพียงพอเมื่อเทียบกับรายจ่าย
2. ด้านระบบบริ หารราชการ ได้แก่ ผูบ้ งั คับบัญชาบกพร่ องไม่กากับดูแลให้เป็ นไปตามระเบียบ
วินยั ทาให้เกิดการทุจริ ต และการขาดดุลแห่งอานาจในการบริ หารราชการส่ วนกลาง ส่ วน
ภูมิภาค และส่ วนท้องถิ่น ทาให้การ
ทุจริ ตในวงราชการได้ง่าย
3. ด้านสังคมวัฒนธรรมและศีลธรรม ได้แก่ เจ้าหน้าที่ของรัฐขาดธรรมประจาใจ เจ้าหน้าที่ของ
รัฐ ชั้นผูใ้ หญ่ทุจริ ตแล้วไม่ถูกจับจึงเป็ นตัวอย่างให้เจ้าหน้าที่ของรัฐชั้นผูน้ อ้ ยทาตาม
4. ด้านกฎหมายและวิธีพิจารณา ได้แก่ การลงโทษทางวินยั มีความยุง่ ยากในการหา
พยานหลักฐาน
มูลเหตุการทุจริต
การทุจริ ตในวงราชการมีมูลเหตุหลายประการ เช่น
1. เจ้าหน้าที่ขาดคุณธรรมและจริ ยธรรม
2. ขาดกลไกในการลงโทษและการบังคับใช้กฎหมาย
3. ขาดการตรวจสอบ และการควบคุม กากับ ดูแล
4. เจ้าหน้าที่ได้รับค่าตอบแทน/เงินเดือน ไม่พอกับการครองชีพ
และมีปัญหาทางเศรษฐกิจ หรื อ อบายมุข
5. สภาพการทางานเปิ ดโอกาส เอื้ออานวยต่อการกระทาทุจริ ต
กระบวนการปฏิบตั ิงานมีช่องโหว่
รูปแบบของการทุจริตทีพ่ บในสั งคมไทยมากที่สุด ได้แก่

1.การรับสินบน ของกานัล หรื อรางวัลต่าง ๆ
2.การซื ้อขายหรื อวิ่งเต้ นขอตาแหน่งในวงราชการ
3.การรับส่วยและการรี ดไถประชาชน
4.การทุจริตเชิงนโยบาย เช่น การทุจริตงบประมาณแผ่นดิน การ
ก่อสร้ างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ
5.การแต่งตังโยกย้
้
ายข้ าราชการ
6.การทุจริตในเรื่ องของเวลา เช่น การทางานแบบเช้ าชามเย็น
ชาม
สภาพปัญหาการทุจริตคอร์ รัปชั่นในประเทศไทย

การทุจริตคอร์ รัปชั่นเป็ นการทุจริตที่เรียกว่ า “การทุจริตเชิงนโยบาย”
ลักษณะของ “การทุจริ ตเชิงนโยบาย” นันเป็
้ นการกระทาที่มีความ
ซับซ้ อนอาศัยการกระทาหลายระดับ ซึง่ หากพิจารณาการกระทาเฉพาะเรื่ อง
เฉพาะส่วนอาจจะไม่เห็นว่าเป็ นการกระทาทุจริ ต หากแต่พิจารณาโดยรวมทัง้
หมดแล้ วจะทาให้ เห็นถึงลักษณะของการทุจริ ตเชิงนโยบายได้ กล่าวโดยสรุป
การทุจริ ตเชิงนโยบายมีลกั ษณะ ดังนี ้
- การดาเนินการส่วนใหญ่มกั อาศัยมติคณะรัฐมนตรี เป็ นฐานของการกระทา
- การกระทาในบางกรณีเป็ นการอาศัยอานาจสูงสุดของฝ่ ายบริหาร เช่น การตรา
พระราชกาหนดหรื อการอาศัยเสียงข้ างมากในสภาตรากฎหมาย
การทุจริตคอร์ รัปชั่นมักอาศัยเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐเป็ นเครื่องมือ
ในการกระทาการในเบือ้ งต้ น

โดยที่การทุจริ ตคอร์รัปชัน่ เป็ นการกระทาที่อาศัยความร่ วมมือหลาย
ฝ่ าย กล่าวคือ โดยอาศัยการกระทาร่ วมกันระหว่างฝ่ ายการเมือง เพือ่ ทาให้
การทุจริ ตคอร์รัปชัน่ มีฐานการกระทาที่ถูกต้อง
การทุจริตคอร์ รัปชั่นทีย่ ากทีจ่ ะค้ นหาการสั่ งการของผู้ทไี่ ด้ รับผลประโยชน์
โดยที่การทุจริ ตคอร์รัปชัน่ ต้องอาศัยความร่ วมมือจากหลายฝ่ ายในการ
กระทาการ เช่น ในระดับเจ้าหน้าที่ ระดับกรรมการ และระดับการเมือง การ
ที่ฝ่ายการเมืองเข้าไปครอบงาได้ท้ งั ฝ่ ายเจ้าหน้าที่และระดับกรรมการใน
กิจการเพื่อเอื้อประโยชน์ให้แก่ภาคเอกชน การทุจริ ตคอร์รัปชัน่ เช่นนี้จึงยาก
ที่จะเห็นการสัง่ การของผูท้ ี่ได้ประโยชน์จากการกระทานั้น
ปัญหาและแนวทางการแก้ ปัญหาการทุจริตในองค์ การ
ปกครองส่ วนท้ องถิ่น
ปั ญหาการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ เป็ นปั ญหาที่อยูค่ ู่กบั สังคมมนุษย์มาเป็ นเวลานาน
ไม่เว้นแม้แต่ประเทศที่พฒั นาแล้วหรื อกาลังพัฒนา จะมีความแตกต่างกันที่ความ
รุ นแรงของปั ญหาว่ามีมากน้อยเพียงใด การทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ได้ส่งผลให้
สังคมไทยเกิดปั ญหาความยากจน การกระจายรายได้ที่ไม่เป็ นธรรม มีความ
เหลื่อมล้ าในสังคม บัน่ ทอนความมัน่ คง ความสงบสุ ข และมีผลกระทบต่อ
กระบวนการพัฒนาประเทศในทุกระดับ ซึ่ งจากการจัดอันดับดัชนี ภาพลักษณ์
คอร์ รัปชัน่ ขององค์กรเพื่อความโปร่ งใสนานาชาติ (Transparency International)
พบว่าประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีปัญหาเรื่ องการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ เป็ นลาดับที่
61 ของโลก ซึ่ งอยูใ่ นลาดับต้นๆของเอเชีย และมีแนวโน้มจะทวีความรุ นแรงโดย
มีจานวนเม็ดเงินที่เกี่ยวข้องเพิ่มมากขึ้นและมีลกั ษณะการกระทาเป็ น
กระบวนการที่ซบั ซ้อนและยากแก่การติดตามตรวจสอบ หากไม่มีการแก้ไข
ปั ญหาดังกล่าวอย่างจริ งจังแล้ว การทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ จะกัดกร่ อนเศรษฐกิจ และ
สังคมไทยจนยากแก่การแก้ไขได้ในระยะยาว
วิธีการทุจริตคอร์ รัปชั่นในองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น

ทุจริตคอร์ รัปชั่นเกีย่ วกับการจัดซื้อจัดจ้ างในองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
วิธีการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ในองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเกี่ยวกับการจัดซื้ อจัด
จ้าง สามารถจาแนกเทคนิค และวิธีการที่ใช้ในการหลีกเลี่ยงระเบียบ กฎหมายที่
ใช้กนั ดังนี้
◦ การทุจริตในการพัสดุขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
แบ่งประเภทการจัดซื้ อจัดจ้างออกเป็ น 5 ประเภทด้ วยกัน คือ การจัดซื ้อโดย
การตกลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา วิธีพิเศษ
การตกลงราคา
การจัดซื้ อจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคาใช้สาหรับการจัดซื้ อจัดจ้างที่มีวงเงินไม่เกิน
100,000 บาท มักจะเป็ นการจัดซื้ อครุ ภณ
ั ฑ์ และงานก่อสร้างที่มีวงเงินค่าก่อสร้างไม่
มากนัก เช่น การถมลูกรัง การซ่อมแซมถนนคอนกรี ต
การสอบราคา
การจัดซื้ อโดยวิธีการสอบราคา เป็ นวิธีการที่ใช้ในการจัดซื้ อจัดจ้างที่มี
วงเงินตั้งแต่ 100,000 - 2,000,000 บาท เป็ นวิธีการจัดซื ้อที่องค์กรปกครองส่วน
ท้ องถิ่นใช้ กนั มากที่สดุ
การจัดซื้อโดยวิธีประกวดราคา
เป็ นวิธีการจัดซื้ อจัดจ้างที่มีวงเงินงบประมาณสู งกว่า 2,000,000 บาทขึ ้นไป
การจัดซื้อโดยวิธีพเิ ศษ
เป็ นการจัดซื้ อจัดจ้างที่มีเทคนิคซับซ้อน หรื อใช้วิธีสอบราคา ประกวดราคา
ไม่ได้ผล การทาการทุจริ ตสามารถจะกระทาได้ง่าย เนื่องจากสามารถจ้าง
ผูร้ ับเหมาหรื อผูข้ ายที่สามารถตกลงเรื่ องเงินทุจริ ตได้ง่าย คล้ายกับการตกลงราคา
ตัวอย่ างการทุจริตในองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
ตัวอย่างหนึ่งของกรณี น้ ีคือการจัดซื้อรถและเรื อดับเพลิงของ
กรุ งเทพมหานครมูลค่า 6,700 ล้านบาทซึ่งเป็ นปัญหาสะสมและ
เรื้ อรังมายาวนานจนถึงขณะนี้เรื่ องดังกล่าวก็ยงั ไม่เป็ นที่ยตุ ิเนื่องจาก
คณะกรรมการป.ป.ช.และสานักงานอัยการสูงสุ ดมีความเห็นที่
ขัดแย้งกันในเรื่ องเหตุผลทางคดีทาให้ป.ป.ช.ต้องเป็ นฝ่ ายฟ้ องศาล
ฎีกาแผนกคดีอาญานักการเมืองเองโดยใช้บริ การของสภา
ทนายความและไม่ให้สานักงานอัยการสูงสุ ดเป็ นผูฟ้ ้ อง
ผลกระทบของการทุจริตคอรัปชั่น

1. คอร์รัปชัน่ บ่อนทาลายและเซาะกร่ อนพื้นฐานศีลธรรมของทุกสังคม
2. คอร์รัปชัน่ รุ กล้ าสิ ทธิทางสังคมและเศรษฐกิจของคนยากจนและอ่อนแอ
3. คอร์รัปชัน่ ทาให้ประชาธิปไตยอ่อนแอ
4. คอร์รัปชัน่ บ่อนทาลายกฎกติกา กฎหมาย ซึ่งเป็ นพื้นฐานของทุกสังคม
5. คอร์รัปชัน่ หน่วงเหนี่ยวการพัฒนา
6. คอร์รัปชัน่ ทาให้สงั คม โดยเฉพาะอย่างยิง่ คนยากไร้และผูด้ อ้ ยโอกาส
ไม่ได้รับประโยชน์จากระบบเศรษฐกิจเสรี
7. อื่นๆอีกมากมาย
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิ
ชอบโดยบทบาทของภาคประชาชน
(1) ต้องมีความมุ่งมัน่ ตั้งใจที่จะอาสาเข้ามาทางานเพื่อประโยชน์ของบ้านเมืองจริ งๆ
(2) ต้องติดอาวุธทางปั ญญาให้กบั ตัวเองตลอดเวลา นัน่ คือต้องมีความรู ้ที่เกี่ยวข้องกับอานาจหน้าที่
ของป.ป.ช.ภาคประชาชน และต้องแสวงหาความรู ้ให้เท่าทันเทคนิคกลโกง การทุจริ ตคอรัปชัน่
ด้วยวิธีการต่างๆ
(3) ต้องสร้างการมีส่วนร่ วมของประชาชนในรู ปแบบต่างๆ
(4) การเฝ้ าระวังพื้นที่ที่เห็นว่าสุ่ มเสี่ ยงต่อการแสวงหาผลประโยชน์
(5) ดาเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อรณรงค์ต่อต้านการทุจริ ตอย่างต่อเนื่องในชุมชน หมู่บา้ นตาบล และใน
ทุกภาคส่ วนของสังคมโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสถานศึกษาทุกระดับ
(6) ส่ งเสริ มให้ประชาชนได้เข้าไปมีบทบาทในการป้ องกันการทุจริ ตการเลือกตั้งทุกระดับ ไม่วา่ ใน
ระดับชาติหรื อในระดับท้องถิ่นเพื่อการคัดกรองคนดี มีความรู ้ความสามารถ มีคุณธรรมเข้ามา
บริ หารประเทศ
(7) ส่ งเสริ มให้ประชาชนได้เข้าไปมีบทบาทในการป้ องกันการทุจริ ตการบริ หารงานของ
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นโดยการส่ งเสริ มให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าร่ วมประชุม
กาหนดนโยบายการบริ การสาธารณะให้เป็ นไปตามความต้องการของประชาชน
(8) จัดให้มีการแลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นและรับฟังข้อเสนอแนะของสาธารณะ
ชนเพื่อนามาแก้ไขปรับปรุ งการทางานของ ป.ป.ช.ภาคประชาชน ให้มีประสิ ทธิ ภาพ
มากยิง่ ขึ้น
(9) จัดให้มีกิจกรรมเผยแพร่ ชื่อเสี ยงเกียรติคุณยกย่องให้กาลังใจและช่วยกันรณรงค์
ปกป้ องคนที่ทาความดี มีความซื่ อสัตย์สุจริ ต มีคุณธรรมเพื่อให้เป็ นตัวอย่างที่ดีของ
สังคม
(10) หามาตรการรองรับการทางานและคุม้ ครองความปลอดภัยให้แก่ ป ป ช. ภาค
ประชาชน และเครื อข่าย
(11) ให้มีการประชาสัมพันธ์ผลงานของ ป.ป.ช.ภาคประชาชนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้
ประชาชนได้ทราบและรณรงค์ให้ประชาชนเข้าร่ วมกันเป็ นเครื อข่าย
มาตรการและกลไกส่ งเสริมการป้องกันการทุจริตในองค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิ่น
1. การส่ งเสริ มกลไกหน่วยงานภาครัฐและองค์กรอิสระให้มีประสิ ทธิภาพ
2. กลไกส่ งเสริ มสภาท้องถิ่นที่เข้มแข็ง
3. ส่ งเสริ มกลไกภาคประชาสังคม (ประชาคม) ให้มีส่วนร่ วมกับองค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่นอย่างแข็งขัน
4. ส่ งเสริ มกลไกสถาบันการศึกษา สถาบันพัฒนาข้าราชการ /บุคลากรท้องถิ่นและศูนย์
เรี ยนรู ้ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น เพื่อให้เป็ นสถานที่ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้แก่
บุคลากรขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น และภาคประชาสังคม
5. การส่ งเสริ มให้มีกลไก สื่ อและประชาสัมพันธ์ ในองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
6. เสริ มสร้างกลไกภาคีเครื อข่ายความร่ วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและ
ภาคีส่วนอื่นๆ
7. องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นต้นแบบ
แนวทางการแจ้ งเหตุการณ์ ทุจริต
ร้องเรี ยน กล่าวหา หรื อแจ้งเบาะแส ข้อมูลการทุจริ ตใน
ภาครัฐ ได้ที่ CALLvCENTER หมายเลขโทรศัพท์ ๑๑๑๑ หรื อ
ไปรษณี ยต์ ู ้ ปณ. ๓๖๘ ปณจ. หลักสี่ กทม. ๑๐๒๑๐ และที่
สานักงาน ป.ป.ท. อาคารซอฟแวร์ปาร์ค ถนนแจ้งวัฒนะ ปาก
เกร็ ด นนทบุรี หรื อทาง www.pacc.go.th ( แผนปฏิบตั ิงาน
ป้ องกันการทุจริ ตและคอร์รัปชัน่ ภายใต้หน่วยงาน “ ป.ป.ท. ” )
ความผิดของผู้ทกี่ ระทาการทุจริต
ผูท้ ี่ทาความผิดจะต้องได้รับโทษอาญา เช่น มีความผิดตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 147 และมาตรา 157 ดังนี้

มาตรา 147 บัญญัติวา่ “ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าทีซ่ ื้อ ทา จัดการหรือ
รักษาทรัพย์ ใด เบียดบังทรัพย์ น้ันเป็ นของตน หรือเป็ นของผู้อนื่ โดยทุจริต
หรือโดยทุจริตยอมให้ ผู้อนื่ เอาทรัพย์ น้ันเสี ย ต้ องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ ห้าปี
ถึงยีส่ ิ บปี หรือจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่ สองพันบาทถึงสี่ หมื่นบาท”

มาตรา 157 บัญญัติว่า “ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน ปฏิบตั หิ รือละเว้ นการปฏิบัติ
หน้ าทีโ่ ดยมิชอบ เพือ่ ให้ เกิดความเสี ยหายแก่ ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบตั ิหรือละ
เว้ นการปฏิบตั หิ น้ าทีโ่ ดยทุจริต ต้ องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ หนึ่งปี ถึงสิ บปี
หรือปรับตั้งแต่ สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ”
ความผิดวินยั ฐานทุจริ ตต่อหน้าที่ราชการ คณะรัฐมนตรี ได้มีมติควรให้
ลงโทษไล่ออกจากราชการ ซึ่งจะมีผลทาให้ผถู ้ ูกลงโทษไม่มีสิทธิ ได้รับเงิน
บาเหน็จบานาญ
ข้ ออัญเชิญพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว ดังนี้
“ถ้ าทุจริ ตแม้ แต่นิดเดียว ก็ขอแช่งให้ มีอนั เป็ นไป พูดอย่างนี ้หยาบคาย แต่
ว่าขอให้ มีอนั เป็ นไป แต่ถ้าไม่ทจุ ริ ต สุจริ ต และมีความตังใจ
้ มุ่งมัน่ สร้ างความ
เจริ ญก็ขอให้ ตอ่ อายุได้ ถึง 100 ปี ส่วนคนไหนที่มีอายุมากแล้ ว ขอให้ แข็งแรง
ความสุจริ ตจะทาให้ ประเทศไทยรอดพ้ นอันตราย ภายใน 10 ปี เมืองไทย
น่าจะเจริ ญ ข้ อสาคัญ คือ ต้ องหยุดการทุจริ ตให้ สาเร็ จ และไม่ทจุ ริ ตเสียเอง”
สรุป
ปัญหาการทุจริ ตคอรัปชัน่ ไม่สามารถอาศัยเพียงกระบวนการวิธี
ของ "ระบบราชการ" ในการแก้ไขปัญหาเท่านั้น หากแต่ตอ้ งอาศัยการ
แก้ไขปัญหาอย่างเป็ นองค์รวมมากกว่าการดาเนินการอย่างแยกส่ วน
และต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องมากกว่าการดาเนินการเป็ นครั้งคราว
และที่สาคัญต้องได้รับความร่ วมมือจากทุกภาคส่ วนของสังคม กล่าวคือ
การต่อต้านการทุจริ ต คอรัปชัน่ จะดาเนินการสาเร็ จไม่ได้ ถ้าประชาชน
ไม่สนับสนุน เนื่องจากการทุจริ ตคอรัปชัน่ ได้ฝังรากลึกลงในสังคมไทย
มานานดังกล่าวแล้ว ดังนั้นจึงต้องใช้พลังจากมวลชน / พลังสังคม เข้า
มาผลักดันกันอย่างจริ งจัง และที่สาคัญยิง่ อีกประการหนึ่ง ก็คือ
ผูบ้ งั คับบัญชาจะต้องทาตนเป็ นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผใู ้ ต้บงั คับบัญชา
จบการนาเสนอ
จัดทาโดย
นายมูฮมั หมัด ดอเล๊าะ
 นายยูไฮรี วาเด็ง
 นายมะรอปานี ลาดอ
 นายมูฮมั หมัด โละซิ
 นายอับดุลเล๊าะห์ สะมะแอ
 นายอุสมาน ดาโต๊ะ

รหัส 5220710054
รหัส 5220710057
รหัส 5220710140
รหัส 5220710145
รหัส 5220710178
รหัส 5220710191