การป้องกันการทุจริต โดย นายภูมิวัฒน์ รัตนพล ผอ.สำนักปราบปรามการทุจริต

Download Report

Transcript การป้องกันการทุจริต โดย นายภูมิวัฒน์ รัตนพล ผอ.สำนักปราบปรามการทุจริต

Slide 1

การป้องกันการท ุจริต
โดย
นายภ ูมิวฒ
ั น์ รัตนผล
ผูอ้ านวยการสานักปราบปราม
การท ุจริตภาครัฐ


Slide 2

สาระสาคัญ
1. สถานการณ์การท ุจริตในสังคมไทย
2. สาเหต ุของการท ุจริต

3. ผลกระทบของการท ุจริต
4. รูปแบบการท ุจริต

5. การป้องกันการท ุจริต
6. การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการป้องกันการท ุจริต
7. ปัญหาและแนวทางแก้ไข


Slide 3

1. สถานการณ์การท ุจริตในสังคมไทย
1.1 องค์กรนานาชาติมองสถานการณ์การท ุจริต
ในสังคมไทย อย่างไร
องค์ กรเพือ่ ความโปร่ งใสนานาชาติ หรือ Transparancy International
Organization ทาดัชนีชี้วัด ค่ าการคอร์ รัปชัน (Corruption Perception Index
หรื อ CPI) เพื่อจั ด ล าดับ ความโปร่ ง ใสเกี่ย วกับ คอร์ รัป ชั น ของประเทศต่ า ง ๆ
ทัว่ โลก (รวมทั้งประเทศไทย) ปี 2549 มี 159 ประเทศ


Slide 4

ตารางที่ 1
สาหรับประเทศไทย มีดชั นีช้ ีวดั ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2538 – 2549 รวม 12 ปี มีดงั นี้
ปี พ.ศ.

จานวนประเทศที่สารวจ

อันดับของประเทศ

คะแนนความโปร่งใส
(เต็ม 10 คะแนน)

หมายเหต ุ

2538

41

34

2.7

-

2539

54

37

3.3

เพิม่ 0.5

2540

52

39

3.0

ลด 0.2

2541

85

61

3.0

ลด 0.06

2542

98

68

3.2

เพิม่ 0.2

2543

90

60

3.2

คงที่

2544

91

61

3.2

คงที่

2545

102

64

3.2

คงที่

2546

133

70

3.3

เพิม่ 0.1

2547

164

64

3.6

เพิม่ 0.3

2548

159

59

3.8

เพิม่ .2

2549

163

63

3.6

ลดลง 0.2


Slide 5

ตารางที่ 2
ภาพลักษณ์คอร์รปั ชันของไทยในปี 2549 เปรียบเทียบกับประเทศอื่นในเอเชีย มีดงั นี้
อันดับใน
เอเชีย

อันดับประเทศ
ทัง้ หมด

ประเทศ

คะแนน

คะแนนเทียบกับปี
พ.ศ.2548

อันดับในเอเชีย
เทียบกับปี
พ.ศ.2548

1

5

สิงคโปร์

9.4

ไม่เปลี่ยนแปลง

ไม่เปลี่ยนแปลง

2

15

ฮ่องกง

8.3

ไม่เปลี่ยนแปลง

ไม่เปลี่ยนแปลง

3

21

ญี่ป่ นุ

7.6

เพิ่มขึ้น (7.3)

เปลี่ยนแปลง

4

26

มาเก๊า

6.6

ปีแรก

ปีแรก

5

32

ภ ูฎาน

6.0

ปีแรก

ปีแรก

6

34

ไต้หวัน

5.9

ไม่เปลี่ยนแปลง

ลดลง (32)

7

42

เกาหลีใต้

5.1

เพิ่มขึ้น (5.0)

ลดลง (40)

8

44

มาเลเซีย

5.0

ลดลง (5.1)

ลดลง (39)

9

63

ไทย

3.6

ลดลง (3.8)

ลดลง (59)

10

70

จีน

3.3

ลดลง (3.2)

ลดลง (78)


Slide 6

ตารางที่ 2 (ต่อ)
ภาพลักษณ์คอร์รปั ชันของไทยในปี 2548 เปรียบเทียบกับประเทศอื่นในเอเชีย มีดงั นี้
อันดับใน
เอเชีย

อันดับประเทศ
ทัง้ หมด

ประเทศ

คะแนน

คะแนนเทียบกับปี
พ.ศ.2547

อันดับในเอเชีย
เทียบกับปี
พ.ศ.2547

11

70

อินเดีย

3.3

เพิ่มขึ้น (2.9)

เพิ่มขึ้น (88)

12

84

ศรลังกา

3.1

เพิ่มขึ้น (3.2)

ลดลง (77)

13

111

ลาว

2.6

ลดลง (3.3)

ลดลง (77)

14

111

ติมอร์

2.6

ปีแรก

ปีแรก

15

121

เนปาล

2.5

ไม่เปลี่ยนแปลง

ลดลง (117)

16

121

ฟิลิปปินส์

2.5

ไม่เปลี่ยนแปลง

ลดลง (117)

17

130

อินโดนีเชีย

2.4

เพิ่มขึ้น (2.2)

เพิ่มขึ้น (137)

18

142

ปากีสถาน

2.2

เพิ่มขึ้น (2.1)

เพิ่มขึ้น (144)

19

151

กัมพูชา

2.1

ลดลง (2.3)

ลดลง (130)

20

156

บังกลาเทศ

2.0

เพิ่มขึ้น (1.7)

เพิ่มขึ้น (158)

21

160

พม่า

1.9

เพิ่มขึ้น (1.8)

ลดลง (155)


Slide 7

อันดับสถานการณ์ คอร์ รัปชันในเอเชีย พ.ศ. 2549
จากการศึกษาของบริษทั ที่ปรึกษาด้ านความเสี่ยงทางการเมืองและเศรษฐกิจ (เพิร์ก)
ประเทศ

2549

2548

อินโดนีเชีย

8.16

9.10

เวียดนาม

7.91

8.65

ฟิลิปปินส์

7.80

8.80

ไทย

7.64

7.20

จีน

7.58

7.68

อินเดีย

6.76

8.63

มาเลเซีย

6.13

6.80

ไต้หวัน

5.91

6.15

เกาหลีใต้

5.44

6.50

มาเก๊า

4.78

ไม่มี

ฮ่องกง

3.13

3.50

ญี่ ป่ นุ

3.01

3.46

สิงคโปร์

1.30

0.65

หมายเหตุ คะแนนเต็ม 10
คะแนนมาก แสดงว่ า คอร์ รัปชันมาก
คะแนนน้ อย แสดงว่ า คอร์ รัปชันน้ อย


Slide 8

3 ตัวเลขที่น่าสนใจเกีย่ วกับการทุจริตในภาครัฐ
สถิตกิ ารกล่าวหาร้ องเรียนเจ้ าหน้ าที่ของรัฐกระทาการทุจริตในภาครัฐ พ.ศ. 2543-2548 จาแนกตามกระทรวง
ที่

กระทรวงเทียบเท่า

ปี

ปี
2545

ปี
2546

ปี
2547

ปี
2548

รวม

2543

ปี
2544

1

สานักนายกรัฐมนตรี

22

40

41

67

24

24

218

2

กลาโหม

40

52

36

58

73

85

344

3

คลัง

111

82

83

145

130

120

671

4

ต่างประเทศ

2

5

0

3

0

0

10

5

การท่องเที่ยวและกีฬา

0

0

0

0

9

5

14

6

พัฒนาสังคมและ
ความมัน่ คงฯ

0

0

0

0

5

18

23

7

เกษตรและสหกรณ์

184

160

245

257

274

127

1,247

8

คมนาคม

121

143

157

210

151

125

907

9

ทบวงมหาวิทยาลัย

27

34

25

48

0

0

134

10

ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิงแวดล้อม

0

0

0

0

58

84

142

11

เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร

0

0

0

0

12

41

53


Slide 9

3 ตัวเลขทีน่ ่ าสนใจเกีย่ วกับการทุจริตในภาครั (ต่ อ)
สถิติการกล่ าวหาร้ องเรียนเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐกระทาการทุจริตในภาครัฐ พ.ศ. 2543-2548 จาแนกตามกระทรวง
ที่

กระทรวงเทียบเท่า

ปี 2543

ปี2544

ปี 2545

ปี 2546

ปี 2547

ปี 2548

รวม

12

พลังงาน

0

0

0

0

6

1

7

13

พาณิชย์

15

12

6

69

19

4

125

14

มหาดไทย

977

1,248

1,642

1,455

2,090

1,905

9,317

15

ย ุติธรรม

13

8

15

26

21

26

109

16

แรงงาน

20

22

37

27

12

12

130

17

วัฒนธรรม

0

0

0

0

13

15

28

18

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2

4

4

13

1

1

25

19

ศึกษาธิ การ

208

207

242

273

297

160

1,387

20

สาธารณส ุข

84

99

71

108

93

51

506

21

อ ุตสาหกรรม

10

19

33

18

22

7

109

22

ส่วนราชการไม่สงั กัด
กระทรวง

347

543

631

414

857

738

3,530

23

หน่วยงานอิสระตาม
รัฐธรรมนูญ

33

87

52

40

71

133

416

24

หน่วยงานอิสระ

3

4

0

0

0

1

8


Slide 10

การทุจริตใน อปท. (พ.ศ. 2543 - 2550)
เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐสั งกัด อปท. ถูกกล่าวหาว่ ากระทาการทุจริต รวม
ทั้งสิ้น 5,508 เรื่อง มีผู้ถูกกล่าวหา 9,467 ราย (ข้ อมูลจากสานักงาน
ป.ป.ช.)
ลาดับ 1 ได้ แก่ อบต.
3,235 เรื่อง ผู้ถูกกล่ าวหา 5,778 ราย
ลาดับ 2 ได้ แก่ เทศบาล
1,705 เรื่อง ผู้ถูกกล่ าวหา 2,766 ราย
ลาดับ 3 ได้ แก่ อบจ.
283 เรื่อง ผู้ถูกกล่ าวหา 441 ราย.
ลาดับ 4 ได้ แก่ กทม.
273 เรื่อง ผู้ถูกกล่ าวหา 442 ราย
ลาดับ 5 ได้ แก่ เมืองพัทยา
12 เรื่อง ผู้ถูกกล่ าวหา 40 ราย


Slide 11

1.2 ประชาชนมองสถานการณ์การท ุจริตในสังคมไทย อย่างไร
สภาที่ ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2547) ซึ่ ง
เป็ นองค์ก รตามรัฐธรรมนูญ องค์ก รหนึ่ ง ได้ศึ ก ษาสาเหต แุ ละ
ปั จจัย ที่ ก่ อ ให้เ กิ ด ปั ญหาคอร์ร ปั ชัน ในสัง คมไทย โดยส ารวจ
ความเห็นของผูน้ าภาคประชาชนท ุกจังหวัดๆละ 100 คน รวม
7,191 คน พบว่า


Slide 12

1.2.1 วิธีการและร ูปแบบคอร์รปั ชัน
รปู แบบ

ร้อยละ

1) รับสินบน

43.9

2) วิ่งเต้นขอตาแหน่งในราชการ

42.7

3) รับส่วย รีดไถประชาชน

40.9

4) คอร์รปั ชันเชิงนโยบาย

40.3

5) แต่งตัง้ โยกย้ายข้าราชการ

40.0

6) ท ุจริตเรื่องเวลาของข้าราชการ
(เช้าชามเย็นชาม)

36.1


Slide 13

1.2.2 การท ุจริตที่ประชาชนพบเห็น
มากที่ส ุด
จ้าง

ได้แก่ การฮัว้ การประมวลในการจัดซื้อจัด
ของทางราชการ (44.3 %)

ปานกลาง

ได้แก่
1. การเลือกตัง้ (44.2 %)
2. กินตามน้าหรือค่าน้าร้อน น้าชา (44.0

%)
3. นักการเมืองขาดค ุณธรรม (42.5 %)


Slide 14

1.2.3 กลมุ่ ผูก้ ระทาการท ุจริต
มากที่ส ุด

ข้าราชการ (47.8 %)

ปานกลาง

- พนักงานบริษทั เอกชน (43.1 %)
- พนักงานรัฐวิสาหกิจ (39.6 %)
- นักวิชาการ (34.0 %)

น้อยที่ส ุด

เกษตรกร (31.8 %)


Slide 15

1.2.4 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการกระทา
ท ุจริต
มากที่ส ุด

รองลงมา

สานักงานตารวจแห่งชาติ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(อบต. ,เทศบาล, อบจ.)


Slide 16

1.2.5 มูลเหต ุสาคัญของการท ุจริต
(1) เจ้าหน้าที่ขาดค ุณธรรมและไม่ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ

(2) ขาดกลไกในการลงโทษและการบังคับใช้กฎหมาย
(3) เจ้าหน้าที่ได้รบั ค่าตอบแทนต่าไม่สมั พันธ์กบั หน้าที่รบั ผิดชอบ

(4) สภาพการทางานเปิดโอกาส เอื้ออานวยต่อการกระทาท ุจริต
กระบวนการปฏิบตั ิงานมีช่องโหว่


Slide 17

1.2.6 การท ุจริตที่เป็นปัญหาเรื้อรังมากที่ส ุด
ได้แก่

การเมืองในระดับชาติรองลงมาได้แก่ การเมือง

ระดับท้องถิ่น


Slide 18

1.2.7 แนวทางแก้ไข
(1) ควรสนับสน ุนให้ภาคประชาชนมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบ
การท ุจริต

(2) ควรจัดให้มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ขอ้ มูล เพื่อสร้างจิตสานึก
ค่านิยม ต้านการท ุจริต
(3) ควรส่งเสริมให้ภาคประชาชน และองค์กรอิสระทาการตรวจสอบ
การท ุจริตอย่างแท้จริง


Slide 19

2. สาเหต ุของการท ุจริตคอร์รปั ชันในหน่วยงานของรัฐ
2.1 ประเพณี วัฒนธรรม
• ประเพณีและวัฒนธรรมที่ช่วยเหลือและตอบแทนบ ุญค ุณกันซึ่งฝังรากลึก
ในสังคมไทยมานาน
• เกิดจากความเหลื่อมลา้ ทางสภาพสังคม เนื่องจากประชาชนมีรายได้
แตกต่างกันมาก
• สังคมไทยเพิกเฉยต่อการท ุจริตคอร์รปั ชัน


Slide 20

2.2 เจ้าหน้าที่ของรัฐ
• เจ้าหน้าที่ของรัฐที่บงั คับใช้กฎหมายปล่อยปละละเลย เพิกเฉยไม่บงั คับใช้
กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
• เจ้าหน้าที่ของรัฐมีอานาจในการใช้ด ุลพินิจมากเกินไป
• เจ้าหน้าที่ของรัฐขาดค ุณธรรมและจริยธรรม
• เจ้าหน้าที่ของรัฐขาดความรู้ ความสามารถ เมื่อปฏิบตั ิงานผิดพลาด
ก็พยายามปกปิด จึงเป็นบ่อเกิดแห่งการเพิกเฉย ละเลย ละเว้นการปฏิบตั ิ
ตามหน้าที่
• ค่าตอบแทนหรือเงินเดือนไม่เพียงพอต่อการครองชีพ


Slide 21

2.3 ขัน้ ตอน กระบวนการทางาน
• มีขนั้ ตอน กระบวนการหรือระบบทางานมากหลายขัน้ ตอน

• ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานเปิดโอกาสให้ท ุจริตคอร์รปั ชัน

2.4 ระบบการศึกษา ระบบอ ุปถัมภ์
• ขาดระบบการวางรากฐานการศึกษาที่ดีพอ
• ระบบอ ุปถัมภ์ทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่เกรงกลัวกฎหมาย เพราะทาผิด
ก็จะช่วยกัน


Slide 22

3. ผลกระทบของการท ุจริต
3.1 คอร์รปั ชันบ่อนทาลายและเซาะกร่อนพื้นฐานศีลธรรม
ของท ุกสังคม
3.2 คอร์รปั ชันร ุกลา้ สิทธิทางสังคมและเศรษฐกิจของคนยากจน
และอ่อนแอ
3.3 คอร์รปั ชันทาให้ประชาธิปไตยอ่อนแอ
3.4 คอร์รปั ชันบ่อนทาลายกฎกติกา กฎหมาย ซึ่งเป็นพื้นฐานของ

ท ุกสังคม
3.5 คอร์รปั ชันหน่วงหนี่ยวการพัฒนา

3.6 คอร์รปั ชันทาให้สงั คม โดยเฉพาะอย่างยิง่ คนยากไร้และ
ผูด้ อ้ ยโอกาสไม่ได้รบั ประโยชน์จากระบบเศรษฐกิจเสรี


Slide 23

4. ร ูปแบบหรือวิธีการท ุจริตคอร์รปั ชันของเจ้าหน้าที่รฐั
4.1 ระดับผูป้ ฏิบตั ิ

- เจ้าหน้าที่ของรัฐระดับผูป้ ฏิบตั ิจะยักยอกเงินหรือ
ทรัพย์สินของรัฐมาใช้สว่ นตัว
- เจ้าหน้าที่ระดับผูป้ ฏิบตั ิเรียกเก็บเงินจากประชาชนทัง้ ที่
ทาผิดกฎหมายและไม่ผิดกฎหมาย จากนัน้ นาผลประโยชน์ที่ได้มาแบ่งปันกัน
4.2 ระดับผูบ้ ริหาร

- ระดับผูบ้ ริหารใช้อานาจหน้าที่ควบค ุมการจัดซื้อ จัดจ้าง
ช่วยเหลือพรรคพวกในการจัดซื้อ จัดจ้าง
- ระดับผูบ้ ริหารมีนโยบายหรือกาหนดแนวทางที่เอื้อต่อ
การท ุจริตคอร์รปั ชันของเจ้าหน้าที่รฐั


Slide 24

5. การท ุจริต คืออะไร
ท จุ ริ ต (น.) หมายถึ ง ความประพฤติ ช ั่ว , ถ้า เป็ นความ
ประพฤติ ชวั่ ทางกาย เรียกว่า กายท ุจริต , ถ้าเป็นความประพฤติ ชวั่
ทางใจ เรี ย กว่ า มโนท จุ ริ ต , ถ้า เป็ นความประพฤติ ช ั่ว ทางวาจา
เรียกว่า วจีท ุจริต
ท ุจริต (ก.) หมายถึง โกง ,คดโกง , ฉ้อโกง
(พจณานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2542 หน้า 534)


Slide 25

“โดยท ุจริต” หมายความว่า เพื่อแสวงหา
ประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
สาหรับตนเองหรือผูอ้ ื่น
(ป.อ. มาตรา 1(1))


Slide 26

การท ุจริตต่อหน้าที่ หมายความว่า
ปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั ิอย่างใดในตาแหน่งหรือหน้าที่
หรือปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั ิอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทาให้
ผูอ้ ื่นเชื่อว่ามีตาแหน่งหรือหน้าที่ ทัง้ ที่ตนมิได้มีตาแหน่ง หรือหน้าที่นนั้
หรือใช้อานาจในตาแหน่งหรือหน้าที่ ทัง้ นี้ เพื่อประโยชน์ที่มิควรได้
โดยชอบ สาหรับตนเองหรือผูอ้ ื่น
(พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการท ุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 4)


Slide 27

ความหมายที่ใช้กนั อย่างแพร่หลายที่ส ุด
“การท ุจริตต่อหน้าที่ หมายถึง การใช้
อานาจของรัฐไปในทางที่ไม่ถ ูกต้องเพื่อ
แสวงหาประโยชน์สว่ นตัว”


Slide 28

ภารกิจของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ตอ้ งดาเนินการ
เพื่อประโยชน์สาธารณะ
1. การใช้อานาจรัฐควบค ุมการใช้สิทธิเสรีภาพของ
เอกชน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยขึ้นใน
สังคม

2. การให้บริการสาธารณะสนองตอบความต้องการ
ของสังคมในเรือ่ งที่เอกชนไม่สามารถให้บริการตอบสนอง
ได้


Slide 29

แนวความคิดพื้นฐาน : ประโยชน์สาธารณะ
1. รัฐโดยองค์กรของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นผูด้ ูแลรักษา
ประโยชน์สว่ นรวมหรือประโยชน์สาธารณะ
2. แต่ในกรณีที่ประโยชน์สว่ นตัวของเกชนไม่สอดคล้องกับ
ประโยชน์สาธารณะจะต้องให้ประโยชน์สาธารณะอยูเ่ หนือ
ประโยชน์สว่ นตัวของเอกชน


Slide 30

“เจ้าหน้าที่ ข องรัฐ ” หมายถึ ง ผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมื อ ง
ข้าราชการหรือพนัก งานส่วนท้องถิ่ นซึ่ งมี ต าแหน่ง หรือเงิ นเดื อน
ประจ า พนั ก งานหรื อ บ คุ คลผู้ป ฏิ บั ติ ง านในรัฐ วิ ส าหกิ จ หรื อ
หน่วยงานของรัฐ ผูบ้ ริหารท้องถิ่ นและสมาชิกสภาท้องถิ่ น ซึ่งมิใช่
ผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง เจ้าหน้าที่หรือพนักงานตามกฎหมาย
ว่ า ด้ว ยลัก ษณะการปกครองท้อ งที่ และให้ห มายความรวมถึ ง
กรรมการ อนกุ รรมการ ลกู จ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรื อ
หน่วยงานของรัฐ และบ คุ คลหรือคณะบ คุ คลซึ่ งใช้อานาจ หรือ ได้
รับมอบหมายให้ใช้อานาจทางการปกครองของรัฐในการดาเนินการ
อย่างใดอย่างหนึ่ งตามกฎหมายไม่ว่าจะเป็นการจัดตัง้ ขึ้นในระบบ
ราชการ รัฐวิสาหกิจ และกิจการอื่นของรัฐ (พ.ร.บ.ปปช.ม.4)


Slide 31

ข้อแตกต่างของการใช้อานาจของเอกชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
เอกชน : สิทธิเสรีภาพของบ ุคคลเป็นหลักการจากัดสิทธิและเสรีภาพ
เป็นข้อยกเว้น หรือ ไม่มีกฎหมายห้ามไว้ยอ่ มทาได้
เจ้าหน้าที่ของรัฐ : เจ้าหน้าที่ ของรัฐจะดาเนินการได้ตอ้ งมีกฎหมาย
ให้อานาจแก่ฝ่ายบริหารที่ จะดาเนิ นการดังกล่าวไว้อย่างชั ดแจ้งใน
เรื่องที่ กฎหมายไม่ให้อานาจไว้จะกระท าการนัน้ มิ ได้ และในเรื่องที่
กฎหมายให้อ านาจต้อ งใช้อ านาจนั้น ในทางที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ
ประชาชน
มากที่ส ุด โดยจากัดสิทธิและเสรีภาพหรือสร้าง
ภาระแก่ประชาชนน้อยที่ส ุดด้วยหรือ ไม่มีกฎหมายให้อานาจทาไม่ได้


Slide 32

ลักษณะสาคัญของคอร์รปั ชัน
1. คอร์รปั ชันเกิดขึ้ นเมื่ อใดก็ตามที่ เจ้าหน้าที่ ของรัฐทาตัว
เหมือนข ุนนางเก่า ซึ่งถือว่าฐานะตาแหน่งเป็นสมบัติของ
ตนที่ จ ะเอามาท าอะไรก็ ไ ด้ที่ จ ะเอามาใช้ห าประโยชน์
ส่วนตัวได้
2. คอร์รปั ชันจะเป็นที่ เข้าใจได้ดี ก็ต่อเมื่อเราถามถึ งความ
แตกต่างระหว่างบทบาทหน้าที่ ส่วนรวมกับผลประโยชน์
ส่ ว นตั ว (เงิ น ที่ จ่ า ยให้ เ จ้ า หน้ า ที่ เ ป็ นรายได้ แ ผ่ น ดิ น
แตกต่างจากเงินที่ไม่ได้เข้าคลังแผ่นดินอย่างไร)


Slide 33

คาที่มีความหมายเดียวกันกับ “การท ุจริต”

1. การฉ้อราษฎร์

2. การบังหลวง
3. การคอร์รปั ชัน


Slide 34

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการท ุจริต
(1)ป.อ. มาตรา 147–166 , 200-205
(2)พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือ
หน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502
(3)พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อ
หน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2542 มาตรา 4-13
(4)พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบปรามการท ุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 123


Slide 35

การกระทาความผิดฐานท ุจริต
ต่อหน้าที่เป็นความผิดทางวินยั
อย่างร้ายแรง


Slide 36

การท ุจริตต่อหน้าที่เป็นความผิดมูลฐานตาม
กฎหมายฟอกเงิน
- บันทึกข้อตกลงระหว่างสานักงาน ป.ป.ช. กับ
สานักงาน ปปง. ลว. 22 ก.ย. 47 เรื่อง ความร่วมมือ
ในการสนับสน ุนการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ
ป.ป.ช.


Slide 37

แนวโน้มของการท ุจริต
- ประชาชนจะต้องร้องเรียนมากขึ้น
- จนท. ของรัฐจะท ุจริตยากขึ้น

- ระดับการท ุจริตลดลง


Slide 38

การสร้ างการมีส่วนร่ วมของประชาชน

บทบาทของหน่ วยราชการ

บทบาทของประชาชน

1.ให้ ข้อมูลข่ าวสาร

รับรู้

2.รับฟังความคิดเห็นของประชาชน

ให้ ความเห็น

3.ให้ ประชาชนมีส่วนเกีย่ วข้ อง

ร่ วมคิด

4.เปิ ดโอกาสให้ ประชาชนร่ วมตัดสิ นใจ

ร่ วมตัดสิ นใจ

5. เสริมอานาจของประชาชน

ร่ วมตรวจสอบและ
มีความรู้ สึกเป็ นเจ้ าของ