PowerPoint Presentation - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

Download Report

Transcript PowerPoint Presentation - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
และการจัดทาแผนสุขภาพตาบล
องค์กรคุณมีแผนที่ทางเดิน
ยุทธศาสตร์หรือยัง
มีแล้ว
ใช้
ยังไม่มี
ไม่ใช้ สร้างไม่เป็ น
วิสัยทัศน์การพัฒนาสุขภาพ
“ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ครอบครัวชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่าง
ยัง่ ยืน ด้วยความ ตัง้ ใจ เต็มใจ มีจิตสานึ กที่ดีและมีศรัทธาใน
การพัฒนา”
แผนทีท่ างเดินยุทธศาสตร์ นาไปสู่
บทบาทของประชาชน
ขัน้ ตอนที่ 1
เพิม่ สมรรถนะของบุคลากร(รพสต./อสม.) ในการสร้างแผนงาน/โครงการฯ
ทุกพืน้ ทีต่ งั้ ของโรงเรียน อสม.
กลุ่มเป้ าหมายเรียนรู้และฝึ กปฏิบตั ิการสร้ าง
(1)แผนงานโครงการด้ วย SLM และตาราง 11 ช่ อง
(2)การสร้ างและใช้ แผนปฏิบตั ิการ
(ดาเนินการโดยศูนย์ ฝึกอบรม ส.ช.ภาคฯ)
5 องคกรระดั
บทองถิ
น
่ /ตำบลต้อง
้
์
รวมมื
อกันอยำงใกล
ชิ
่
่
้ ด
ในงำนสรำงบทบำทของประชำชน
้
อปท
อสม
รพสต
กองทุนสุขภาพ
กานันผูใ้ หญ่บ้าน
การสร้ างและใช้
แผนทีท่ างเดินยุทธศาสตร์
Strategic Route Map (SRM)
สู่
แผนสุขภาพตาบล
มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ประชำชน
ผู้มีส่วนไดส
้ ่ วนเสี ย/ภำคีเครือขำย
่
กำรบริหำรจัดกำร/กระบวนกำร
กำรเรียนรูและพั
ฒนำ/รำกฐำน
้
กรมสนับสนุนบริการสุขภา
การสร้างแผนที่ในการพัฒนา
2.กาหนดจุดหมายปลายทาง
เราจะไปไหน?
3. เขียนแผนทีก่ ารเดินทางไปสู่ จุดหมายปลายทาง
เราจะไปอย่ างไร ?
1.ประเมินสถานการณ์
เราอยู่ทไี่ หน?
บุคลากรทีป่ รับสมรรถนะแล้วใช้แผนทีท่ างเดินยุทธศาสตร์
แผนทีค่ วามคิด (Mind Map)
หลักการและกติกา
• ทุกความคิดมีค่า อย่ าฆ่ าทิง้
• ทุกความคิดเห็นต้ องได้ รับการบันทึกในแผนที่
• คิดอย่ างอิสระ เท่ าเทียม ทั่วถึง
• จัดระบบความคิด (เป็ นกลุ่ม/หมวดหมู่และเชื่อมโยง)
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
คาตอบอยู่ทพี่ วกเรา
กาหนดจุดหมายปลายทาง
“ก่อนออกเดินทางต้องทราบจุดหมายปลายทาง”
คุณลักษณะของจุดหมายปลายทาง
ไม่ ใช่ การแสดงวิสัยทัศน์ หรือพันธะกิจ
อธิบายภาพอนาคตที่คาดหวังอย่ างชัดเจน แสดงสิ่ งที่ดกี ว่ าเดิม
อธิบายยุทธศาสตร์ ทใี่ ช้ อยู่ (ถ้ ามี)
กรอบเวลา 3- 5 ปี
แสดงความเป็ นไปได้ (ในวิสัยขององค์ กรของเรา)
เป็ นความคิดใหม่ ๆ ทีม่ ีคุณค่ าต่ อองค์ กร/ประชาชน/สั งคม
ประกอบด้ วยผังจุดหมายปลายทางและคาอธิบาย
มีประมาณ 20-30 จุดหมายปลายทาง
ผังจุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพ ป้ องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ฉบับส่วนกลาง ภายในปี 2555
ระดับประชาชน (มุมมองเชิ งคุณค่า)
ระดับภาคี(มุมมองเชิ งผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย)
ประชาชนดูแลสุขภาพได้ดว้ ยตนเอง
ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพทีถ่ ูกต้อง เหมาะสม
ชุมชนมีระบบการเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์สุขภาพ และมีการ
สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพืน้ ทีอ่ ย่าง
ต่อเนื่อง
ชุมชนมีมาตรการทางสังคม เพือ่ ควบคุมพฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสม
และส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพทีถ่ ูกต้อง
ชุมชนมีโครงการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัย
สุขภาพโดยชุมชน
ชุมชนสามารถควบคุมดูแลสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการมีสุขภาพที่
ดีอย่างต่อเนื่อง
อปท. มีสว่ นร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุ นทรัพยากรในการ
สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
กลุม่ และองค์กรต่างๆทัง้ ในและนอกพืน้ ทีม่ กี ารพัฒนาชุมชนให้
สามารถแสดงบทบาทในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
และภัยสุขภาพ
หน่วยงานภาครัฐทุกระดับประสาน สนับสนุ นและบูรณาการการ
ดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
อย่างต่อเนื่อง
กลุม่ สื่อสารมวลชน มีสว่ นร่วมสนับสนุ นการสร้างกระแสสังคมในการ
สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ระดับกระบวนการ(มุมมองเชิ งกระบวนการภายใน)
ระดับพื้นฐานองค์กร(มุมมองเชิ งการเรียนรู้และพัฒนา)
มีระบบการบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายทุกระดับ
อย่างมีประสิทธิภาพ
มีระบบสือ่ สารและสารสนเทศทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
มี และใช้แผนทีท่ างเดินยุทธศาสตร์ อย่างมีประสิทธิภาพ
มีระบบการจัดการนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน
ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
องค์กรมีระบบงาน วัฒนธรรมและแรงจูงใจทีเ่ อือ้ อานวยต่อการ
ทางานร่วมกับภาคีเครือข่าย
มีขอ้ มูลสุขภาพและสังคมทีม่ คี ุณภาพ ทันสมัยและเป็ นจริง
บุคลากร แกนนามีสมรรถนะทีเ่ หมาะสมต่อการทางาน
ประชาชน
อปท.ร่วมตัดสินใจ
ขับเคลื่อนและสนับสนุน
ทรัพยากรอย่างเพียงพอ
และต่อเนื่ อง
้ ฐาน
พืน
กระบวนการ
ชุมชน มีมาตรการทาง
สังคม
ภาคี
แผนทีท่ างเดินยุทธศาสตร์ปฏิบตั กิ าร(SLM) ร่วม ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค
ระบบสื่อสารสารสนเทศมี
ประสิทธิภาพ
ระบบข้อมูลมีคณ
ุ ภาพ
และเป็ นจริง
ประชาชนปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
ชุมชน มีระบบเฝ้ าระวังที่มี
ประสิทธิภาพ
หน่ วยงานภาครัฐทุกระดับ
สนับสนุนและประสานงาน
อย่างเข้มแข็ง
ระบบบริหารจัดการองค์กรและ
ภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ
บุคลากร แกนนามีสมรรถนะที่
เหมาะสม
ชุมชนมีโครงการของชุมชน
โดยชุมชน
กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มี
บทบาท
การจัดการนวัตกรรมที่ดี
องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออานวย
ต่อการทางาน
ประชาชน
อปท.ร่วมตัดสินใจ
ขับเคลื่อนและสนับสนุน
ทรัพยากรอย่างเพียงพอ
และต่อเนื่ อง
้ ฐาน
พืน
กระบวนการ
ชุมชน มีมาตรการทาง
สังคม
ภาคี
แผนทีท่ างเดินยุทธศาสตร์ปฏิบตั กิ าร(SLM) ร่วม ของส่วนกลาง (กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค)
แบบแสดงทางด่วนพิเศษ (Road Map)(เส้นคู่)
ระบบสื่อสารสารสนเทศมี
ประสิทธิภาพ
ระบบข้อมูลมีคณ
ุ ภาพ
และเป็ นจริง
ประชาชนปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
ชุมชน มีระบบเฝ้ าระวังที่มี
ประสิทธิภาพ
หน่ วยงานภาครัฐทุกระดับ
สนับสนุนและประสานงาน
อย่างเข้มแข็ง
ระบบบริหารจัดการองค์กรและ
ภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ
บุคลากร แกนนามีสมรรถนะที่
เหมาะสม
ชุมชนมีโครงการของชุมชน
โดยชุมชน
กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มี
บทบาท
การจัดการนวัตกรรมที่ดี
องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออานวย
ต่อการทางาน
ตัวอย่าง แผนผังปฏิบตั กิ ารแสดงมุมมองประชาชนและภาคีเครือข่าย (MicroSLM)
สร้างจากยุทธศาสตร์การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมประชาชน
กลุ่มเป้ าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ /พฤติกรรม
ดาเนินมาตรการทาง
สร้างโครงการชุมชน
สังคม
ใช้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้
ดาเนินงานคัดกรอง/ เฝ้ าระวัง
แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากโรงเรียน อสม
(ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน)
สร้างความร่วมมือระหว่างสาขา
การใช้แผนที่ทางเดินในการพัฒนา
3.ลงมือทางานและติดตามความก้าวหน้ า
2. เขียนแผนที่แสดงวิธีการสาคัญ
1.อธิบายรายละเอียดการทางาน
การอธิ บายการทางาน
การอธิ บายรายละเอี ยดการเดินทางตามแผนที่
โดยการใช้ตาราง 11 ช่อง
PI (ผลงาน) KPI(ผลงานสาคัญ/ผลสาเร็จ) KRI(ผลลัพธ์)
กาหนดประเด็นทีจ่ ะดาเนินการให้เป็ นกลุม่ ทีส่ มั พันธ์กนั 3 ประเด็น
ประเด็นเหล่านีใ้ ช้ตงั้ เป็ นแผนงานได้
สุขภาพก ุม ั
า
ร ิ
สภา
ข
ม
ุม น
ุม ร
บริ ภ
ร ม ิ
สภา ส
สภา
ภ นาการ
บา าน- าม
ัน ิ ส
ุ ิน ร
า าร
ภั
สิ่ งสาคัญที่ควรพิจารณา (คาตอบในใจ)ในขั้นตอนการทาตาราง 11 ช่ องของ SRM
ประเด็นทางสุขภาพ
พฤติกรรมที่เหมาะสมและถูกต้องที่
ต้องการ
กลุม่ เป้ าหมายในมุมมองของ ปชช.
กลุม่ ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย ใน
มุมมองของภาคีเครื่อข่าย
ไข้เลือดออก
อนามัยสิ่งแวดล้อม
-ประชาชนในพื้นที่เสีย่ งและระบาด
อุบตั ิเหตุ
อบายมุข 3ม/2ข/1ร
-ประชาชนขับขี่มอเตอร์ไซด์+รถยนต์ อสม /อปท
-แกนนา/คณะกรรมการหมู่บา้ น
ไข้หวัดใหญ่ 2009
-กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ สวม
หน้ากากอนามัย
-เป็ นไข้ 1-2 วันไม่หาย ไปพบหมอ
-ปชช.ปกติ ปชช.กลุม่ เสีย่ งและ
นักเรียน
-แกนนา
อสม/อปท
โรงเรียน
DM/HT
3อ.
-กลุม่ ปกติ กลุม่ เสี่ยง
-แกนนา/ชมรม/ ญาติผูป้ ่ วย
ชมรม/อสม
อปท
อาหารปลอดภัย/คบส. -พฤติกรรมด้านการเลือกซื้อเลือก
บริโภค
-ผูบ้ ริโภค
-ผูป้ ระกอบการ
1.ตลาด
2.ร้านชา
ชมรม/อสม
อปท
เกษตร
ผูส้ ูงอายุ
-ผูส้ ูงอายุ
-แกนนา/ชมรม
ชมรม
อปท
-5อ
อสม /อปท
โรงเรียน
สิ่ งสาคัญที่ควรพิจารณา (คาตอบในใจ)ในขั้นตอนการทาตาราง 11 ช่ องของ SRM
ประเด็นทางสุขภาพ
พฤติกรรมที่เหมาะสมและถูกต้องที่
ต้องการ
กลุม่ เป้ าหมายในมุมมองของ ปชช.
กลุม่ ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย ใน
มุมมองของภาคีเครื่อข่าย
ไข้เลือดออก
อนามัยสิ่งแวดล้อม
-ประชาชนในพื้นที่เสีย่ งและระบาด
อุบตั ิเหตุ
อบายมุข 3ม/2ข/1ร
-ประชาชนขับขี่มอเตอร์ไซด์+รถยนต์ อสม /อปท
-แกนนา/คณะกรรมการหมู่บา้ น
ไข้หวัดใหญ่ 2009
-กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ สวม
หน้ากากอนามัย
-เป็ นไข้ 1-2 วันไม่หาย ไปพบหมอ
-ปชช.ปกติ ปชช.กลุม่ เสีย่ งและ
นักเรียน
-แกนนา
อสม/อปท
โรงเรียน
DM/HT
3อ.
-กลุม่ ปกติ กลุม่ เสี่ยง
-แกนนา/ชมรม/ ญาติผูป้ ่ วย
ชมรม/อสม
อปท
อาหารปลอดภัย/คบส. -พฤติกรรมด้านการเลือกซื้อเลือก
บริโภค
-ผูบ้ ริโภค
-ผูป้ ระกอบการ
1.ตลาด
2.ร้านชา
ชมรม/อสม
อปท
เกษตร
ผูส้ ูงอายุ
-ผูส้ ูงอายุ
-แกนนา/ชมรม
ชมรม
อปท
-5อ
อสม /อปท
โรงเรียน
เป้ าประสงค์ของยุทธศาสตร์
กลยุทธ์สาคัญ
กิ จกรรมสาคัญ
1.กลุ่มเป้ าหมายปรับเปลี่ยนกระบวน 1. พัฒนาระบบติ ดตาม ประเมิ น และจัดการ
ทัศน์ /พฤติ กรรม
นวัตกรรมเพื่อสนับสนุน
1.1 ติ ดตามพฤติ กรรมด้วยตัวชี้วดั ที่
เหมาะสม
1.2 ประเมิ นกระบวนการ
2.ชุมชนมีโครงการของชุมชน
2.1ปรับกระบวนการสร้างแผนตาบล2.2สร้าง
โครงการใหม่ๆ
2.1.1ใช้แผนที่ฯสร้างแผนสุขภาพตาบล
2.1.2 สร้างโครงการใหม่ที่ต่อเนื่ องเสริ ม
พลังกัน
3.ชุมชนมีมาตรการทางสังคม
3.1พัฒนามาตรการสังคม
3.1.1ท้องถิ่ นมอบท้องที่สร้างมาตรการ
สังคม
3.1.2 ควบคุม ติ ดตาม ประเมิ น
4.ชุมชนมีระบบเฝ้ าระวัง คัดกรอง
4.1พัฒนา อสม./แกนนาให้สามารถคัดกรอง เฝ้ า 4.1.1ท้องถิ่ น/สธ./ชุมชนมอบภารกิ จ
ระวัง
4.1.2 อสม/แกนนาเรียนรู้เทคนิ คที่จาเป็ น
5.ระบบสื่อสาร สารสนเทศมี
ประสิ ทธิ ภาพ
5.1สร้างระบบสื่อสารด้านสุขภาพ สภาวะ
แวดล้อมและนวัตกรรม
5.1.1ใช้ประโยชน์ สื่อสาธารณะและบุคคล
5.1.2ปรับปรุงเทคนิ ค อุปกรณ์
5.1.3สร้างนวัตกรรมการสื่อสาร
6.บุคลากร/แกนนามีสมรรถนะ
6.1สร้าง รร.นวัตกรรมสุขภาพฯ
6.2เปิ ดโรงเรียนฯ
6.1.1จัดการเปิ ดโรงเรียน
6.1.2จัดการเรียนการสอน
7.อปท.ร่วมตัดสิ นใจขับเคลื่อนและ
สนับสนุนฯ
7.ทาความตกลงระหว่างสาขา
7.1.1สร้างบันทึกข้อตกลงระหว่างสาขา
7.1.2กาหนดประเด็นสุขภาพ
SLM)
า ร ส
ข
ุ าส ร
น
ร
#1
ากก
า ข
SLM
#2
#3
ก ุ
า า ร
กิ กรรม
า ร
มา รการ
การกร า ร าน า
ิ าการ
-ข
-ข
า ร ส
ก ุ
น าน นนม น าน น
ก ุ
นม
สา ั
กิ กรรม
บริ าร
สา ั
ก
ั การ
ก
ก
ั
ั
าน
PI)
ั
ั
สา ร
KPI)
ริมา
าน
สั ม
น นา
า ิ าการ า ิ าการ
ก
ิน
ุม น
สรา
น ั กรรม
ก
พา
มา าก
าน
ิ าการ
รัพ ากร ร
ร
สั ม
าม
ส
บริ าร
น
การ กร บ น
ส น การ
ิ
--------
บ
ร มา
ร
า
า นิน
การ
ิ
รับ
บ
า นินการ นร ับ าบ --------
ผลงานPI
• มีทีมSRRT หมู่บ้านทุกหมู่บ้าน
ตัวอย่ตัาวงตั
วชี้วาเร็ดั จ
บอกความส
KPI
• ทีม SRRT ปฏิบตั ิตาม
มาตรฐานงานทีก่ าหนด
ผลลัพธ์ KRI
• อัตราป่ วย/ตายด้ วยโรค
H1N1 ลดลง
•มีการประชุ มปฏิบเป
ตั ิก้ าประสงค์
าร.....
ของยุทธศาสตร์ (Strategic
• ไม่หมวักี ารป่
วยตายด้ วย
•มีประชุ มวอร์objective)
รูม.....ครั้ง/เดือน
: ชุมชนมีระบบเฝ้ าระวังโรคไข้
ด
โรค H1N1
•มีศูนย์ ประสานในชุ มชน....ชุใหญ่
มชน 2009 ที่มีประสิ ทธิ ภาพ
•มีการประเมินผลโดย รพ.สต.......
ครั้งต่ อเดือน
วิเคราะห์บริบท
ปรับตาราง 11 ช่องให้เหมาะสมกับบริบท
โครงสร้างแผนทีค่ วามคิด
จากส่ วนกลาง
ปรับ/เติมเต็มตาราง 11 ช่องรายประเด็น
สร้างแผนงาน/โครงการจากตารางนิยามเป้ าประสงค์
ตาราง 11 ช่ อง
มีหลายฉบับตาม
ประเด็น
โครงการของชุมชนเกิดได้ ด้ วยการช่ วยกันตอบคาถามดังต่ อไปนี้
1. เราจะทา (เรื่อง) อะไร ? ประเด็น.......
2. เราจะทาเพือ่ ให้ เกิดอะไรขึน้ ? ปรับจากช่ อง 1
3. เราจะทากับใคร หรือ ให้ ได้ อะไร ? จานวน เท่ าไหร่ ? ช่ อง 8
4. เราจะทาอย่ างไร มีข้นั ตอนอย่ างไรบ้ าง ? ช่ อง 3 4 5
5. เราจะต้ องใช้ เงิน คน วัสดุอุปกรณ์ เท่ าไหร่ ? และจะได้ จากทีไ่ หน ? ช่ อง 9
6. เราจะทาเมื่อไหร่ ? ยาวนานขนาดไหน ? ช่ อง 10
7. ใครจะช่ วยทาบ้ าง ? ช่ อง 11
8. เราจะดูความก้าวหน้ า และความสาเร็จของงานอย่ างไร ? ช่ อง 6 7
9. ถ้ าเราทาสาเร็จจะเกิดผลอะไรติดตามมา ? ผลลัพธ์
รู ปแบบการเขียนโครงการ
1. ชื่อโครงการ = ชื่อหัวข้ อเรื่อง
2. วัตถุประสงค์ = ปรับจากช่ อง 1 เติมคาว่ า เพือ่ ให้ .......
3. เป้าหมาย = ช่ อง 8
4. วิธีดาเนินการ = ช่ อง 3 4 5
5. งบประมาณและทรัพยากร = ช่ อง 9
6. ระยะเวลา = ช่ อง 10
7. ผู้รับผิดชอบโครงการ (และหน่ วยงานสนับสนุน) = ช่ อง 11
8. การประเมินผล = ช่ อง 6 และ 7 ประเมินจากตัวชี้วดั ผลงาน และตัวชี้วดั
ผลสาเร็จ ดังนี.้ ...
9. ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ = ผลลัพธ์ ทจี่ ะเกิดขึน้ จากการทาโครงการ เช่ น อัตรา
การป่ วยลดลง, เครือข่ ายเข้ มแข็ง (ถ้ าโครงการสาเร็จจะเกิดอะไรขึน้ )
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบในแผนงานทีส่ ร้างจาก SRM
บทบาทของประชาชนเป็ นตัวกาหนดแผนงานสุขภาพ
ขัน้ ตอนที่ 3 ปรับโครงการสุขภาพของท้องถิน่ ทีม่ อี ยู่เดิม
ให้เป็ นแผนสุขภาพตาบล
ขัน้ ตอนที่ 4 บูรณาการแผนงานจากแหล่งต่างๆภายในท้องถิน่ /ตาบล
เข้าเป็ นแผนสุขภาพตาบล
ขัน้ ตอนที่ 5 ขยายจานวนแผนงานโครงการในพืน้ ที่ รพสต.พร้อมสร้าง
นวัตกรรม(เน้นทีม่ าตรการสังคม)
พื้นที่ รพสต.1
พื้นที่ รพสต.1
ขัน้ ตอนที่ 6 ประเมินแผนงาน/โครงการทีส่ ามารถเป็ นต้นแบบได้
(เตรียมปรับพืน้ ทีเ่ ป็ นโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน)
ประเมินนวัตกรรมของแผนงาน/โครงการ
ขัน้ ตอนที่ 7 เปลีย่ น โรงเรียน อสม.เป็ น รนสช. และเปิ ดการ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้
ขัน้ ตอนที่ 8 เพิม่ จานวน รนสช. ในทุกจังหวัด
คลืน่ ลูกที่ 2 สร้ าง รนสช.
เพิม่ เติมทุกอาเภอ
คลืน่ ลูกที่ 3 ขยายการเรียนรู้สู่
พืน้ ที่ รพสต.ทั้งหมด
คลืน่ ลูกแรก สร้ าง 3 แห่ ง
แลกเปลีย่ นเรียนรู้กนั เอง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ทุกนวัตกรรม สาหรับทุกกลุม่ เป้ าหมาย
(การศึกษาตามอัธยาศัย)
โครงการข้างเคียงต่างๆทีแ่ สดงความเข้มแข็งของ 3 ก.
สามารถใช้เป็ นประเด็นของการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
แผนการจัด การนวัต กรรม
้
หล
ภ
ญ
ภ
ใ
รนสช./ตลาด
นวัตกรรม/
จ
ลึ
ใ้
Web site
ล
ล
พฒ
้
ู้
พฒ
ห
จ
ู
จ
โ
ล
จ็
5 องค์กรระดับท้องถิน่ /ตาบลทีต่ ้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชดิ ในงาน
สร้างสุขภาพของประชาชน
อปท
อสม
รพสต
กองทุนสุขภาพ
กานันผูใ้ หญ่บ้าน
*
กระบวนการพัฒนาระบบสุขภาพระดับท้องถิ่น/ตาบล
ระยะที่ 1
กระบวนการพัฒนาระบบสุขภาพระดับท้องถิน่ /ตาบล
ระยะที่ 2
ระยะที่ 3
“--ความสามารถในเชิงปั ญญา คือ สามารถมองงานที่
ทาออกว่าทาไมต้องทา ทาแล้วจะเกิดอะไรกับตนเองและ
สังคม”
กำรยกระดับโครงกำร
สุขภำพดวยตนเอง
้
จังหวัดต้องมีขอ้ มูลเกี่ยวกับปฏิบตั ิการที่ดาเนินอยูใ่ นโครงการต่าง
โดยสารวจหาค่ ากลาง (งานทีใ่ ครๆก็ทา) ของโครงการจากกลุ่มตัวอย่าง
ที่มีระดับการทางานปานกลาง
ค่ากลางเป็ นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการยกระดับโครงการสุ ขภาพโดย
เพิม่ งานดี และนวัตกรรมที่จงั หวัดมีอยูแ่ ล้วให้ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลเป็ นคณะกรรมการกองทุนฯสุ ขภาพตาบลผูท้ ี่ปฏิบตั ิงานจริ ง
ในพื้นที่เสริ มด้วยคณะผูบ้ ริ หารระดับจังหวัด อาเภอ ของสานักงาน
สาธารณสุ ขจังหวัดผูซ้ ่ ึงจะรับเอาค่ากลางที่ได้ไปดาเนินการพัฒนางาน
สาธารณสุ ขของจังหวัดต่อไป
กำรยกระดับแผนงำนสุขภำพดวย
้
ตนเอง (Bootstrapping)
กำรสำรวจหำคำกลำงของแผนงำน
่
สุขภำพในมิตแ
ิ ละกิจกิกรรมต
ำงๆ
จกรรม
่
มิต ิ
เชื่อมัน่
และ
ทาให้เป็ นจริง
นันทน์ รัตน์ เอกสุ ภาพันธุ์
งานสนับสนุนสุ ขภาพภาคประชาชน
สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดสกลนคร
โทร. 042-711157 ต่ อ 1221-2
โทรสาร 042-711157 ต่ อ 1130
อีเมล์ [email protected]
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 084-3893399
สวัสดี