ทีมงานลาดบัวหลวง - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน

Download Report

Transcript ทีมงานลาดบัวหลวง - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน

Slide 1


Slide 2

พัฒนาบทบาท สสจ.
1.

บทบาท “สนับสนุ นส่งเสริมการทางานสร้างเสริม
สุขภาพ ของทีมงานในระดับอาเภอ และ
ตาบล”

2.

บทบาท “ให้กาลังใจ และ เข้าใจ ทีมงานในพื้นที”่


Slide 3


Slide 4

1.

ทีมงานศึกษาความจริงของผูป้ ่ วยมะเร็งในอาเภอลาดบัวหลวง
ในโครงการ “วิถชี ีวติ และ การเรียนรูใ้ นการอยู่กบั มะเร็ง”
 ทีมงานเก็บข้อมูลผูป้ ่ วยมะเร็งราย Case
 ที่ปรึกษาชี้ประเด็นการเรียนรูจ้ ากการศึกษา Case
 ทีมงานแลกเปลีย่ นเรียนรู ้ ประสบการณ์ ความคิด
และ ประเด็นการเรียนรูซ้ ่ึงกันและกัน


Slide 5

2.

อบรมเชิงปฏิบตั กิ าร “การศึกษาชุมชน”
 พัฒนาทักษะการเก็บข้อมูลแก่ทมี งานเดิม
(ทีมงานลาดบัวหลวง)
 ขยายการเรียนรูแ้ ก่ทมี งานใหม่ (ทีมงานบางปะหัน)

 ทีมงานเดิม และ ทีมงานใหม่แลกเปลีย่ นเรียนรู ้
ประสบการณ์ ความคิด และ ประเด็นการเรียนรู ้


Slide 6

3.

ทีมงานศึกษาความจริงของผูป้ ่ วยมะเร็ง case เดิม โดย
ศึกษาลงลึกในรายละเอียด เนื่ องจากมีทกั ษะการเก็บข้อมูลที่
ได้เรียนรูม้ ากขึ้น
 จากเดิมเก็บข้อมูลเป็ นกิจกรรม
 เก็บข้อมูลลงลึก พฤติกรรม และ ความคิดที่เกี่ยว
โยงกับพฤติกรรมนั้น
 มีมมุ มองบริบท และวิถชี ีวติ ละเอียดมากขึ้น


Slide 7

4.

ทีมงานแลกเปลีย่ นประสบการณ์ และ การเรียนรู ้ ระหว่าง
ทีมงานอาเภอลาดบัวหลวง และ บางปะหัน

5.

ทีมงานวิเคราะห์ผลการศึกษาแต่ละ case
 เดิมมองผูป้ ่ วย เห็นเฉพาะ “โรค”
 เริ่มเข้าใจ และ มองเห็นผูป้ ่ วยที่เป็ น “ชีวติ คน”
 มองเห็นจุดอ่อนของการบริการที่ผ่านมา
 เริ่มเข้าใจ และ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการทางาน
สาธารณสุขของตัวเอง


Slide 8


Slide 9

คณะทำงำน
คณะกรรมกำรอำนวยกำร ( นพ.สสจ.เป็ นประธำนฯ)
คณะทำงำนระดับจังหวัด จำนวน 10 คน (ฝ่ ำยส่ งเสริมสุ ขภำพ , ฝ่ ำย




พัฒนำบุคลำกร , ฝ่ ำยพัฒนำยุทธศำสตร์ , สำธำรณสุ ขอำเภอ , นักวิชำกำร
ของ สสอ.)

คณะทำงำนระดับอำเภอ (อำเภอลำดบัวหลวง) จำนวน 13 คน







เจ้ ำหน้ ำทีจ่ ำก สำนักงำนสำธำรณสุ ขอำเภอ 3 คน
เจ้ ำหน้ ำที่จำกสถำนีอนำมัย 7 แห่ ง จำนวน 7 คน
เจ้ ำหน้ ำทีจ่ ำกโรงพยำบำลชุ มชน จำนวน 3 คน

ที่ปรึกษำ





พญ.เพชรศรี ศิรินิรันดร์ และ นพ.สุ ริยะ วงศ์ คงคำเทพ


Slide 10


Slide 11

บำงส่ วนของ..ทัศนคติ เจ้ ำหน้ ำทีส่ ำธำรณสุ ขในสถำนีอนำมัย
ต่ องำนสร้ ำงสุ ขภำพ
“สถานี อนามัยช่วงนี้ งานเยอะมาก ทาไม่ทนั จนท.ใน สอ.ก็นอ้ ย ส่ วนใหญ่
อยู่กัน แค่ 2 คน รายงานก็เ ยอะ ต้องนั่งคี ย ข์ อ้ มูลลงคอมพิ ว เตอร์ ด้ว ย
ไหนจะต้องออกพื้นที่อีก จะเอาอะไรกันนักหนา”
“ต้องการให้ออกเยีย่ มชาวบ้านบ่อยๆ...ร้อนก็ร้อน...คนคิดนโยบายก็คิดได้สิ
..เพราะนัง่ อยูใ่ นสานักงาน ไม่ตอ้ งออกพื้นที่แบบพวกเรา”
“ชาวบ้านเดี๋ยวนี้พดู ยาก...เราพูดอะไรเขาไม่ค่อยเชื่อและไม่ค่อยจะยอมทา
ตามหรอก”


Slide 12

“หมอ อนามัยอย่างเรา...ไม่ค่อยมีบทบาทสาคัญในชีวิตประจาวันของชาวบ้าน...
แม้จะเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับสุ ขภาพก็ตาม ”

“ ผมได้เข้าร่ วมเก็บข้อมูลมาหลายครั้งแล้ว พยายามนัง่ ฟังการเล่าเรื่ องราวชีวิตของ
ชาวบ้าน จนท.สาธารณสุ ขเรา แทบจะไม่มีบทบาทที่ชาวบ้านจะกล่าวถึงเลย
คนที่ ถูก กล่ าวถึ งบ่อยๆหรื อมี บทบาทในการตัด สิ น ใจ มัก เป็ น ญาติ พี่น้อง
เพื่อนบ้านใกล้เคียงและชาวบ้านที่เคยมีประสบการณ์ เช่น คนที่เคยป่ วย คนที่
เคยพาญาติที่ป่วยไปหาหมอ หมอกลางบ้าน ผูอ้ าวุโสของหมู่บา้ น”


Slide 13

ควำมจริงบำงส่ วน ... ของกำรทำงำนกับชุมชน...
“ชาวบ้านทาตามคาแนะนาของหมออนามัย...หลายครั้งเกิดจากความเกรงใจ”
“ ที่ผ่านมา....จนท.สอ.ส่ วนใหญ่...สนใจว่าจะทาอย่างไรให้บรรลุเป้ าหมายที่

อาเภอ หรื อจังหวัดตั้งเป้ าหมายมา...โดยไม่ค่อยให้ความสนใจ กับ ความคิด
เงื่อนไขหรื อบริ บทที่แตกต่างของชาวบ้าน...โดยเฉพาะบริ บทด้านเศรษฐกิจ
สังคม ที่เขาต้องสนใจปั ญหาปากท้องของตัวเองและครอบครัวที่ต ้องดูแล
ซึ่งชาวบ้านมองว่ามีความสาคัญ...และสาคัญมากกว่าการมาร่ วมกิจกรรมที่
สถานี อนามัยดาเนิ นการอยู่ ...เราจึงไม่ได้รับความร่ วมมือเท่าที่ควร หรื อ
อาจร่ วมมือ....แต่ทาโดยเกรงว่าจะมีผลกระทบในทางลบ”


Slide 14

ควำมจริงบำงส่ วนของ..ชำวบ้ ำน
“ ที่จริ งวันนั้นตั้งใจไปตรวจหำเบำหวำน แต่ หมอที่อ นำมัย ทำ
กำรตรวจมะเร็ ง ปำกมดลู ก อยู่ พ อดี เลยถู ก บั ง คับ ให้ ต รวจ
(หั ว เรำะ) ที แ รกว่ ำ จะไม่ ต รวจเพรำะไม่ มี อ ำกำรอะไร แต่
เกรงใจหมอจึงยอมให้ ตรวจ....”


Slide 15

สิ่งที่ได้ พบจากการศึกษา

เมื่อเวลาผ่ านไป 6 เดือน


Slide 16

“เมื่อมีมุมมองแบบใหม่ ที่ครอบคลุมชีวิตจริ งของประชาชนมาก
ขึ้น ช่วยให้เห็นจุดอ่อนหลายๆอย่าง...ของวิธีการทางานแบบเดิมๆ
ปัจจุบนั พยายามทางานโดยเน้นการเข้าถึงชีวิตชาวบ้านมากขึ้น ลด
ความเป็ นสาธารณสุ ขให้นอ้ ยลง ฟังชาวบ้านพูดได้นานขึ้น ”


Slide 17

“ เมื่อก่อนหากไปชักชวนกลุ่มเป้ าหมายให้มาทา Pap Smear แล้วไม่มา...
จะรู ้ สึกโกรธ รู ้ สึกท้อแท้ เพราะคิดว่า.....เราหวังดี แล้วชาวบ้านไม่ให้
ความร่ วมมือ ....
แต่ปัจจุบนั หากชักชวนแล้ว ไม่มา จะถามถึงสาเหตุที่มาไม่ได้ หากเขา
ไม่พร้อมจริ งๆ ก็ให้โอกาส พยายามไปให้ขอ้ มูลเพิ่มและชักชวนอีกใน
วันหลัง โดยไม่นึกโกรธเพราะเข้าใจถึงความจาเป็ นหรื อบริ บทที่แตกต่าง
ของชาวบ้านมากขึ้น”


Slide 18

“ หลังผ่านกิจกรรมการเรี ยนรู ้ชีวิตชาวบ้าน ช่วยกระตุน้ ความคิดตนเอง
ให้เ ห็ น ความส าคัญ ของ งานส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพที่ เ ข้า ถึ ง ชี วิ ต จริ ง ของ
ประชาชนมากขึ้น
มีความมัน่ ใจในการให้ความรู ้ ให้คาแนะนา กับประชาชนที่มารับ
บริ การใน สอ. โดยเฉพาะโรคมะเร็ ง พยายามตั้งสื่ อที่เป็ นภาพพลิกไว้
ในจุดที่ประชาชนจะมองเห็นได้ง่ายเพื่อดึงความสนใจ คอยสอบถาม
และให้ขอ้ มูลเป็ นรายบุคคลกับผูร้ ับบริ การทุกคนที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมาย
ทุกวันนี้ รู้สึกเลยว่านี่ เป็ นบทบาทที่เราต้องช่วยเหลือประชาชนและ
ต้องช่วยทันทีเมื่อมีโอกาส”


Slide 19

“ ได้เ ห็ น ผลกระทบหลายๆด้า น ทั้งด้านร่ า งกาย จิ ตใจ ความรู ้ สึ ก
เศรษฐกิ จ สังคม ที่ทาให้ชีวิตชาวบ้านเปลี่ยนไปจริ งๆหลังจากป่ วยเป็ น
มะเร็ งเต้านม...รู ้สึกเห็นใจชาวบ้านมากๆ...โดยเฉพาะครอบครัวที่ ฐานะ
ยากจน...
เมื่อหันมาทบทวนบทบาทของ พวกเรา...จนท.สอ. ในช่วงเวลาที่ผ่าน
มา...เรายังไม่มีบทบาทเข้าไปช่วยเหลือพวกเขาเหล่านี้เท่าที่ควร เพราะคิด
ว่าโรคมะเร็ งเป็ นเรื่ องเกิ น ความสามารถระดับเรา.....แต่ ความจริ งเรา
สามารถช่วยได้หลายอย่างเลย..แต่เราไม่รู้...จึงไม่ได้ช่วย...”


Slide 20

“ จากเดิมทางานแบบคิดแทนชาวบ้านมาตลอด..คิดว่าสิ่ งที่เราทาให้เป็ นเรื่ อง
มีประโยชน์ เป็ นเรื่ องดีสาหรับชาวบ้านแต่ปรากฏว่า...ชาวบ้านไม่ค่อย
ให้ความร่ วมมือ..ทางานยาก..เหนื่อย..
พอได้เรี ยนรู ้ชีวิตจริ งๆของผูป้ ่ วยมะเร็ งมากขึ้น..จึงเริ่ มเข้าใจว่า...
ชาวบ้านต้องการความช่วยเหลือซึ่งหลายเรื่ องเราไม่เคยให้ เราไม่เคยทา
และไม่รู้ดว้ ยซ้ าว่าเป็ นความต้องการของชาวบ้าน
พวกเราจึงต้องปรับบทบาทการทางานใหม่ โดย...ต้องพยายามมากขึ้น
ยืดหยุน่ มากขึ้น ไม่ทอ้ แท้อะไรง่ายๆ และต้องเข้าใจเงื่อนไขในวิถีชีวิตที่
แตกต่างของประชาชนแต่ละคนแต่ละครอบครัว ในพื้นที่รับผิดชอบ...ให้
มากขึ้น”


Slide 21

“ได้รับรู ้...วิถีชีวิตประชาชน และ วิถีชีวิต จนท.สอ. รู ้สึกผิด
เหมือนกันที่ไม่ได้ทาหน้าที่เป็ นพี่เลี้ยง / ผูส้ นับสนุนที่เหมาะสม
ตามบทบาทของโรงพยาบาลชุมชน....
ที่ผา่ นมาสนใจแต่หน้าที่ ในการให้บริ การประชาชนที่มารับ
บริ การ ในโรงพยาบาลเป็ นหลัก จนลืมบทบาทการสนับสนุน
จนท.สอ.ให้มีศกั ยภาพในการดูแลประชาชน”


Slide 22

“ ทางานมากว่า 30 ปี แล้ว ไม่ค่อยได้ให้ความสนใจรายละเอียดของชี วิต
ชาวบ้านเท่าไร...แต่จากการได้รับรู ้จากกิ จกรรมศึกษาชี วิตครั้ งนี้ ...ได้
เห็นความลาบาก ความน่ ากลัวของผูป้ ่ วย..ทั้งที่สามารถป้ องกันได้หาก
ได้รับคาแนะนาที่ถูกต้อง
จึ งให้ความสนใจชี วิตชาวบ้านมากขึ้น อยากให้คาแนะนา อยากให้
ความรู ้ กับกลุ่มเป้ าหมายทุกคนให้ได้รับรู ้ความน่ากลัว ความรุ นแรงและ
ความล าบากหากชี วิ ต ต้อ งสั ม ผัส กับ โรคมะเร็ ง ...และตื่ น ตัว กับ การ
ป้ องกันตนเองซึ่งปัจจุบนั ทาได้หลากหลายวิธี...”


Slide 23

แนวคิด และ ทิศทาง
การทางานสาธารณสุขแนวใหม่


Slide 24

ทางานกับ “ชีวติ คน”

ไม่ใช่ “โรค” หรือ “กิจกรรมรณรงค์”

เรียนรูท้ ่จี ะ
เข้าใจผูอ้ น่ื

เคารพศักดิ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์
ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง / ตัวตัง้
สนับสนุ นการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ


Slide 25

แนวคิดการพัฒนา
แนวคิดการพัฒนาศักยภาพของ บุคลากร ด้วยกระบวนการ
เรียนรูแ้ ละเข้าใจความเป็ นจริงของผูร้ บั บริการ
แนวคิดการพัฒนาบริการที่เน้นผูป้ ่ วยเป็ นศูนย์กลาง บริการที่มี
หัวใจความเป็ นมนุ ษย์
แนวคิดการพัฒนาศักยภาพในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ
ในบริบทของ...ประชาชน


Slide 26

กระบวนการพัฒนาบุคลกร
ปรับฐานคิดและมุมมอง

กำรเรียนรู้
จำกสภำพจริง

การเข้าใจเนื้ อหา
พัฒนากระบวนการคิด


Slide 27

กำรเรียนรู้
จำกสภำพจริง

1. มีความเข้าใจชีวติ และชุมชน เป็ นฐาน

สาคัญของการเรียนรู ้ ที่นาศาสตร์ไปสู่
การประยุกต์ กลับสูช่ มุ ชน

มองเห็น + เข้าใจชาวบ้าน
ประยุกต์วชิ าการ ไปสูก่ ารร่วมแก้ปญั หาชาวบ้าน


Slide 28

2. ต้องมีกระบวนการเรียน ที่ทาให้เห็น

กำรเรียนรู้
จำกสภำพจริง

คุณค่า(ประโยชน์) ของการเรียนรู ้
จากสภาพจริง

เรียน
โดยไม่ตอ้ งรอให้ “ครู” บอก
ใฝ่ รู ้
โดยเห็นประโยชน์ท่ไี ด้จากการเรียนรู ้
เป้ าหมาย เรียนกลับมาปรับตนเอง


Slide 29

กำรเรียนรู้
จำกสภำพจริง

3. ต้องมีการพัฒนากระบวนการเก็บ
ข้อมูลอยู่ตลอดเวลา เพือ่ ให้ได้
เนื้ อหาสาระเป็ น “วัตถุดิบ”
ใน
การเรียนรู ้
การไม่ใช้ฐานคิดของตัวเอง ไปตัดสินผูอ้ น่ื
การมองนอกกรอบความสนใจของตนเอง
การสร้างสัมพันธภาพ การลดช่องว่าง


Slide 30

ขยายแนวคิดการพัฒนา
สสจ.พระนครศรี อยุธยามีการขยายแนวคิดการพัฒนาบทบาท
สสจ. ในการสร้างเสริ มสุ ขภาพแนวใหม่ 3 ระดับ
ขยายแนวคิดระดับอาเภอ โดยการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์เรี ยนรู้ กับทีมงานของอาเภอ
บางปะหัน


Slide 31

ขยายแนวคิดการพัฒนา


ขยายแนวคิดระดับจังหวัด โดยมีแผนการพัฒนาทีมงาน
ระดับอาเภอ/ตาบลในปี ต่อไป ปี ละ 2-3 อาเภอ
- พิจารณาตามกาลังของทีมพี่เลี้ยงที่ตอ้ งช่วยสนับสนุน
การเรี ยนรู้ของพื้นที่อย่างต่อเนื่องเพียงพอ
- โดยขอสนับสนุนงบประมาณจาก สสส. หากหมด
สัญญารับทุน สสส.แล้ว ก็จะของบประมาณจาก
จังหวัด


Slide 32

ขยายแนวคิดการพัฒนา
ขยายแนวคิดระดับเขต
สสจ.พระนครศรี อยุธยา ได้นาเสนอแนวคิด และ การพัฒนา
ทีมงานในโครงการ “วิถีชีวติ และ การเรี ยนรู้ในการอยูก่ บั มะเร็ ง”
ในการประชุมผูบ้ ริ หารและนักวิชาการของงานส่ งเสริ มสุ ขภาพ
เขต 4-5 (8 จังหวัด) เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2550

โดยน าเสนอเป็ น “นวัต กรรมงานส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ ด้า น
มะเร็ งปากมดลูกและมะเร็ งเต้านม” เพื่อพัฒนางานด้านส่ งเสริ ม
สุ ขภาพ ทาให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขรู้จกั ผูป้ ่ วยมะเร็ งเต้านมและ
ปากมดลูกได้มากขึ้นมากกว่าการทางานตามปริ มาณอย่างเดียว


Slide 33

eyes